Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ป่าชายเลน

ป่าชายเลน

Published by MeCotton Faii, 2020-01-12 01:50:35

Description: ป่าชายเลน

Search

Read the Text Version

สัตว์ในป่าชายเลน ปา่ ชายเลนเปน็ แหล่งที่อุดมไปดว้ ยสตั ว์นา้ และ สตั วบ์ กนานาชนดิ นับตงั แต่สตั วไ์ มม่ ีกระดูกสนั หลงั ชันต่า้ ตังแต่ ฟองน้า ซเี ลนเตอเรท หนอนตัวแบน หนอนปล้องหอย หมกึ ก้งุ กัง ปู ตลอดจนสตั วม์ กี ระดูกสนั หลังจา้ พวก ปลา สตั ว์เลอื ยคลาน นก และ สัตวเ์ ลียงลกู ด้วยนม สัตว์ตา่ งๆ เหล่านี สว่ นใหญ่มีความส้าคญั ทางเศรษฐกจิ และมี ความสา้ คัญต่อ ระบบนิเวศทะเล เป็นอย่างยิ่ง v

สัตว์ที่อาศยั ในปา่ ชายเลน แม่เพรยี ง (Polychaete Worm) หนอนปลอ้ งทอี่ าศยั อยตู่ ามพนื ปา่ ชาย เลนมีระยางค์เปน็ ค่ชู ว่ ยในการวายน้า ในชว่ งฤดหู นาวทีน่ า้ ทะเลขึนสูง แม่ เพรียงจะว่ายนา้ ออกมาท่ผี ิวทะเลเพือ่ ผสมพนั ธ์ุ โดยตัวผู้และตัวเมยี ปลอ่ ย เซลล์สบื พันธ์จุ า้ นวนมากออกไปผสมกนั ในนา้ ทะเลไดต้ ัวอ่อนทดี่ ้ารงชีวติ เปน็ แพลงค์ตอนช่วั คราว ส่วนพ่อแม่พนั ธุม์ ัก ถูกปลาทะเลจับกนิ เปน็ อาหาร หนอนริบบ้ิน (Ribbon worm) ลา้ ตวั แบนเรียวยาวคลา้ ยคลึงกับ หนอนตัวแบน รา่ งกายไม่มีปลอ้ ง มี ทอ่ ทางเดนิ อาหารครบจากปากสู่ ทวารหนกั และมงี วงทยี่ ดื หดได้ทาง ดา้ นหนา้ ลา้ ตัวสีแดงเพราะมรี ะบบ หมุนเวียนโลหิตฝังตัวอาศัยอยใู่ นดนิ โคลนบรเิ วณปา่ ชายเลน

ปเู ปย้ี วกา้ มขาว (Uca perplexa) บริเวณชายหาดโคลนปนทราย ริมป่า ชายเลน จะเปน็ ทอี่ ยู่อาศยั ของปูเป้ยี ว หรอื ปกู า้ มดาบ ซง่ึ มีก้ามข้างหน่ึงขนาด ใหญใ่ ชโ้ บกพดั แสดงความเปน็ เจ้าของ อาณาเขตของตน ตามปกติปูก้ามดาบ จะขดุ รู และออกมาจากรูหาอาหาร ช่วงเวลาน้าลง และฝงั ตวั อยู่ในรูเมื่อนา้ ทะเลขนึ ปูเปี้ยวปากคบี (Uca forcipata) ปู กา้ มดาบอกี ชนิดหน่งึ มีกระดองสดี ้า ก้ามสีนา้ ตาลอมมว่ ง ชอบอาศัยอยู่ ตามพืนทเี่ ปน็ ดนิ โคลน แยกจากกล่มุ ของปูเปยี้ วก้ามขาว ทงั นเี ปน็ การลด การแกง่ แยง่ แข่งขนั ระหว่างปปู ระเภท เดยี วกนั ปูเปยี้ วขาแดง (Uca tetragonon) ปู ก้ามดาบชนิดทีม่ กี ระดองสฟี า้ แตม้ ดว้ ยจดุ ดา้ ตรงมมุ กระดองมีสีเหลอื ง ขาเดินมสี ีสม้ แดง ตัวเมียมีกา้ มขนาดเล็กทงั สองขา้ ง เชน่ เดยี วกับปกู า้ มดาบท่ัวไป พบอาศยั อยู่ ตามหาดโคลนใกล้แนวปา่ ชายเลนทางฝั่ง ทะเลอนั ดามนั

ปูแสมกา้ มแดง (Chiromanthes eumolpe) ปูแสมขนาดกลาง กระดอง กว้างประมาณ 2.5 เซนติเมตร เปน็ รูป สเี่ หลยี่ ม ก้ามสแี ดงขดุ รอู าศัยอยตู่ ามพนื ป่าชายเลนหรือริมคนั นาน้าเคม็ กินเศษ อนิ ทรีย์ตา่ งๆ เปน็ อาหาร พบชกุ ชมุ และมี การแพร่กระจายทัว่ ไป ปูแสม หรือปเู ค็ม (Sesarma mederi) กระดองเปน็ รปู ส่เี หล่ยี ม ปก คลมุ ด้วยขนสนั กา้ มขนาดใหญแ่ ข็งแรง สีบานเย็นอมม่วง ขดุ รูอาศยั อยู่ตามพนื ป่าชายเลนท่ีเปน็ ดนิ โคลน กนิ เศษ อินทรยี แ์ ละใบไมท้ ี่เนา่ เปื่อยเปน็ อาหาร ปูชนดิ นเี องทถ่ี ูกจบั นา้ มาดอง เปน็ ปเู คม็ ปูก้ามดาบ หรอื ปเู ป้ยี ว (Fiddler crabs, Ghost crabs) เป็นปูทะเล ขนาดเล็ก มีลกั ษณะกระดองเปน็ รปู สเ่ี หลี่ยมคางหมู ก้านตายาว กระดองมี สสี นั สวยงาม เชน่ สแี ดง สฟี ้า สเี หลอื ง สเี ทาอมด้า โดยเฉาะตวั ผจู้ ะมกี า้ มข้าง หนึ่งใหญม่ าก มักขุดรูอาศยั อยตู่ าม หาดโคลนรมิ แนวป่าชายเลน

กงุ้ เคย (Acetes) ครสั เตเชยี นขนาด เลก็ รปู ร่างคลา้ ยกงุ้ แต่ด้ารงชวี ิตอยู่ ใกลผ้ วิ ทะเลโดยไม่จมลงคลานตามพนื อยา่ งก้งุ ท่ัวไป ขนาดยาวประมาณ 1.5 เซนติเมตร เปลอื กบางและนม่ิ อาศัย อยูร่ วมกนั เป็นฝงู ตามชายทะเลและล้า คลองบรเิ วณป่าชายเลน ปกู ุ้งกลุ าดา (Penaeus monodon) ก้งุ ทะเลขนาดคอ่ นขา้ งใหญ่ ความยาว ลา้ ตวั ประมาณ 20 เซนติเมตร ลา้ ตวั สี นา้ เงินอมมว่ งเขม้ และมลี ายขวางเป็น ปล้อง อาศัยอยู่ตามพืนทะเลริมชายฝั่ง และป่าชายเลนปจั จบุ นั มีการท้าฟาร์ม เพาะเลียงกนั อย่างแพรห่ ลาย กุ้งแชบว๊ ย (Penaeus merguiensis) กุ้งทะเลขนาด ค่อนขา้ งใหญ่ใกลเ้ คยี งกับกงุ้ กลุ าดา้ เปลอื กหุ้มตวั มสี ีเหลอื งนวลบนกรีมีฟนั 5-8 ซี่ ด้านล่างมี 2-5 ซี่ อาศัยอย่ตู าม พืนทะเลทเ่ี ป็นดินโคลนริมชายฝง่ั และ ล้าคลองในป่าชายเลน

แม่หอบ (Thallassina anomula) แม่ หอบเป็นครสั เตเช่ยี นลกั ษณะคลา้ ยคลงึ กับ กุ้งแต่ส่วนทอ้ งมขี นาดใหญ่ และสามารถ อาศัยอย่บู นบกไดน้ าน ลา้ ตัวเรียวยาว ขา เดนิ คแู่ รกเปน็ กา้ มหนีบ สว่ นท้องแบ่ง ออกเป็นปล้อง แม่หอบขดุ รูอาศัยอย่ตู าม พนื ป่าชายเลนโดยขนดนิ ขนึ มากองทบั ถม กนั เปน็ เนินสงู และอาศยั อยู่ดา้ นใต้กองดิน นนั พบเฉพาะปา่ ชายเลนทางภาคใต้ แมงดาถว้ ย (Carcinoscorpius rotundicauda) สตั ว์มีขาเปน็ ข้อปล้อง ท่ีอาศยั อยใู่ นทะเล ส่วนหัวเชื่อมรวมกบั อกเปน็ รปู เกือกม้า สว่ นท้องมีหนาม บริเวณขอบข้างละ 6 คู่ หางค่อนข้าง กลมและไม่มีหนาม อาศัยอย่ตู ามพนื ทะเลทเ่ี ปน็ ดนิ โคลน วางไขต่ ามรมิ ตล่งิ บริเวณปา่ ชายเลน แมงดาชนิดนีบางตัว อาจะเป็นพิษจงึ ควรระมดั ระวงั ในการ รับประทานไขแ่ มงดาหางกลมโดยเฉพาะ ชว่ งเดอื น ธนั วาคม - มีนาคม หอยข้ีนก (Cerithidea) หอยกาบเด่ียว ขนาดยาวประมาณ 4 เซนตเิ มตร เปลือก เวียนเปน็ เกลยี วรปู เจดีย์ พบเกาะอยตู่ าม รากต้นโกงกาง หรือคลานอยตู่ ามพนื ปา่ เม่ือหอยเหล่านีตายลงเปลือกจะเป็นท่อี ยู่ อาศยั ของลกู ปูเสฉวนขนาดเล็ก

เพรยี งหนิ (Rock Barnacle) เป็นสัตว์ หอยนางรม หรอื หอยอรี ม (Oyster) จา้ พวกเดยี วกบั กุง้ และปู มกี ารปรบั ตวั เปน็ หอยทะเลกาบสอง 2 ฝา มีกาบหนา เปลยี่ นแปลงไปจากพวกกุ้งมาก โดยสรา้ ง แขง็ ซง่ึ ฝาทงั สองมขี นาดไมเ่ ท่ากนั บาง เปลือกหนิ ปนู ออกมาชว่ ยยึดตดิ อยูก่ บั ท่ี ชนิดมีสีนา้ ตาล หรือสเี ทา กาบบนจะ และห่อหมุ้ รา่ งกายเอาไว้ ท้าให้สามารถ ใหญ่และแบนกวา่ กาบล่าง สว่ นกาบลา่ ง อาศยั อยู่บนบกไดเ้ ปน็ เวลานาน เพรยี ง ที่มลี ักษณะโค้งเวา้ นี จะเปน็ ส่วนทม่ี ตี ัว หินอาศยั อย่ตู ามโขดหิน เสาสะพาน เปน็ หอยติดอยู่ ดา้ นท่ีมีเนือฝงั อยจู่ ะเวา้ ลึกลง ตน้ หรอื อาจพบเกาะอยบู่ นสัตวม์ ีเปลือก ไปคล้ายรปู ถ้วย หรือจาน และยดึ ตดิ กับ วัตถุ ส่วนฝาปดิ อกี ด้านหน่งึ แบนบาง หอยแมลงภู่ (mussles) สขี องเปลอื ก เปล่ยี นไปตามสภาพการอยอู่ าศัย คือ ถ้าอยใู่ ตน้ ้าตลอดเวลามสี ีเขยี วอมดา้ ถา้ อยูบ่ ริเวณนา้ ขนึ นา้ ลง ถกู แดดบ้าง เปลอื กจะออกเหลอื ง เปลอื กด้านนอกมี สีเขียว สว่ นทา้ ยจะกวา้ งกว่าสว่ นหน้า เนือหอยมีสีเหลืองนวลหรือสีส้ม มี หนวดหรอื เส้นใยเหนยี วส้าหรบั เกาะ หลักเรียกวา่ เกสร หรอื ซัง

ปลาตีน (Boleophthalmus) ปลาที่ ปรบั ตวั ทางโครงสร้างและสรีระหลายอยา่ ง จนสามารถอาศัยอยูบ่ นบกได้เปน็ เวลานาน ปลาตีนมีอย่หู ลายชนิดและขนาดแตกต่าง กนั หัวขนาดใหญ่ ตาโตล้าตวั เรยี วเลก็ ลงไป ทางหาง ครบี อกแผข่ ยายใหญ่ใชค้ ลานขณะ อยบู่ นบกไดด้ ี ปลาตีนกินก้งุ ปู และหนอน ตามหาดโคลนเป็นอาหาร ปลานวลจนั ทรท์ ะเล (Chanos chanos) ปลาทะเลทสี่ ามารถอาศัยอยู่ ในนา้ กรอ่ ยได้ ล้าตวั แบนดา้ นข้างเรียว ยาว เกลด็ สีเงนิ เม่ือโตเตม็ ทมี่ ีความยาว ถงึ 1 เมตร ครีบหางคอ่ นขา้ งใหญ่ มกั อยู่ รวมกันเป็นฝงู หากินใกลช้ ายฝงั่ ทเี่ ป็นดนิ โคลน มกั พบอยูต่ ามลา้ คลองในป่าชาย เลนทว่ั ไป ปลากะพงขาว (Lates calcarifer) ปลากะพงขนาดคอ่ นข้างใหญ่ เมือ่ โต เต็มท่ีมีความยาวถงึ 1 เมตร เกล็ดล้าตวั เปน็ สีเงิน ส่วนหวั เล็กงอนลงเล็กนอ้ ย อาศัยอยตู่ ามลา้ คลองในป่าชายเลนและ รมิ ฝั่งทะเลท่วั ไป นับเปน็ ปลาเศรษฐกจิ ท่ี ส้าคัญ ปัจจุบันมกี ารเพาะเลียงกนั อย่าง แพรห่ ลาย

ปลาขา้ งตะเภา (Therapon jarbua) ปลาขนาดยาวประมาณ 15 เซนติเมตร ล้าตวั สีเงินคาดดว้ ยแถบสี ด้าตามความยาวปลาชนดิ นีเปน็ ปลาท่ี สามารถอาศัยอยทู่ งั ในนา้ ค่อนข้างจดื น้ากร่อยและนา้ เคม็ กินอาหารไมเ่ ลือก มกั อาศัยอยู่ตามชายฝั่งท่ัวไปบรเิ วณ ปา่ ชายเลนและปากแมน่ ้า ปลาตะกรบั จดุ หรือปลากะทะ (Scatophagus argus) ลา้ ตวั แบน บางทางดา้ นข้างคล้ายปลาผเี สือปาก เล็ก ลา้ ตัวและครบี มีจุดสีนา้ ตาล กระจายทั่วไป มกั อาศัยอยู่รวมกันเป็น ฝงู โดยเฉพาะตวั ขนาดเล็กมักวา่ ยอยู่ ตามผิวน้า บริเวณล้าคลองของปา่ ชาย เลน ปลาอมไข่ (Apogon) ล้าตัวสนั มาก และแบนทางด้านขา้ ง ครีบหลังมี 2 อนั เดน่ ชัด ปากค่อนข้างกวา้ งและเฉียง ลงขนาดความยาวตวั ประมาณ 5 เซนติเมตร ครีบท้องอยูต่ รงตา้ แหน่งอก ชอบอาศยั อยรู่ วมกนั เป็นฝงู ริมชายฝ่งั ทะเลและล้าคลองในป่าชายเลน

ปลาเฉีย่ ว หรอื ผีเสอ้ื เงนิ (Monodactylus argenteus) ลา้ ตวั ป้อมสันเป็นรูปสีเ่ หลย่ี ม ครบี หลงั และ ครบี ทวารย่ืนยาว ผิวลา้ ตัวสเี งนิ เหลอื บ เป็นประกายครบี หลังสีเหลอื งมลี ายคาด ตามขวางผ่านตาและบริเวณขอบแผน่ ปดิ เหงือก มักพบบริเวณแหลง่ น้ากรอ่ ย ปาก แม่น้า และปา่ ชายเลน ปลาเหด็ โคน (Sillago maculata) ลา้ ตวั คอ่ นขา้ งกลมเรียวยาว ขนาด ประมาณ 15 เซนติเมตร ปากยาวแหลม เกล็ดห้มุ ลา้ ตัวสเี งนิ เป็นประกาย อาศัย อยู่รวมกันเปน็ ฝูง หาอาหารจา้ พวก หนอน หอย กุง้ ตามพืนทะเลทีเ่ ป็น โคลนริมชายฝ่งั และปากแม่น้า ปลาดอกหมาก (Gerres filamentosus) ปลาขนาดยาวประมาณ 12 เซนตเิ มตร ล้าตัวปอ้ มสนั เกล็ดหมุ้ ตวั สีเงินเปน็ ประกาย ก้านครบี หลังอันแรกเปน็ สายยาว มักอาศัย อย่เู ป็นฝงู ขนาดย่อมบรเิ วณปากแมน่ ้าและ ล้าคลองในปา่ ชายเลน

นกยาง (Egretta) นกยางเป็นนกทมี่ ขี า ยาว ปากยาวขนลา้ ตัวสว่ นใหญส่ ขี าว มี อยหู่ ลายชนดิ ที่พบเห็นได้ท่วั ไปไดแ้ ก่ นก ยางเปยี นกยางทะเล นกยางโทน นก เหล่านมี ักอาศัยอยูต่ ามป่าชายเลนหรือบงึ ใกลแ้ หล่งน้า กนิ กุ้ง ปู หอย ปลาเป็น อาหาร ทา้ รังอยู่บนตน้ ไม้ ด้วยกิ่งไมแ้ ห้ง นกแขวก (Nycticorax nycticorax) นกในวงศ์นกยางที่ขนบริเวณหลงั สเี ขียว บรเิ วณปกี สเี ทา ตวั ที่ยงั โตไม่เต็มวยั มีขน สนี า้ ตาลแต้มด้วยลายขดี สขี าว นก แขวกอาศยั อยู่ตามป่าชายเลนหรือ หนองบึง มกั ออกหากินในเวลากลางคนื ท้ารงั ด้วยก่งิ ไมแ้ หง้ สานกนั อย่างหยาบๆ นกกาน้า (Cormorant, Shag) เป็นนก ขนาดกลางถึงใหญ่ มลี ักษณะทัว่ ไปคลา้ ย อกี า กินปลาเป็นอาหาร สว่ นมากมขี นสี ด้า บางชนิดเปน็ ลายขาว-ด้า หรือสสี ัน สดใส อาศัยอยู่บรเิ วณปา่ ชายเลน, หนอง, บงึ , ทะเลสาบ และแหลง่ น้าอนื่ ๆ

ลิงแสม (Macaca irus) ลงิ แสมมชี ือ่ เรยี กตามพนั ธุ์ไม้ในปา่ ชายเลนคือ ตน้ แสม เพราะตามธรรมชาติของลิงชนดิ นี ชอบอาศัยอย่ตู ามป่าแสม-ป่าโกงกาง ขนลา้ ตัวมีสีนา้ ตาล หางยาว ชอบอยู่ รวมกนั เปน็ ฝูง เวลานา้ ทะเลลดลง ลิง เหล่านจี ะลงมาจับปูตามพนื ป่าเป็น อาหารปัจจุบนั เผา่ พันธุข์ องลงิ แสมได้ เขา้ มาครอบครองพืนท่ตี ามแหล่ง ท่องเทีย่ วเพราะไดร้ ับอาหารโดยไมต่ อ้ ง ดนิ รนต่อสตู้ ามธรรมชาติ พะยูน (Dugong dugon) เปน็ สัตวเ์ ลยี งลกู ด้วยนมที่อาศัยอยูใ่ นน้า รปู ร่างคล้ายปลาโลมาแตอ่ ว้ นปอ่ ง กว่าเลก็ น้อย ผวิ หนังเรยี บลนื่ สีเทา แตเ่ ม่อื แกจ่ ะเปลี่ยนเปน็ สแี ดงอิฐ และมีดา่ งขาว ขาหนา้ คลา้ ยใบพาย ใชส้ า้ หรับการช่วยบังคบั ทิศทางหรอื ใชเ้ ดินบนพืนทะเล ขาหลังลดรูปจน หายไปหมดเหลอื เพียงกระดูกชิน เลก็ ๆอยู่ภายในล้าตวั ส่วนท้ายเป็น ครบี สองแฉกวางแนวระนาบคล้าย หางโลมาใชโ้ บกขึนลงเพื่อการ เคลื่อนท่ไี ปข้างหนา้


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook