Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore บทที่ 4 บรรยากาศภาค

บทที่ 4 บรรยากาศภาค

Description: บทที่ 4 บรรยากาศภาค

Search

Read the Text Version

ความชืน' ของอากาศในวันหน2ึงๆ จะเปล2ียนแปลงโดย มีความชืน' ของอากาศสูงในเวลากลางคืนและตอนเช้า เพราะอุณหภมู ขิ องอากาศต2าํ จงึ รับไอนํา' ในอากาศได้น้อย ส่วนในตอนกลางวันอุณหภมู ขิ องอากาศสูงขนึ' จงึ รับ ไอนํา' ได้อีกมาก ถ้าอากาศมีไอนํา' มากอากาศบริเวณนัน' กจ็ ะมีความชืน' มาก การวัดความชื+นอากาศ โดยทว3ั ไปมี 7 วธิ ี O.ความชืน' สัมบรู ณ์ R.ความชืน' สัมพทั ธ์

!.ความชืน) สัมบรู ณ์ หมายถงึ การบอกมวลของ ไอนํา) ท@มี ีอยู่ในบรรยากาศ ! หน่วยปริมาตร ในขณะใดขณะหน@ึง มีหน่วยเป็ น g/m3 ความชืน) = มวลของไอนํา) ในอากาศ สัมบรู ณ์ ปริมาตรของอากาศ

ตวั อย่าง ห้องๆ หน/ึงมีปริมาตร 56 ลบ.ม. มีไอนํา< อยู่ 5>6 กรัม ความชืน< สัมบรู ณ์ของ อากาศขณะนัน< มีค่าเท่าใด? วธิ ีคดิ = มวลของไอนํา< ในอากาศ ความชืน< สัมบรู ณ์ ปริมาตรของอากาศ แทนค่า 150 g = 15 g/ m3 ความชืน< สัมบรู ณ์ = 10 m3

!.ความชืน) สัมพทั ธ์ คือ ปริมาณเปรียบเทยี บระหว่าง มวลของไอนํา) ทCมี ีอยู่จริงในขณะใดขณะหนCึงกับมวล ของไอนํา) เมCืออากาศอCมิ ตวั ด้วยไอนํา) ทCอี ุณหภมู แิ ละ ปริมาตรเดยี วกัน โดยคดิ เป็ นร้อยละ ความชืน) = มวลของไอนํา) ทCมี ีอยู่จริง x100 สัมพทั ธ์ มวลของไอนํา) เมCืออากาศอCมิ ตวั ด้วยไอนํา) ทCอี ุณหภมู แิ ละปริมาตร เดยี วกัน

ตวั อย่าง ท+อี ุณหภมู ิ 450C อากาศสามารถรับไอนําA ได้ 140 g/m3 แต่ในขณะนันA ในอากาศมีไอนําA กระจายอยู่ 100 g/m3 ความชืนA สัมพทั ธ์ ณ อุณหภมู นิ ีมA ีค่าเท่าใด วธิ ีคดิ ความชืนA =มวมลวขลอขงอไองไนอําAนใํานA ใอนาอกาากศาทศ+มี อีอ+มิ ยตู่จวั ริง x 100 สัมพทั ธ์ แทนค่า ความชืนA สัมพทั ธ์ = 114000 gg x 100 ความชืนA สัมพทั ธ์ = 71.43 %

?

การวัดความชืน+ สัมพทั ธ์นิยมใช้ เคร8ืองมือท8เี รียกว่า ไฮกรอมเิ ตอร์

แบบท%ใี ช้ท%วั ไปประกอบด้วยเทอร์มอมเิ ตอร์ แบบกระเปาะเปี ยกและกระเปาะแห้ง มีช%ือเฉพาะว่า ไซโครมเิ ตอร์ (Dry-Wet Bulbs psychrometer)

อุณหภมู จิ ะต-าํ สุดในช่วงเช้ามืด เม-ือบรรยากาศ มีอุณหภมู ติ -าํ จะรับไอนําC ได้ปริมาณน้อย มวล ของไอนําC เม-ืออากาศอ-มิ ตวั ด้วยไอนําC จงึ มีค่า น้อย ดงั นันC ความชืนC สัมพทั ธ์จะมีค่าสูงสุด ตอนบ่ายอุณหภมู ขิ องอากาศสูง ทาํ ให้ บรรยากาศรับปริมาณไอนําC ได้มาก ค่าความชืนC สัมพทั ธ์ของอากาศกจ็ ะมีค่าต-าํ กว่าเช้ามืด

การวัดค่าความ ชืน- สัมพทั ธ์ อุณหภมู ติ ุ้มแห้ง(Dry) อุณหภมู ติ ุ้มปี ยก(Wet)

ตวั อย่าง ถ้าอุณหภมู กิ ระเปาะแห้งอ่านได้ 34 0C และอุณหภมู กิ ระเปาะเปี ยก อ่านได้ 29 0C ค่าความชืนG สัมพทั ธ์ จะเป็ นเท่าใด?

ุอณหภูมิกระเปาะแ ้หง(0C) ตารางหาค่าความชืน, สัมพทั ธ์ ผลต่างของอุณหภมู ขิ องเทอร์มอมเิ ตอร์ กระเปาะแห้งและกระเปาะเปี ยก(0C) 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 28 93 85 78 72 65 59 53 48 42 37 32 30 93 86 79 73 67 61 55 50 44 39 35 32 93 86 80 74 68 62 57 51 46 41 37 34 93 87 81 75 69 63 58 53 48 43 39

การหาค่าความชืน+ สัมพัทธ์โดยใช้ ไซโครมิเตอร์ ใช้หลักการระเหย นํา+ จากกระเปาะเปี ยก ถ้านํา+ จาก กระเปาะเปี ยกระเหยมาก จะดึง ความร้อนจากกระเปาะเปี ยกมาก ทาํ ให้อุณหภูมิของกระเปาะเปี ยก ตMาํ กว่ากระเปาะแห้งมาก

แสดงว่าบรรยากาศสามารถรับไอ นํา4 ได้มาก ความชืน4 สัมพทั ธ์จะมีค่าตAาํ ถ้าอุณหภมู กิ ระเปาะเปี ยกไม่ตAาํ กว่ากระเปาะแห้ง แสดงว่านํา4 ระเหย น้อย ความชืน4 สัมพทั ธ์จะมีค่าสูง

ไฮกรอมเิ ตอร์เส้น ผมใช้การยืดและ หดของเส้นผมตาม ความชืน= อากาศ โดยเส้นผมจะต่อ กับกลไกทGจี ะแสดง เป็ นค่าความชืน= สัมพทั ธ์

เม$ือความชืน* สัมพทั ธ์ ในอากาศเพ$มิ ขนึ* เส้น ผมจะยืดตวั และเส้นผมจะหดตวั เม$ือความชืน* สัมพทั ธ์ ลดลง

ความชืน' สัมพทั ธ์ของอากาศส่งผล ต่อการระเหยของนํา' ในร่างกาย ถ้า อากาศร้อนร่างกายขับเหงCอื ออกทาง ผิวหนังและเหงCอื ระเหยเร็ว ถ้าเหงCอื แห้งเร็วแสดงว่าความชืน' สัมพทั ธ์ตCาํ แต่ถ้าความชืน' สัมพทั ธ์สูง เหงCอื จะระเหยช้า

อุณหภมู เิ ม+ืออากาศมีค่าความชืน4 สัมพทั ธ์ ร้อยละ 100 เรียกอุณหภมู นิ ีว4 ่า อุณหภมู จิ ุดนํา4 ค้าง ซ+งึ ไอนํา4 ในอากาศจะเร+ิมควบแน่น กลายเป็ นละอองนํา4 ขนาดเลก็

รูปแบบการกล*ันตวั (Condensation From) 1. เมฆ (Cloud) เป็ นรูปแบบการกล*ันตวั ของละอองไอนําK ในอากาศ ในระดบั ท*สี ูงจากพนืK โลกขนึK ไป เมฆท*เี กดิ มีสภาพเป็ นหยดนําK หรือ เกลด็ นําK แขง็ ขนาดเลก็ มาก เราแบ่งเมฆตามระดบั ความสูงได้ดงั นีK 1.1 เมฆชันK สูง (High Cloud) อยู่สูงจากระดบั พนืK ดนิ 6,000 - 12,000 เมตร เรียกอีกอย่างหน*ึงว่า เมฆตระกูล A (Family A) แบ่งออก ได้เป็ น 3 กลุ่มย่อย คือ - เมฆซีรัส (Cirrus) - เมฆซีโรสเตตสั (Cirrostratus) - เมฆซีโรควิ มูลัส (Cirrocumulus)

1.2 เมฆชัน* กลาง (Middle Cloud) ก่อตวั สูงจากพนื* ดนิ ระหว่าง 2,000 - 6,000 เมตร เรียกอีกอย่างว่า เมฆตระกูล B (Family B) แบ่งเป็ น ดงั นี* - เมฆอัลโตควิ มูลัส (Altocumulus) - เมฆอัลโตสเตตสั (Altostratus) 1.3 เมฆชัน* ต`าํ (Low Cloud) ก่อตวั สูงจากระดบั พนื* ดนิ 2,000 เมตร แบ่งเป็ น ดงั นี* - เมฆสเตตสั (Stratus) - เมฆนิมโบสเตตสั (Nimbostratus) 1.4 เมฆท`กี ่อตวั ในแนวตงั* เกดิ จากขบวนการพาความร้อนจากการเคล`ือนท`ขี อง กระ แสอากาศในแนวด`งิ (Convection) มีระดบั ความสูงจากพนื* ดนิ เทยี งเท่ากับ เมฆตระกูล A หรือเมฆชัน* สูง บางครัง* เรียกเมฆนีว* ่า เมฆตระกูล D (Family D) แบ่งออกเป็ น 2 ชนิด ได้แก่ - เมฆควิ มูลัส (Cumulus) - เมฆควิ มูโลนิมบสั (Cumulonimbus)

แสดงเมฆชนิดต่างๆ ตามระดบั ความสูง

รูปแบบการกล*ันตวั (Condensation From) 2. หมอก (Fog) หมายถงึ ละอองนําI ขนาดเลก็ ท*สี ามารถมองเหน็ ได้ด้วย ตาเปล่า ซ*งึ เกดิ จากการกล*ันตวั ของละอองไอนําI ในอากาศท*มี ีระดบั ใกล้กับ พนืI ดนิ มาก มีผลทาํ ให้ทศั นวสิ ัย หรือความสามารถในการมองเหน็ ต*าํ และ ถ้าหากอุณหภมู บิ ริเวณพนืI ผิวต*าํ ลงกว่าจุดเยือกแขง็ ละอองไอนําI ดงั กล่าวจะ กลายเป็ นผลกึ นําI แขง็ เรียกว่า หมอกนําI แขง็ (Ice Fog) สามารถแบ่งประเภท ของการเกดิ หมอกได้ ดงั นีI 2.1 หมอกไอนําI (Stream Fog 2.2 หมอกท*เี กดิ จากการพาความร้อน (Advection Fog) 2.3 หมอกท*เี กดิ จากการแผ่รังสีความร้อน (Radiation Fog) 2.4 หมอกควัน (Smog)

รูปแบบการกล=ันตวั (Condensation From) 3. นํา& ค้าง (Dew) หมายถงึ ปรากฏการณ์ท=เี กดิ จากไอนํา& ในอากาศเหนือ ผิวดนิ เยน็ ตวั ลง ทาํ ให้เกดิ การกล=ันตวั ของไอนํา& ในอากาศเป็ นหยดเลก็ ๆ เกาะอยู่บนยอดหญ้า พนื& ดนิ เน=ืองมาจากการคายความร้อนของผิวดนิ อย่าง รวดเร็วในเวลากลางคืน ประกอบกับอุณหภมู ลิ ดต=าํ ลง อากาศเยน็ จดั ทาํ ให้ อากาศผวิ ดนิ เยน็ ตวั ลงตามไปด้วย ไอนํา& จงึ กล=ันตวั กลายเป็ นหยดนํา& 4. ฟ้าหลัว (Smog) เป็ นปรากฏการณ์ท=เี กดิ เช่นเดยี วกับหมอกควัน แต่ ตามสภาพภมู อิ ากาศในแถบประเทศไทยจะก่อให้เกดิ สภาวะผสมกันระหว่าง กลุ่มหมอกควันกับหมอก มักเกดิ ในฤดรู ้อน เน=ืองจากท้องฟ้ามีฝ่ ุนละอองอยู่ เป็ นจาํ นวนมาก เม=ือฝ่ ุนละอองดงั กล่าวถกู จบั โดยไอนํา& ในอากาศจะกลาย เป็ นเมฆ ทาํ ให้แสงอาทติ ย์ส่องผ่านไม่สะดวก บรรยากาศมัว ท้องฟ้ามี ลักษณะเป็ นฝ้าโดยท=วั ไป มักเกดิ ในสภาพอากาศร้อนและแห้งแล้ง ความชืน& สัมพทั ธ์ในอากาศมีน้อยกว่าร้อยละ 65

หยาดนํา' ฟ้า (Precipitation) เกดิ จากกระบวนการกลAันตวั ของไอนํา' ในอากาศ และหยดนํา' มีขนาด ใหญ่และมีนํา' หนักมากอากาศไม่สามารถอุ้มไว้ได้ จงึ เป็ นทาํ ให้หยาดนํา' ฟ้า ตกลงมายังพนื' โลก แยกพจิ ารณาเป็ นดงั นี' 1. ฝน (Rain) เป็ นรูปแบบของหยาดนํา' ฟ้าทAมี ีขนาดใหญ่ตงั' แต่ 0.5 มลิ ลเิ มตร ขนึ' ไป แต่ถ้ามีขนาดเกนิ กว่าจะมีการแตกตวั ลงจนมีขนาด 0.025 มลิ ลเิ มตรกลาย เป็ นละอองฝนทAมี ีขนาดเลก็ ซAงึ สามารถลอยและปลวิ ตามกระแสลมได้ เรียกว่า \"ฝน ละออง \" (Drizzle) โดยปกตขิ นาดเฉลAียของเมด็ ฝนประมาณ 2 มลิ ลเิ มตร 2. ลูกเหบ็ (Hail) มีสถานะเป็ นของแขง็ มีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางตงั' แต่ 5 มม. มักเกดิ ในสภาพอากาศแปรปรวน ภายในก้อนเมฆพายุฝนฟ้าคะนองจะมีการพดั หอบเอาหยดนํา' หมุนวนเวียนภายในก้อนเมฆขนึ' -ลง ไปมา ประกอบกับอุณหภมู ทิ Aี ลดตAาํ ลงมาทาํ ให้เมด็ ฝนกลายเป็ นนํา' แขง็ เกาะพอกพนู กันเป็ นชัน' ๆหลายชัน' โครงสร้างคล้ายหวั หอมผ่าซีกจนมีนํา' หนักมากพอทAจี ะตกลงสู่พนื' ดนิ ในเวลาต่อมา

หยาดนําI ฟ้า (Precipitation) 3. หมิ ะ (Snow) เกดิ ในเขตอบอุ่นและเขตหนาว ลักษณะเป็ นผลกึ ละเอียด เป็ นปุย เกดิ จากไอนําI ในอากาศเปลKียนสถานะเป็ นผลกึ ในขณะทKอี ุณหภมู ลิ ดตKาํ ลง กว่าจุดเยือกแขง็ ลักษณะผลกึ หมิ ะมีรูปร่างต่างๆ มากมาย ได้แก่ ปริซKมึ สKีเหลKียม ห้าเหลKียม หมิ ะใช่ว่าจะปกคลุมพนืI ดนิ อย่างถาวรได้เฉพาะในพนืI ทKที Kมี ีอุณหภมู ติ Kาํ มาก ๆ เท่านันI ในเขตเส้นศูนย์สูตรซKงึ เป็ นเขตอากาศร้อน บางครังI เราสามารถพบ หมิ ะบนยอดเขาสูงได้ เช่น บริเวณยอดเขาดลี ีมานจาโร ทางด้านทศิ ตะวันออกของ ทวีปแอฟริกา เป็ นภเู ขาไฟทKมี ีจุดสูงสุด 19,337 เมตร จากระดบั นําI ทะเล โดยหลักวชิ าการเราเรียกจุดทKเี รKิมมีหมิ ะปกคลุมอย่างถาวรว่า \"เส้นขอบ หมิ ะ\" (Snow line) และเส้นขอบหมิ ะจะอยู่บนพนืI ทKสี ูงแค่ไหนนันI ขนึI อยู่กับ อุณหภมู ิ และปริมาณหมิ ะทKตี กลงมาในพนืI ทKนี ันI ถ้าเป็ นบริเวณขัวI โลกเหนือ และ ขัวI โลกใต้ เส้นขอบหมิ ะจะอยู่ในระดบั พนืI ดนิ ถ้าเป็ นเขตเส้นรุ้งทKี 40 องศา เส้น ขอบหมิ ะจะอยู่สูงจากระดบั พนืI ดนิ ประมาณ 2,600 - 5,250 เมตร ทงัI นีขI นึI อยู่กับ สภาพอากาศในแต่ละพนืI ทKี แต่ถ้าเป็ นเขตศูนย์สูตร เส้นขอบหมิ ะจะอยู่สูงกว่า ระดบั 5,250 เมตร เหนือพนืI ดนิ เลก็ น้อย

แสดงลักษณะเมด็ ฝนท2ตี กลงมา แสดงลักษณะรูปร่างผลกึ หมิ ะ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook