Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เรื่องด่วน

เรื่องด่วน

Published by agenda.ebook, 2020-08-20 01:29:06

Description: เรื่องด่วน การประชุมร่วมกันของรัฐสภา ครั้งที่ 3 (สมัยสามัญประจำปีครั้งที่หนึ่ง) วันอังคารที่ 1 กันยายน 2563

Search

Read the Text Version

อาจได้รับการแจ้งถึงกระบวนการพิจารณาที่ถกู นาเสนอดังกล่าวจากผูม้ ีส่วนได้เสีย เม่ือได้รับทราบ ดงั นนั้ แล้ว หากมีความจาเป็นใหร้ ฐั ผู้รับคารอ้ งขอหารอื ในเรอื่ งดงั กลา่ วกับรัฐผรู้ อ้ งขอ 3. ทันทีที่กระบวนการพิจารณาได้มีคาวินิจฉัยถึงที่สุด ให้รัฐผู้รับคาร้องขอหรือรัฐผู้ร้องขอ แล้วแต่กรณี แจ้งให้รัฐอีกฝ่ายหนึ่งทราบถึงคาวินิจฉัยและผลที่ตามมาอันเกี่ยวข้องกับคาขอ เพอ่ื ให้ได้รับความชว่ ยเหลือ บทท่ี 5 – บทบญั ญัตพิ ิเศษ ขอ้ 24 – การดาเนินการใหเ้ ปน็ ผลตามความตกลงฯ 1. ให้รัฐภาคีติดต่อสื่อสารระหว่างกันเพื่อการดาเนินการให้เป็นผลตามความตกลงฯ ผ่านเจ้าหน้าท่ี ผู้มีอานาจของแต่ละรัฐภาคี เจ้าหน้าที่ผู้มีอานาจของรัฐภาคีอาจติดต่อกันโดยตรง เพื่อความประสงค์นี้ และอาจมอบอานาจให้เจ้าหน้าท่ีผู้อยู่ใต้บังคับบัญชาเป็นผู้ดาเนินการ แทนได้ เจ้าหน้าที่ผู้มีอานาจของรัฐภาคีสองรัฐหรือมากกว่าอาจตกลงร่วมกันในวิธีการ ท่ีจะใช้บงั คับความตกลงฯ ระหว่างกนั 2. หากรัฐผู้รับคาร้องขอพิจารณาการใช้บังคับความตกลงฯ ในกรณีใดโดยเฉพาะแล้วเห็นว่า อาจก่อให้เกิดผลอันร้ายแรงหรือไมเ่ ป็นท่ีพึงปรารถนา ให้เจา้ หน้าท่ีผู้มอี านาจของรัฐผ้รู ับคาร้องขอ และของรัฐผู้ร้องขอหารือและใช้ความพยายามร่วมกันในการแก้ปัญหาโดยทาเป็นข้อตกลง รว่ มกัน 3. ให้คณะกรรมการประสานงานอันประกอบไปด้วยผู้แทนของเจ้าหน้าที่ผู้มีอานาจของรัฐภาคี ตรวจสอบการดาเนนิ การและพฒั นาการของความตกลงฯ ภายใตค้ วามช่วยเหลือของ OECD โดยคณะกรรมการประสานงานจะเสนอแนะการปฏบิ ัติที่จะนาไปสู่การแผ่ขยายเป้าประสงค์ ของความตกลงฯ โดยเฉพาะอย่างย่ิง คณะกรรมการประสานงานต้องทาหน้าที่เป็นหน่วยงาน ที่ศึกษาวิธีการและกระบวนการใหม่เพื่อเพิ่มพูนความร่วมมือทางภาษีในระดับนานาชาติ และเมื่อมเี หตุอนั สมควรอาจเสนอให้มีการแก้ไขหรือปรับปรุงความตกลงฯ รัฐซ่ึงได้ลงนามแลว้ แต่ ยังไม่ได้ให้สัตยาบัน ยอมรับ หรือเห็นชอบความตกลงฯ สามารถเข้าร่วมการประชุม ของคณะกรรมการประสานงานได้ในฐานะผสู้ งั เกตการณ์ 4. รัฐภาคีอาจขอให้คณะกรรมการประสานงานออกความเห็นเกี่ยวกับการตีความบทบัญญัติ ตามความตกลงฯ 5. เมื่อมีข้อขัดข้องหรือข้อสงสัยเกิดข้ึนระหว่างรฐั ภาคีสองรัฐหรือมากกว่าเกี่ยวกับการดาเนินการ หรือการตีความความตกลงฯ ให้เจ้าหน้าที่ผู้มีอานาจของรัฐภาคีเหล่านั้นใช้ความพยายาม ในการแกป้ ัญหาด้วยการมีข้อตกลงร่วมกันและขอ้ ตกลงดังกล่าวจะตอ้ งแจ้งใหค้ ณะกรรมการ ประสานงานทราบ 6. ให้เลขาธิการของ OECD แจ้งรัฐภาคีและรัฐผูล้ งนามแตย่ ังไม่ให้สัตยาบัน ยอมรับ หรือเห็นชอบ ความตกลงฯ ทราบถึงความเห็นของคณะกรรมการประสานงานซง่ึ ออกโดยอาศัยบทบัญญัติ ในวรรค 4 และขอ้ ตกลงท่ที าขนึ้ รว่ มกนั ตามวรรค 5 ข้างตน้ ขอ้ 25 – ภาษา คาขอเพ่ือให้ได้รับความช่วยเหลือและคาตอบรับการนั้น ให้จัดทาขึ้นโดยใช้ภาษาทางการ ของ OECD ของคณะมนตรีแห่งยุโรป หรือภาษาอื่นซึ่งตกลงกันสองฝ่ายระหว่างรัฐภาคี ทเ่ี ก่ยี วข้อง 11

อาจได้รับการแจง้ ถึงกระบวนการพิจารณาที่ถูกนาเสนอดังกล่าวจากผมู้ ีส่วนได้เสีย เม่ือได้รบั ทราบ ดังนั้นแล้ว หากมีความจาเปน็ ให้รฐั ผ้รู บั คาร้องขอหารอื ในเร่อื งดังกลา่ วกบั รฐั ผรู้ อ้ งขอ 3. ทันทีที่กระบวนการพิจารณาได้มีคาวินิจฉัยถึงที่สุด ให้รัฐผู้รับคาร้องขอหรือรัฐผู้ร้องขอ แล้วแต่กรณี แจ้งให้รัฐอีกฝ่ายหนึ่งทราบถึงคาวินิจฉัยและผลที่ตามมาอันเกี่ยวข้องกับคาขอ เพอื่ ให้ได้รับความชว่ ยเหลือ บทที่ 5 – บทบญั ญตั ิพิเศษ ข้อ 24 – การดาเนนิ การใหเ้ ปน็ ผลตามความตกลงฯ 1. ให้รัฐภาคีติดต่อสื่อสารระหว่างกันเพ่ือการดาเนินการให้เป็นผลตามความตกลงฯ ผ่านเจ้าหน้าที่ ผู้มีอานาจของแต่ละรัฐภาคี เจ้าหน้าที่ผู้มีอานาจของรัฐภาคีอาจติดต่อกันโดยตรง เพื่อความประสงค์นี้ และอาจมอบอานาจให้เจ้าหน้าที่ผู้อยู่ใต้บังคับบัญชาเป็นผู้ดาเนินการ แทนได้ เจ้าหน้าที่ผู้มีอานาจของรัฐภาคีสองรัฐหรือมากกว่าอาจตกลงร่วมกันในวิธีการ ทีจ่ ะใช้บงั คบั ความตกลงฯ ระหวา่ งกัน 2. หากรัฐผู้รับคาร้องขอพิจารณาการใช้บังคับความตกลงฯ ในกรณีใดโดยเฉพาะแล้วเห็นว่า อาจก่อให้เกิดผลอันร้ายแรงหรือไม่เป็นที่พงึ ปรารถนา ให้เจ้าหน้าที่ผูม้ ีอานาจของรัฐผู้รับคาร้องขอ และของรัฐผู้ร้องขอหารือและใช้ความพยายามร่วมกันในการแก้ปัญหาโดยทาเป็นข้อตกลง รว่ มกนั 3. ให้คณะกรรมการประสานงานอันประกอบไปด้วยผู้แทนของเจา้ หน้าที่ผู้มีอานาจของรัฐภาคี ตรวจสอบการดาเนินการและพฒั นาการของความตกลงฯ ภายใต้ความช่วยเหลอื ของ OECD โดยคณะกรรมการประสานงานจะเสนอแนะการปฏบิ ัติท่จี ะนาไปสู่การแผ่ขยายเป้าประสงค์ ของความตกลงฯ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง คณะกรรมการประสานงานต้องทาหน้าท่ีเป็นหน่วยงาน ที่ศึกษาวิธีการและกระบวนการใหม่เพ่ือเพิ่มพูนความร่วมมือทางภาษีในระดับนานาชาติ และเม่ือมเี หตุอันสมควรอาจเสนอใหม้ กี ารแก้ไขหรือปรบั ปรุงความตกลงฯ รัฐซึ่งได้ลงนามแล้วแต่ ยังไม่ได้ให้สัตยาบัน ยอมรับ หรือเห็นชอบความตกลงฯ สามารถเข้าร่วมการประชุม ของคณะกรรมการประสานงานได้ในฐานะผู้สงั เกตการณ์ 4. รัฐภาคีอาจขอให้คณะกรรมการประสานงานออกความเห็นเกี่ยวกับการตีความบทบัญญัติ ตามความตกลงฯ 5. เม่ือมีข้อขัดข้องหรือข้อสงสัยเกิดข้ึนระหว่างรฐั ภาคีสองรัฐหรือมากกว่าเกี่ยวกับการดาเนินการ หรือการตีความความตกลงฯ ให้เจ้าหน้าท่ีผู้มีอานาจของรัฐภาคีเหล่าน้ันใช้ความพยายาม ในการแกป้ ัญหาดว้ ยการมีข้อตกลงร่วมกันและข้อตกลงดังกล่าวจะต้องแจง้ ให้คณะกรรมการ ประสานงานทราบ 6. ให้เลขาธิการของ OECD แจ้งรัฐภาคีและรัฐผลู้ งนามแต่ยังไม่ให้สัตยาบัน ยอมรับ หรือเห็นชอบ ความตกลงฯ ทราบถึงความเหน็ ของคณะกรรมการประสานงานซง่ึ ออกโดยอาศัยบทบัญญัติ ในวรรค 4 และข้อตกลงท่ที าข้นึ ร่วมกนั ตามวรรค 5 ข้างต้น ขอ้ 25 – ภาษา คาขอเพ่ือให้ได้รับความช่วยเหลือและคาตอบรับการน้ัน ให้จัดทาข้ึนโดยใช้ภาษาทางการ ของ OECD ของคณะมนตรีแห่งยุโรป หรือภาษาอื่นซ่ึงตกลงกันสองฝ่ายระหว่างรัฐภาคี ท่เี ก่ียวขอ้ ง 11

ข้อ 26 – ค่าใช้จ่าย เว้นแตจ่ ะได้มีการตกลงสองฝา่ ยระหวา่ งรฐั ภาคีที่เกีย่ วข้องไวเ้ ป็นอยา่ งอื่น ก. คา่ ใช้จ่ายที่เกดิ ข้นึ ตามปกติในการใหค้ วามชว่ ยเหลือให้รฐั ผรู้ บั คารอ้ งขอเปน็ ผรู้ บั ภาระ ข. คา่ ใช้จา่ ยทเ่ี กิดข้นึ เป็นกรณพี ิเศษในการให้ความชว่ ยเหลอื ให้รัฐผ้รู ้องขอเปน็ ผ้รู บั ภาระ บทที่ 6 – บทบญั ญตั สิ ่งทา้ ย ข้อ 27 – ความตกลงหรือการจดั การอ่ืน ๆ ในทางระหว่างประเทศ 1. ความช่วยเหลือที่กาหนดภายใต้ความตกลงฯ ไม่จากัดและไม่ถูกจากัดโดยความช่วยเหลือ ซึ่งกาหนดไว้ในความตกลงระหว่างประเทศทมี่ ีอยแู่ ล้ว ที่จะมีข้นึ ในอนาคต การจัดการระหว่างรัฐ ภาคที ี่เก่ยี วขอ้ ง หรอื ข้อกาหนดอ่นื ๆ ทเ่ี ก่ียวกบั ความร่วมมอื ทางภาษี 2. แม้จะมีบทบัญญัติตามวรรค 1 รัฐภาคีซึ่งเป็นสมาชิกของสหภาพยุโรปที่มีความสัมพันธ์ ในลักษณะเดียวกัน สามารถปรับใช้ความช่วยเหลือตามขอบเขตที่กาหนดภายใต้ความตกลงฯ หากการปรับใช้ดังกล่าวเป็นการขยายกรอบความร่วมมือท่ีคลอบคลุมกว่าตามที่กาหนดไว้ ภายใตก้ ฎเกณฑข์ องสหภาพยโุ รป ข้อ 28 – การลงนามและการเรมิ่ ใช้บงั คับความตกลงฯ 1. ความตกลงฯ เรม่ิ ใหล้ งนามโดยรัฐสมาชกิ ของคณะมนตรีแหง่ ยุโรปและประเทศสมาชกิ ของ OECD ซ่ึงอยู่ในบังคับท่ีจะต้องมกี ารให้สัตยาบัน การยอมรับ หรือการใหค้ วามเห็นชอบโดยตราสาร แห่งการสัตยาบัน การยอมรับ หรือการให้ความเห็นชอบ ต้องส่งมอบให้แก่ผู้เก็บรักษา ความตกลงฯ คนใดคนหนึ่ง 2. ความตกลงฯ ให้มีผลใช้บังคับในวันแรกของเดือนถัดจากระยะเวลาสามเดือนนับจากวันที่มี รัฐห้ารัฐได้แสดงเจตนาเข้าผูกพันภายใต้ความตกลงฯ ตามบทบัญญัติท่ีกาหนดในวรรค 1 ไดส้ นิ้ สุดลง 3. สาหรับรัฐสมาชิกของคณะมนตรีแห่งยุโรปหรือประเทศสมาชิกของ OECD ท่ีได้แสดงเจตนา เข้าผูกพันในภายหลัง ให้ความตกลงฯ มผี ลบังใช้คบั ในวันแรกของเดือนถัดจากระยะเวลาสามเดอื น นับจากวนั ที่ส่งมอบตราสารแห่งการสัตยาบัน การยอมรับ หรอื การใหค้ วามเหน็ ชอบ ไดส้ ิน้ สดุ ลง 4. รัฐสมาชิกของคณะมนตรีแห่งยุโรปหรือประเทศสมาชิกของ OECD ใด ๆ ท่ีเข้าเป็นรัฐภาคี ของความตกลงฯ ภายหลังจากพิธสี ารแกไ้ ขเพ่ิมเติมความตกลงฯ ซึ่งเริ่มให้ลงนามไปแล้วเมอ่ื วันที่ 27 พฤษภาคม พ.ศ. 2553 (ค.ศ. 2010) (“พิธีสาร 2010”) มีผลใช้บังคับให้เข้าเป็นรัฐภาคี ของความตกลงฯ ฉบับแก้ไขเพ่ิมเติมโดยพิธีสาร 2010 เว้นแต่จะได้แสดงเจตนาเป็นอย่างอ่ืน เป็นลายลกั ษณอ์ ักษรต่อผเู้ กบ็ รักษาความตกลงฯ คนใดคนหนง่ึ 5. หลังจากพิธีสาร 2010 มผี ลใช้บังคบั รฐั ซ่ึงไม่ได้เปน็ สมาชิกของคณะมนตรีแห่งยุโรปหรอื OECD อาจร้องขอให้ได้รับเชิญเพื่อลงนามและให้สัตยาบันในความตกลงฯ ฉบับแก้ไขเพิ่มเติม โดยพิธีสาร 2010 โดยส่งคาร้องขอดังกล่าวให้ผู้เก็บรักษาความตกลงฯ คนใดคนหนึ่ง ซึ่งจะเป็นผู้ส่งต่อให้แก่รัฐภาคี ผู้เก็บรักษาความตกลงฯ ต้องแจ้งให้คณะรัฐมนตรีแห่งคณะมนตรี แห่งยุโรปและของคณะมนตรีแห่ง OECD ทราบด้วย ผลการตัดสินให้เชิญเป็นรัฐภาคี ของความตกลงฯ ตามคารอ้ งขอนนั้ ต้องได้รับการลงมตเิ ป็นเอกฉันท์โดยรัฐภาคีของความตกลงฯ ผ่านคณะกรรมการประสานงาน สาหรับรัฐท่ีได้ให้สัตยาบันความตกลงฯ ฉบับแก้ไขเพ่ิมเติม โดยพิธีสาร 2010 ตามเงื่อนไขที่กาหนดตามวรรคน้ี ให้ความตกลงฯ ดังกล่าวมีผลใช้บังคับ ในวนั แรกของเดือน 12

ขอ้ 26 – คา่ ใชจ้ า่ ย เวน้ แตจ่ ะไดม้ กี ารตกลงสองฝ่ายระหว่างรฐั ภาคที เ่ี กย่ี วขอ้ งไวเ้ ป็นอย่างอน่ื ก. คา่ ใช้จา่ ยท่ีเกิดขน้ึ ตามปกตใิ นการใหค้ วามชว่ ยเหลอื ให้รฐั ผรู้ บั คารอ้ งขอเปน็ ผรู้ บั ภาระ ข. ค่าใช้จ่ายทีเ่ กิดขึน้ เป็นกรณพี เิ ศษในการใหค้ วามชว่ ยเหลอื ให้รฐั ผรู้ ้องขอเปน็ ผรู้ บั ภาระ บทที่ 6 – บทบญั ญตั ิสง่ ทา้ ย ขอ้ 27 – ความตกลงหรอื การจัดการอ่ืน ๆ ในทางระหว่างประเทศ 1. ความช่วยเหลือที่กาหนดภายใต้ความตกลงฯ ไม่จากัดและไม่ถูกจากัดโดยความช่วยเหลือ ซ่งึ กาหนดไว้ในความตกลงระหว่างประเทศทีม่ ีอยูแ่ ลว้ ท่ีจะมีข้นึ ในอนาคต การจัดการระหว่างรัฐ ภาคที ่เี กย่ี วขอ้ ง หรือขอ้ กาหนดอนื่ ๆ ทเ่ี กีย่ วกับความรว่ มมอื ทางภาษี 2. แม้จะมีบทบัญญัติตามวรรค 1 รัฐภาคีซ่ึงเป็นสมาชิกของสหภาพยุโรปท่ีมีความสัมพันธ์ ในลักษณะเดียวกัน สามารถปรับใช้ความช่วยเหลือตามขอบเขตท่ีกาหนดภายใต้ความตกลงฯ หากการปรับใช้ดังกล่าวเป็นการขยายกรอบความร่วมมือท่ีคลอบคลุมกว่าตามที่กาหนดไว้ ภายใตก้ ฎเกณฑ์ของสหภาพยุโรป ขอ้ 28 – การลงนามและการเรม่ิ ใช้บังคับความตกลงฯ 1. ความตกลงฯ เร่ิมให้ลงนามโดยรัฐสมาชิกของคณะมนตรีแหง่ ยุโรปและประเทศสมาชกิ ของ OECD ซ่ึงอยู่ในบังคับที่จะต้องมกี ารใหส้ ัตยาบัน การยอมรับ หรือการให้ความเหน็ ชอบโดยตราสาร แห่งการสัตยาบัน การยอมรับ หรือการให้ความเห็นชอบ ต้องส่งมอบให้แก่ผู้เก็บรักษา ความตกลงฯ คนใดคนหนง่ึ 2. ความตกลงฯ ให้มีผลใช้บังคับในวันแรกของเดือนถัดจากระยะเวลาสามเดือนนับจากวันที่มี รัฐห้ารัฐได้แสดงเจตนาเข้าผูกพันภายใต้ความตกลงฯ ตามบทบัญญัติที่กาหนดในวรรค 1 ไดส้ ิ้นสดุ ลง 3. สาหรับรัฐสมาชิกของคณะมนตรีแห่งยุโรปหรือประเทศสมาชิกของ OECD ท่ีได้แสดงเจตนา เขา้ ผูกพันในภายหลัง ให้ความตกลงฯ มผี ลบังใช้คบั ในวันแรกของเดือนถัดจากระยะเวลาสามเดอื น นบั จากวันที่สง่ มอบตราสารแห่งการสัตยาบัน การยอมรับ หรอื การใหค้ วามเหน็ ชอบ ได้สิน้ สดุ ลง 4. รัฐสมาชิกของคณะมนตรีแห่งยุโรปหรือประเทศสมาชิกของ OECD ใด ๆ ที่เข้าเป็นรัฐภาคี ของความตกลงฯ ภายหลังจากพิธสี ารแก้ไขเพิ่มเติมความตกลงฯ ซึ่งเริ่มให้ลงนามไปแล้วเมื่อวันที่ 27 พฤษภาคม พ.ศ. 2553 (ค.ศ. 2010) (“พิธีสาร 2010”) มีผลใช้บังคับให้เข้าเป็นรัฐภาคี ของความตกลงฯ ฉบับแก้ไขเพ่ิมเติมโดยพิธีสาร 2010 เว้นแต่จะได้แสดงเจตนาเป็นอย่างอื่น เปน็ ลายลักษณ์อกั ษรตอ่ ผเู้ ก็บรกั ษาความตกลงฯ คนใดคนหนง่ึ 5. หลงั จากพิธีสาร 2010 มผี ลใช้บังคบั รัฐซึ่งไม่ได้เปน็ สมาชกิ ของคณะมนตรีแหง่ ยุโรปหรอื OECD อาจร้องขอให้ได้รับเชิญเพื่อลงนามและให้สัตยาบันในความตกลงฯ ฉบับแก้ไขเพิ่มเติม โดยพิธีสาร 2010 โดยส่งคาร้องขอดังกล่าวให้ผู้เก็บรักษาความตกลงฯ คนใดคนหนึ่ง ซึ่งจะเป็นผู้ส่งต่อให้แก่รัฐภาคี ผู้เก็บรักษาความตกลงฯ ต้องแจง้ ให้คณะรฐั มนตรีแห่งคณะมนตรี แห่งยุโรปและของคณะมนตรีแห่ง OECD ทราบด้วย ผลการตัดสินให้เชิญเป็นรัฐภาคี ของความตกลงฯ ตามคารอ้ งขอน้นั ต้องได้รับการลงมตเิ ปน็ เอกฉนั ท์โดยรัฐภาคีของความตกลงฯ ผ่านคณะกรรมการประสานงาน สาหรับรัฐที่ได้ให้สัตยาบันความตกลงฯ ฉบับแก้ไขเพิ่มเติม โดยพิธีสาร 2010 ตามเงื่อนไขท่ีกาหนดตามวรรคนี้ ให้ความตกลงฯ ดังกล่าวมีผลใช้บังคับ ในวันแรกของเดือน 12

ถัดจากระยะเวลาสามเดือนนับจากวันท่ีส่งมอบสัตยาบันสารแก่ผู้เก็บรักษาความตกลงฯ คนใดคนหนง่ึ ได้สิน้ สดุ ลง 6. บทบัญญัติของความตกลงฯ ฉบับแก้ไขเพิ่มเติมโดยพิธีสาร 2010 ให้มีผลใช้บังคับสาหรับ การให้ความช่วยเหลอื ทางด้านภาษีทเ่ี ก่ียวขอ้ งกับปีภาษี เริม่ ต้นในหรอื หลังวันท่ี 1 มกราคม ของปีถัดจากปีที่ความตกลงฯ ฉบับแก้ไขเพ่ิมเติมโดยพิธีสาร 2010 มีผลใช้บังคับสาหรับ แต่ละรฐั ภาคี กรณีไม่มีรอบปีภาษใี ห้มีผลใช้บังคับสาหรบั การให้ความชว่ ยเหลือทางด้านภาษี ทีเ่ กี่ยวข้องกับการจัดเก็บภาษีทเี่ กิดข้นึ ในหรือหลังวันที่ 1 มกราคมของปีถดั จากปที ี่ความตกลงฯ ฉบับแก้ไขเพิ่มเติมโดยพิธีสาร 2010 มีผลใช้บังคับสาหรับแต่ละรัฐภาคี รัฐภาคีสองรัฐ หรอื มากกว่าน้นั อาจตกลงกนั ใหค้ วามตกลงฯ ฉบบั แกไ้ ขเพ่ิมเตมิ โดยพธิ สี าร 2010 มีผลใช้บังคับ สาหรบั การให้ความช่วยเหลือทางดา้ นภาษที เี่ กี่ยวข้องกบั ปภี าษีหรอื รอบระยะเวลากอ่ นน้นั 7. แม้จะมีบทบัญญัติของวรรค 6 ประเด็นทางภาษีที่เกี่ยวกับการกระทาการระหว่างประเทศ อันตกอยู่ในบังคับต้องถูกดาเนินคดีอาญาตามกฎหมายของรัฐผู้ร้องขอ บทบัญญัติแห่งความตกลงฯ ฉบับแก้ไขเพิ่มเติมโดยพิธีสาร 2010 ให้มีผลนับแต่วันท่ีมีผลใช้บังคับสาหรับแต่ละรัฐภาคี ในส่วนท่ีเกีย่ วกบั ปภี าษหี รือรอบระยะเวลากอ่ นนัน้ ดว้ ย ข้อ 29 – อาณาเขตแหง่ การใช้บังคบั ของความตกลงฯ 1. ณ เวลาท่ีได้ลงนาม หรอื เมื่อส่งมอบตราสารแห่งการสัตยาบัน การยอมรับ หรอื การให้ความเห็นชอบ แต่ละรฐั อาจกาหนดอาณาเขตท่ีความตกลงฯ น้ีจะใช้บงั คับ 2. เม่ือใดก็ได้ในภายหลัง รัฐใด ๆ โดยการส่งเป็นคาแถลงการณ์ถึงผู้เก็บรักษาความตกลงฯ คนใดคนหนึ่งสามารถขยายอาณาเขตที่ความตกลงฯ นี้จะใช้บังคับโดยการระบุอาณาเขต ทจี่ ะขยายนั้นในคาแถลงการณ์ ในส่วนของอาณาเขตท่ีได้ขยายนั้น ให้ความตกลงฯ มีผลใช้บังคับ ในวันแรกของเดือนถัดจากระยะเวลาสามเดือนนับจากวันที่ผู้เก็บรักษาความตกลงฯ ไดร้ ับคาแถลงการณน์ ัน้ ไดส้ ้ินสุดลง 3. คาแถลงการณ์ซึ่งได้จัดทาขึ้นตามวรรคใดวรรคหนึ่งในสองวรรคข้างต้น อาณาเขตที่กาหนด ตามคาแถลงการณ์น้ัน อาจเพิกถอนได้โดยการแจ้งผู้เก็บรักษาความตกลงฯ คนใดคนหน่ึง โดยการเพิกถอนให้มีผลใช้บังคบั ในวนั แรกของเดือนถัดจากระยะเวลาสามเดอื นนับจากวันท่ี ผู้เก็บรกั ษาความตกลงฯ ได้รับการแจง้ นนั้ ได้สน้ิ สุดลง ข้อ 30 – การสงวนสิทธ์ิ 1. ณ เวลาที่ได้ลงนาม หรือเมื่อส่งมอบตราสารแห่งการสัตยาบัน การยอมรับ หรือการให้ความเห็นชอบ หรอื ในเวลาใด ๆ หลังจากนนั้ รัฐใด ๆ อาจต้ังข้อสงวน ดังน้ี ก. ไมใ่ หค้ วามช่วยเหลอื ทางภาษีในทกุ รูปแบบสาหรับประเภทภาษีของรัฐภาคีทอี่ ยูใ่ นรายการ ตามที่กาหนดในข้อ 2 วรรค 1 ข ภายใต้เงื่อนไขว่า ประเภทภาษีของรัฐนั้นไม่ปรากฏอยู่ใน รายการตามภาคผนวก ก ของความตกลงฯ ข. ไมใ่ ห้ความช่วยเหลอื ดา้ นการติดตามจัดเก็บภาษคี ้างชาระ หรือการตดิ ตามจัดเก็บคา่ ปรับ ที่เกี่ยวขอ้ งสาหรบั ทุกประเภทภาษีหรอื บางประเภทตามทกี่ าหนดในข้อ 2 วรรค 1 ค. ไม่ให้ความช่วยเหลือเก่ียวกับภาษีค้างชาระท่ีมีอยู่ ณ วันท่ีความตกลงฯ มีผลใช้บังคับสาหรับรัฐน้ัน หรอื ณ วนั ท่ีเพกิ ถอนการสงวนสิทธ์ิตามข้อ ก หรอื ข ขา้ งต้น 13

ถัดจากระยะเวลาสามเดือนนับจากวันที่ส่งมอบสัตยาบันสารแก่ผู้เก็บรักษาความตกลงฯ คนใดคนหนึง่ ไดส้ ้ินสดุ ลง 6. บทบัญญัติของความตกลงฯ ฉบับแก้ไขเพิ่มเติมโดยพิธีสาร 2010 ให้มีผลใช้บังคับสาหรับ การให้ความช่วยเหลือทางด้านภาษีทีเ่ กี่ยวข้องกับปีภาษี เรมิ่ ตน้ ในหรือหลังวันท่ี 1 มกราคม ของปีถัดจากปีท่ีความตกลงฯ ฉบับแก้ไขเพิ่มเติมโดยพิธีสาร 2010 มีผลใช้บังคับสาหรับ แตล่ ะรัฐภาคี กรณีไมม่ ีรอบปีภาษใี ห้มีผลใช้บงั คบั สาหรับการให้ความช่วยเหลอื ทางดา้ นภาษี ทเี่ ก่ียวขอ้ งกับการจัดเก็บภาษีทเ่ี กดิ ขน้ึ ในหรือหลังวันท่ี 1 มกราคมของปีถดั จากปที ี่ความตกลงฯ ฉบับแก้ไขเพิ่มเติมโดยพิธีสาร 2010 มีผลใช้บังคับสาหรับแต่ละรัฐภาคี รัฐภาคีสองรัฐ หรือมากกว่านั้นอาจตกลงกนั ให้ความตกลงฯ ฉบบั แก้ไขเพมิ่ เตมิ โดยพธิ ีสาร 2010 มผี ลใช้บงั คับ สาหรับการใหค้ วามชว่ ยเหลือทางดา้ นภาษีที่เกย่ี วข้องกับปีภาษีหรือรอบระยะเวลาก่อนน้นั 7. แม้จะมีบทบัญญัติของวรรค 6 ประเด็นทางภาษีท่ีเก่ียวกับการกระทาการระหว่างประเทศ อันตกอยู่ในบังคบั ต้องถูกดาเนินคดีอาญาตามกฎหมายของรฐั ผู้ร้องขอ บทบัญญัติแห่งความตกลงฯ ฉบับแก้ไขเพิ่มเติมโดยพิธีสาร 2010 ให้มีผลนับแต่วันที่มีผลใช้บังคับสาหรับแต่ละรัฐภาคี ในสว่ นทเ่ี ก่ียวกับปีภาษหี รอื รอบระยะเวลากอ่ นน้ันด้วย ขอ้ 29 – อาณาเขตแหง่ การใช้บังคบั ของความตกลงฯ 1. ณ เวลาที่ได้ลงนาม หรือเมื่อส่งมอบตราสารแห่งการสัตยาบัน การยอมรับ หรอื การให้ความเห็นชอบ แตล่ ะรฐั อาจกาหนดอาณาเขตทค่ี วามตกลงฯ น้ีจะใช้บังคบั 2. เม่ือใดก็ได้ในภายหลัง รัฐใด ๆ โดยการส่งเป็นคาแถลงการณ์ถึงผู้เก็บรักษาความตกลงฯ คนใดคนหนึ่งสามารถขยายอาณาเขตที่ความตกลงฯ นี้จะใช้บังคับโดยการระบุอาณาเขต ทจี่ ะขยายนั้นในคาแถลงการณ์ ในส่วนของอาณาเขตที่ได้ขยายนั้น ให้ความตกลงฯ มีผลใช้บังคับ ในวันแรกของเดือนถัดจากระยะเวลาสามเดือนนับจากวันที่ผู้เก็บรักษาความตกลงฯ ไดร้ ับคาแถลงการณน์ ั้น ได้สน้ิ สุดลง 3. คาแถลงการณ์ซึ่งได้จัดทาข้ึนตามวรรคใดวรรคหนึ่งในสองวรรคข้างต้น อาณาเขตที่กาหนด ตามคาแถลงการณ์น้ัน อาจเพิกถอนได้โดยการแจ้งผู้เก็บรักษาความตกลงฯ คนใดคนหน่ึง โดยการเพิกถอนให้มผี ลใช้บังคับในวนั แรกของเดือนถัดจากระยะเวลาสามเดือนนบั จากวันที่ ผู้เก็บรกั ษาความตกลงฯ ได้รบั การแจง้ นน้ั ได้สิน้ สุดลง ขอ้ 30 – การสงวนสิทธิ์ 1. ณ เวลาท่ีได้ลงนาม หรอื เมื่อส่งมอบตราสารแห่งการสัตยาบัน การยอมรับ หรอื การให้ความเห็นชอบ หรอื ในเวลาใด ๆ หลงั จากนั้น รฐั ใด ๆ อาจต้ังข้อสงวน ดงั น้ี ก. ไม่ใหค้ วามช่วยเหลอื ทางภาษีในทกุ รปู แบบสาหรับประเภทภาษีของรัฐภาคีท่อี ยูใ่ นรายการ ตามที่กาหนดในข้อ 2 วรรค 1 ข ภายใต้เงื่อนไขว่า ประเภทภาษีของรัฐนั้นไม่ปรากฏอยู่ใน รายการตามภาคผนวก ก ของความตกลงฯ ข. ไม่ใหค้ วามช่วยเหลือดา้ นการตดิ ตามจัดเก็บภาษีค้างชาระ หรือการตดิ ตามจัดเก็บคา่ ปรับ ท่ีเกี่ยวขอ้ งสาหรบั ทกุ ประเภทภาษีหรือบางประเภทตามทก่ี าหนดในข้อ 2 วรรค 1 ค. ไม่ให้ความช่วยเหลือเก่ียวกับภาษีค้างชาระท่ีมีอยู่ ณ วันท่ีความตกลงฯ มีผลใช้บังคับสาหรับรัฐนัน้ หรอื ณ วนั ทีเ่ พิกถอนการสงวนสทิ ธิ์ตามข้อ ก หรือ ข ข้างต้น 13

สาหรบั ประเภทภาษีท่เี กยี่ วข้อง ง. ไม่ให้ความช่วยเหลือในการบริการจัดหาเอกสารสาหรับทุกประเภทภาษีหรือบางประเภท ตามรายการท่กี าหนดในขอ้ 2 วรรค 1 จ. ไมใ่ ห้ความชว่ ยเหลอื การบริการจัดหาเอกสารผ่านทางไปรษณีย์ตามเงอื่ นทีก่ าหนดในข้อ 17 วรรค 3 ฉ. จะบังคับใช้ข้อ 28 วรรค 7 เฉพาะการให้ความช่วยเหลือด้านการบริหารสาหรับปีภาษี เริ่มต้นในหรือหลังวันท่ี 1 มกราคมของสามปีก่อนหน้าปีท่ีความตกลงฯ ฉบับแกไ้ ขเพ่ิมเติม โดยพิธีสาร 2010 มีผลใช้บังคับสาหรับแต่ละรัฐภาคีหรือกรณีไม่มีรอบปีภาษี ให้มีผลใช้บังคับสาหรับการให้ความช่วยเหลือทางด้านภาษีที่เกี่ยวข้องกับการจัดเก็บภาษี ทเี่ กิดข้ึนในหรอื หลังวันท่ี 1 มกราคมของสามปีก่อนหน้าปีท่คี วามตกลงฯ ฉบับแก้ไขเพ่ิมเติม โดยพธิ ีสาร 2010 มผี ลใช้บังคับสาหรบั แต่ละรัฐภาคี 2. การสงวนสิทธอ์ิ ่นื ไมอ่ าจทาได้ 3. ภายหลังจากที่ความตกลงฯ มีผลใช้บังคับสาหรับแต่ละรัฐภาคี รัฐภาคีอาจตั้งข้อสงวน ตามท่ีกาหนดในวรรค 1 จานวนหนึ่งข้อหรือมากกว่านั้น ซ่ึงไม่ได้ตั้งข้อสงวนไว้ ณ เวลา แห่งการสัตยาบัน การยอมรับ หรอื การใหค้ วามเห็นชอบ การต้งั ข้อสงวนดงั กล่าวให้มีผลใช้บังคับ ในวันแรกของเดือนถัดจากระยะเวลาสามเดือนนับจากวันที่ผู้เก็บรักษาความตกลงฯ คนใดคนหนึ่งไดร้ บั การต้งั ข้อสงวนนนั้ ได้สิ้นสุดลง 4. รัฐภาคีซึ่งได้ต้ังข้อสงวนตามวรรค 1 และ 3 อาจเพิกถอนข้อสงวนท้ังหมดหรือบางส่วนได้ โดยการแจ้งไปยังผู้เก็บรักษาความตกลงฯ คนใดคนหนึ่ง และการเพิกถอนให้มีผลใช้บังคับ ตง้ั แตว่ นั ทผี่ ู้เกบ็ รักษาความตกลงฯ ได้รบั การแจง้ ดังกลา่ ว 5. รัฐภาคีซึ่งได้ตั้งข้อสงวนตามบทบัญญัติแห่งความตกลงฯ ไม่อาจเรียกร้องให้รัฐภาคีอื่น ใช้บังคับบทบัญญัติท่ีตนได้ตั้งข้อสงวนไว้ได้ อย่างไรก็ตาม กรณีมีการต้ังข้อสงวนเพียงบางส่วน รฐั ภาคอี าจขอใหร้ ฐั ภาคีอืน่ ใช้บังคบั บทบญั ญตั ไิ ดเ้ ทา่ ท่ีรัฐภาคยี อมรบั ขอ้ 31 – การบอกเลกิ 1. ไม่ว่าเวลาใด รัฐภาคีใด ๆ อาจบอกเลิกความตกลงฯ ไดโ้ ดยการแจ้งไปยังผู้เก็บรักษาความตกลงฯ คนใดคนหนง่ึ 2. การบอกเลิกให้มีผลใช้บังคับในวันแรกของเดือนถัดจากระยะเวลาสามเดือนนับจากวันที่ผู้เก็บ รักษาความตกลงฯ ได้รับการแจง้ นัน้ ไดส้ น้ิ สุดลง 3. รัฐภาคีท่ีได้บอกเลิกความตกลงฯ ยังคงผูกพันตามบทบัญญัติข้อ 22 ตราบเท่าที่ยังครอบครอง เอกสารหรอื ข้อมลู ทีไ่ ด้รบั ตามความตกลงฯ ข้อ 32 – ผูเ้ กบ็ รกั ษาความตกลงฯ และหนา้ ท่ี 1. ผูเ้ กบ็ รักษาความตกลงฯ ซึ่งได้รบั ทราบการดาเนนิ การ การแจ้ง หรือการติดต่อสื่อสารตา่ ง ๆ มีหน้าที่แจ้งให้รัฐสมาชิกของคณะมนตรีแห่งยุโรป ประเทศสมาชิกของ OECD และรัฐภาคี ของความตกลงฯ ได้ทราบถึง ก. การลงนาม ข. การสง่ มอบตราสารแหง่ การสตั ยาบนั การยอมรบั หรือการใหค้ วามเห็นชอบ 14

สาหรับประเภทภาษีที่เก่ียวข้อง ง. ไม่ให้ความช่วยเหลอื ในการบริการจัดหาเอกสารสาหรับทุกประเภทภาษีหรอื บางประเภท ตามรายการท่ีกาหนดในขอ้ 2 วรรค 1 จ. ไมใ่ ห้ความชว่ ยเหลือการบริการจดั หาเอกสารผ่านทางไปรษณียต์ ามเง่อื นท่กี าหนดในข้อ 17 วรรค 3 ฉ. จะบังคับใช้ข้อ 28 วรรค 7 เฉพาะการให้ความช่วยเหลือด้านการบริหารสาหรับปีภาษี เริ่มต้นในหรือหลังวันที่ 1 มกราคมของสามปีก่อนหน้าปีที่ความตกลงฯ ฉบับแก้ไขเพิ่มเติม โดยพิธีสาร 2010 มีผลใช้บังคับสาหรับแต่ละรัฐภาคีหรือกรณีไม่มีรอบปีภาษี ให้มีผลใช้บังคับสาหรับการให้ความช่วยเหลือทางด้านภาษีท่ีเก่ียวข้องกับการจัดเก็บภาษี ทเ่ี กิดข้ึนในหรือหลังวันท่ี 1 มกราคมของสามปีก่อนหน้าปีทีค่ วามตกลงฯ ฉบับแก้ไขเพ่ิมเติม โดยพิธีสาร 2010 มผี ลใช้บงั คับสาหรับแต่ละรฐั ภาคี 2. การสงวนสิทธอ์ิ ืน่ ไมอ่ าจทาได้ 3. ภายหลังจากท่ีความตกลงฯ มีผลใช้บังคับสาหรับแต่ละรัฐภาคี รัฐภาคีอาจตั้งข้อสงวน ตามที่กาหนดในวรรค 1 จานวนหนึ่งข้อหรือมากกว่าน้ัน ซึ่งไม่ได้ต้ังข้อสงวนไว้ ณ เวลา แหง่ การสตั ยาบัน การยอมรับ หรอื การให้ความเห็นชอบ การต้งั ขอ้ สงวนดงั กล่าวให้มีผลใช้บังคับ ในวันแรกของเดือนถัดจากระยะเวลาสามเดือนนับจากวันที่ผู้เก็บรักษาความตกลงฯ คนใดคนหน่งึ ได้รับการตั้งข้อสงวนน้ัน ไดส้ น้ิ สดุ ลง 4. รัฐภาคีซ่ึงได้ตั้งข้อสงวนตามวรรค 1 และ 3 อาจเพิกถอนข้อสงวนทั้งหมดหรือบางส่วนได้ โดยการแจ้งไปยังผู้เก็บรักษาความตกลงฯ คนใดคนหนึ่ง และการเพิกถอนให้มีผลใช้บังคับ ต้ังแตว่ ันที่ผ้เู ก็บรักษาความตกลงฯ ไดร้ ับการแจ้งดังกลา่ ว 5. รัฐภาคีซึ่งได้ตั้งข้อสงวนตามบทบัญญัติแห่งความตกลงฯ ไม่อาจเรียกร้องให้รัฐภาคีอื่น ใช้บังคับบทบัญญัติท่ีตนได้ตั้งข้อสงวนไว้ได้ อย่างไรก็ตาม กรณีมีการต้ังข้อสงวนเพียงบางส่วน รฐั ภาคอี าจขอใหร้ ฐั ภาคีอื่นใช้บังคับบทบัญญตั ไิ ด้เทา่ ที่รัฐภาคยี อมรบั ข้อ 31 – การบอกเลกิ 1. ไม่วา่ เวลาใด รัฐภาคีใด ๆ อาจบอกเลิกความตกลงฯ ได้โดยการแจ้งไปยังผเู้ ก็บรักษาความตกลงฯ คนใดคนหนึง่ 2. การบอกเลิกให้มีผลใช้บังคับในวันแรกของเดือนถัดจากระยะเวลาสามเดือนนับจากวันที่ผู้เก็บ รักษาความตกลงฯ ได้รับการแจ้งน้นั ได้สิ้นสดุ ลง 3. รัฐภาคีท่ีได้บอกเลิกความตกลงฯ ยังคงผูกพันตามบทบัญญัติข้อ 22 ตราบเท่าท่ียังครอบครอง เอกสารหรือขอ้ มลู ทีไ่ ดร้ บั ตามความตกลงฯ ขอ้ 32 – ผเู้ ก็บรักษาความตกลงฯ และหน้าที่ 1. ผู้เกบ็ รกั ษาความตกลงฯ ซึ่งได้รบั ทราบการดาเนินการ การแจ้ง หรือการติดต่อส่ือสารต่าง ๆ มีหน้าที่แจ้งให้รัฐสมาชิกของคณะมนตรีแห่งยุโรป ประเทศสมาชิกของ OECD และรัฐภาคี ของความตกลงฯ ไดท้ ราบถึง ก. การลงนาม ข. การสง่ มอบตราสารแหง่ การสตั ยาบัน การยอมรบั หรือการใหค้ วามเหน็ ชอบ 14

ค. วนั ที่ความตกลงฯ มีผลใช้บงั คับตามทก่ี าหนดในบทบญั ญัติขอ้ 28 และ 29 ง. การแถลงการณ์อันเป็นไปตามบทบัญญัติข้อ 4 วรรค 3 หรือข้อ 9 วรรค 3 และการเพิกถอน ซึ่งคาแถลงการณ์ใด ๆ เช่นว่านั้น จ. การสงวนสิทธ์ิตามบทบัญญัติขอ้ 30 และการเพิกถอนการสงวนสิทธิ์อันมีผลตามบทบัญญัติ ขอ้ 30 วรรค 4 ฉ. การแจ้งตามบทบญั ญัติขอ้ 2 วรรค 3 หรอื 4 ข้อ 3 วรรค 3 ขอ้ 29 หรือขอ้ 31 วรรค 1 ช. การดาเนนิ การ การแจง้ หรือการติดต่อสอ่ื สาร อันเกย่ี วขอ้ งกับความตกลงฯ 2. ผู้เก็บรักษาความตกลงฯ ที่ได้รับการติดต่อสื่อสารหรือได้รับการแจ้งตามบทบัญญัติในวรรค 1 มหี นา้ ทแี่ จง้ ใหผ้ เู้ กบ็ รกั ษาความตกลงฯ คนอ่นื ๆ ทราบถงึ การนั้นโดยทนั ที 15

ค. วันท่ีความตกลงฯ มผี ลใช้บังคบั ตามทีก่ าหนดในบทบัญญัตขิ ้อ 28 และ 29 ง. การแถลงการณ์อันเป็นไปตามบทบัญญัติข้อ 4 วรรค 3 หรือข้อ 9 วรรค 3 และการเพิกถอน ซง่ึ คาแถลงการณ์ใด ๆ เชน่ วา่ น้นั จ. การสงวนสทิ ธ์ติ ามบทบัญญตั ิข้อ 30 และการเพิกถอนการสงวนสิทธิ์อันมีผลตามบทบญั ญัติ ขอ้ 30 วรรค 4 ฉ. การแจ้งตามบทบัญญัติขอ้ 2 วรรค 3 หรอื 4 ขอ้ 3 วรรค 3 ข้อ 29 หรอื ขอ้ 31 วรรค 1 ช. การดาเนินการ การแจง้ หรอื การตดิ ตอ่ สอื่ สาร อันเกี่ยวขอ้ งกบั ความตกลงฯ 2. ผู้เก็บรักษาความตกลงฯ ท่ีได้รับการติดต่อสื่อสารหรือได้รับการแจ้งตามบทบัญญัติในวรรค 1 มีหนา้ ท่แี จ้งใหผ้ ูเ้ ก็บรักษาความตกลงฯ คนอ่นื ๆ ทราบถงึ การนน้ั โดยทันที 15

เพ่ือเป็นพยานแก่การน้ี ผู้ลงนามข้างท้าย เพื่อเป็นพยานแก่การนี้ ผู้ลงนามข้างท้าย ซึ่งได้รับมอบอานาจโดยถูกต้อง ได้ลงนาม ซึ่งได้รับมอบอานาจโดยถูกต้อง ได้ลงนาม ในความตกลงฯ ในความตกลงฯ จัดทาโดยผู้เก็บรักษาความตกลงพหุภาคี จัดทาโดยผู้เก็บรักษาความตกลงพหุภาคี วา่ ด้วยการให้ความช่วยเหลือด้านการบริหารภาษี ว่าด้วยการให้ความช่วยเหลือด้านการบริหารภาษี ในวันท่ี 1 มถิ นุ ายน พ.ศ. 2554 ตามบทบัญญตั ิ ในวันท่ี 1 มถิ ุนายน พ.ศ. 2554 ตามบทบญั ญัติ ข้อ x.4 ของพิธีสารแก้ไขเพิ่มเติมความตกลงฯ ข้อ x.4 ของพิธีสารแก้ไขเพ่ิมเติมความตกลงฯ เป็นภาษาอังกฤษและภาษาฝรั่งเศส ซึ่งให้ เป็นภาษาอังกฤษและภาษาฝรั่งเศส ซึ่งให้ ความหมายเหมือนกันทั้งสองภาษา จัดทาขึ้น ความหมายเหมือนกันทั้งสองภาษา จัดทาขึ้น จานวน 2 ฉบับ โดยผู้เก็บรักษาความตกลงฯ จานวน 2 ฉบับ โดยผู้เก็บรักษาความตกลงฯ แยกเก็บคนละชุด และผู้เก็บรักษาความตกลงฯ แยกเก็บคนละชุด และผู้เก็บรักษาความตกลงฯ จะต้องส่งสาเนาที่ได้รับการรับรองให้รัฐภาคี จะต้องส่งสาเนาที่ได้รับการรับรองให้รัฐภาคี รวมถงึ รัฐท่เี ปน็ ภาคี ตามความตกลงฯ ฉบับแกไ้ ข รวมถึงรัฐที่เปน็ ภาคี ตามความตกลงฯ ฉบับแก้ไข เพม่ิ เตมิ โดยพธิ สี ารฯ เพ่มิ เตมิ โดยพธิ สี ารฯ 16

ขา้ พเจา้ รบั รองวา่ ถ้อยคาก่อนหนา้ เป็นสาเนา ข้าพเจ้ารับรองว่า ถ้อยคาก่อนหน้าเป็นสาเนา ของความตกลงพ หุภ าคีว่าด้วยการให้ ของความตกลงพ หุภ าคีว่าด้วยการให้ ความช่วยเหลือด้านการบริหารภาษี ซ่ึงเปิดให้ ความช่วยเหลือด้านการบริหารภาษี ซึ่งเปิดให้ มีการลงนาม ณ เมืองสทราซบูร์ เม่ือวันที่ มีการลงนาม ณ เมืองสทราซบูร์ เมื่อวันที่ 25 มกราคม พ.ศ. 2531 (ค.ศ. 1988) 25 มกราคม พ.ศ. 2531 (ค.ศ. 1988) ฉบับแก้ไขเพิ่มเติมโดยพิธีสารแก้ไขเพ่ิมเติม ฉบับแก้ไขเพิ่มเติมโดยพิธีสารแก้ไขเพิ่มเติม ความตกลงฯ ซึ่งเปิดให้มกี ารลงนาม ณ กรงุ ปารีส ความตกลงฯ ซึ่งเปิดให้มีการลงนาม ณ กรงุ ปารีส เมื่อวันที่ 27 พฤษภาคม พ.ศ. 2553 เมื่อวันที่ 27 พฤษภาคม พ.ศ. 2553 (ค.ศ. 2010) โดยต้นฉบับของความตกลงฯ (ค.ศ. 2010) โดยต้นฉบับของความตกลงฯ เกบ็ รักษาไวท้ เ่ี ลขาธกิ ารแห่ง OECD เก็บรกั ษาไวท้ เี่ ลขาธกิ ารแหง่ OECD ปารีส 3 มิถุนายน พ.ศ. 2563 ปารีส 3 มิถุนายน พ.ศ. 2563 (ค.ศ. 2020) (ค.ศ. 2020) ผอู้ านวยการสว่ นกฎหมาย ผ้อู านวยการส่วนกฎหมาย แทนเลขาธิการแห่ง OECD แทนเลขาธิการแหง่ OECD

Thailand signs the Convention on Mutual Administrative Assistance in Tax Matters as amended by the Protocol Amending the Convention on Mutual Administrative Assistance in Tax Matters with the following reservations: Reservations Pursuant to paragraph 1 a. of Article 30 of the Convention, Thailand reserves the right not to provide any form of assistance in relation to the taxes of other Parties included in any of the following categories listed in sub-paragraph b. of paragraph 1 of Article 2: i. taxes on income, profits, capital gains or net wealth which are imposed on behalf of political subdivisions or local authorities of a Party, ii. compulsory social security contributions payable to general government or to social security institutions established under public law, and iii. taxes in other categories, except customs duties, imposed on behalf of a Party, namely: A. estate, inheritance or gift taxes, B. taxes on immovable property, C. general consumption taxes, such as value added or sales taxes, D. specific taxes on goods and services such as excise taxes, E. taxes on the use or ownership of motor vehicles, F. taxes on the use or ownership of movables property other than motor vehicles, G. any other taxes; iv. taxes in categories referred to in sub-paragraph iii. above which are imposed on behalf of political subdivisions or local authorities of a Party. Pursuant to paragraph 1 b. of Article 30 of the Convention, Thailand reserves the right not to provide assistance in the recovery of any tax claim, or in the recovery of an administrative fine, for all taxes listed in paragraph 1 of Article 2 of the Convention. Pursuant to paragraph 1 c. of Article 30 of the Convention, Thailand reserves the right not to provide assistance in respect of any tax claim, which is in existence at the date of withdrawal of reservations made under paragraph 1 a. and b. of Article 30 of the Convention above in relation to taxes in the category in question. Pursuant to paragraph 1 d. of Article 30 of the Convention, Thailand reserves the right not to provide assistance in the service of documents for all taxes listed in paragraph 1 of Article 2 of the Convention. Pursuant to paragraph 1 f. of Article 30 of the Convention, Thailand reserves the right to apply paragraph 7 of Article 28 exclusively for administrative assistance related to taxable periods beginning on or after 1 January of the third year preceding the one in which the Convention, as amended by the 2010 Protocol, entered into force in respect of a Party, or where there is no taxable period, for administrative assistance related to charges to tax arising on or after 1 January of the third year preceding the one in which the Convention, as amended by the 2010 Protocol, entered into force in respect of a Party.

ประเทศไทยลงนามในความตกลงพหุภาคีว่าดว้ ยการให้ความช่วยเหลอื ดา้ นการบรหิ ารภาษี แกไ้ ขโดยบทบัญญตั ิ แห่งพธิ สี ารแก้ไขเพิ่มเติมความตกลงพหุภาคีว่าด้วยการให้ความช่วยเหลอื ดา้ นการบรหิ ารภาษี โดยตงั้ ขอ้ สงวน ดังน้ี การสงวนสิทธิ์ ตามบทบัญญัติข้อ ๓๐ วรรค ๑ ก. ประเทศไทยตัง้ ขอ้ สงวนไม่ให้ความช่วยเหลือทางภาษีในทุกรูปแบบสาหรับ ประเภทภาษีของรัฐภาคีที่อยู่ในรายการตามทก่ี าหนดในบทบัญญัติข้อ ๒ วรรค ๑ ข. ดังนี้ (1) ภาษีทจี่ ดั เก็บจากเงนิ ได้ กาไร กาไรสว่ นเกนิ ทุน หรอื ความมงั่ คั่งสุทธิ ซงึ่ ได้จัดเก็บในนามหนว่ ยงาน ย่อยของรฐั หรือหน่วยงานส่วนทอ้ งถิ่นของรัฐภาคี (2) เงินสมทบประกันสังคมซ่ึงบังคับชาระให้แก่รัฐบาลกลางหรือหน่วยงานประกันสังคมที่จัดต้ังขน้ึ ตามกฎหมายมหาชน และ (3) ภาษปี ระเภทอน่ื ๆ เว้นแตอ่ ากรศลุ กากร ซ่งึ จัดเก็บในนามของรัฐภาคี ดังน้ี (ก) ภาษีจากกองมรดก ภาษีมรดก หรอื ภาษีการให้ (ข) ภาษจี ากอสังหาริมทรัพย์ (ค) ภาษีจากการบริโภคทวั่ ไป เช่น ภาษมี ูลค่าเพ่มิ หรือภาษีการขาย (ง) ภาษีจากการบรโิ ภคสินคา้ หรือบริการเฉพาะอย่าง เช่น ภาษสี รรพสามติ (จ) ภาษีจากการใช้หรอื เปน็ เจา้ ของยานยนต์ (ฉ) ภาษีจากการใชห้ รือเป็นเจ้าของสงั หาริมทรัพย์อน่ื นอกเหนอื จากยานยนต์ (ช) ภาษีอนื่ ๆ (4) ประเภทของภาษีที่ได้อ้างถึงในอนุวรรค ข (3) ข้างต้น ที่ได้จัดเก็บในนามหน่วยงานย่อย ของรฐั หรือหน่วยงานสว่ นทอ้ งถิน่ ของรฐั ภาคี ตามบทบัญญัติข้อ ๓๐ วรรค ๑ ข. ประเทศไทยตง้ั ขอ้ สงวนไมใ่ หค้ วามชว่ ยเหลอื ในการติดตามจดั เกบ็ ภาษคี า้ ง ชาระ หรือการตดิ ตามจัดเก็บค่าปรบั ทเี่ กย่ี วข้อง สาหรบั ประเภทภาษีทุกรายการตามทีก่ าหนดในบทบญั ญัติข้อ ๒ วรรค ๑ ตามบทบัญญัตขิ ้อ ๓๐ วรรค ๑ ค. ประเทศไทยตงั้ ข้อสงวนไมใ่ ห้ความชว่ ยเหลือเกยี่ วกับภาษคี า้ งชาระที่มีอยู่ ณ วนั ท่ีเพกิ ถอนการสงวนสิทธิ์ตามบทบัญญตั ิขอ้ ๓๐ วรรค ๑ ก. และ ข. ข้างตน้ สาหรับประเภทภาษีทเ่ี กี่ยวข้อง ตามบทบัญญัติข้อ ๓๐ วรรค ๑ ง. ประเทศไทยต้งั ข้อสงวนไมใ่ ห้ความชว่ ยเหลือในการบริการจัดหาเอกสาร สาหรับประเภทภาษที ุกรายการตามทีก่ าหนดในบทบัญญัติข้อ ๒ วรรค ๑ ตามบทบญั ญัตขิ ้อ ๓๐ วรรค ๑ ฉ. ประเทศไทยต้งั ข้อสงวนในการใช้บังคบั ข้อ ๒๘ วรรค ๓ เฉพาะการให้ ความชว่ ยเหลือทางดา้ นภาษีทเี่ กย่ี วข้องกบั ปีภาษที ่ีเร่มิ ต้นในหรือหลังวันท่ี ๑ มกราคมของสามปีกอ่ นหน้า ที่ความตกลงฯ ฉบับแก้ไขเพิ่มเติมโดยพิธีสาร พ.ศ. ๒๕๕๓ (ค.ศ. ๒๐๑๐) มีผลใชบ้ งั คบั สาหรบั แต่ละรฐั ภาคี หรอื ในกรณีที่ไมม่ ีรอบปีภาษี เฉพาะการให้ความชว่ ยเหลือทางด้านภาษที ่ีเกี่ยวข้องกับข้อกล่าวหาทางภาษี ที่เกิดข้นึ ในหรอื หลงั วนั ท่ี ๑ มกราคมของสามปีก่อนหน้าท่ีความตกลงฯ ฉบับแกไ้ ขเพิ่มเติมโดยพิธีสาร พ.ศ. ๒๕๕๓ (ค.ศ. ๒๐๑๐) มผี ลใชบ้ ังคบั สาหรบั แต่ละรฐั ภาคี


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook