Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือพัฒนาทักษะสมอง EF ในเด็กวัย 13-18 ปี สำหรับพ่อแม่และครู

คู่มือพัฒนาทักษะสมอง EF ในเด็กวัย 13-18 ปี สำหรับพ่อแม่และครู

Published by Tantawan Mahawan, 2021-01-10 16:12:48

Description: คู่มือพัฒนาทักษะสมอง EF ในเด็กวัย 13-18 ปี สำหรับพ่อแม่และครู

Search

Read the Text Version

แผนท่ีเสนอต้องลงรายละเอียดในแต่ละสัปดาห์ ประมาณการใช้งบประมาณ เทา่ ไรแล้วขอเสนออนมุ ตั ิงบตอ่ ครู “กิจกรรมในคนื วันศุกร์ (Happy Friday)” ทางโรงเรยี นเปิดโอกาสใหเ้ ด็กๆ ได้มงี านเลย้ี งสังสรรคใ์ นเยน็ วนั ศกุ ร์เทอมละ 2 คร้งั โดยมีเงือ่ นไขวา่ เดก็ ๆ ตอ้ งเปน็ ผรู้ บั ผดิ ชอบการจดั งานเองทงั้ หมด ตงั้ แตก่ ารคดิ เมนู ซอื้ วตั ถดุ บิ และปรงุ อาหารเอง จดั กจิ กรรมดแู ลสถานที่ รวมทงั้ ทำ� ความสะอาดหลังงานเสรจ็ ท�ำให้เด็กได้มีโอกาส น�ำความรู้จากวิชากินเป็นอย่เู ป็น มาปรับใช้ ซ่งึ คุณครูร้สู ึกภมู ิใจมากทีง่ านปารต์ ้ที ุก คร้ังของนักเรียนอายุต้ังแต่ 12-18 ปี ของปัญญาประทีบเป็นงานปาร์ต้ีที่ “คลีน” ทสี่ ดุ งานหนง่ึ ในโลก นอกจากไมม่ แี อลกอฮอล์ นำ�้ อดั ลม เครอ่ื งดม่ื ทนี่ กั เรยี นคดิ สตู ร กันขนึ้ มาจากความรู้และการค�ำนวณอย่างพอเหมาะ ไมห่ วานเกินแต่อรอ่ ยอกี ด้วย ปาร์ต้ีแต่ละครงั้ นอกจากความภมู ใิ จของนกั เรียนยงั เป็นชว่ งเวลาแหง่ ความ“มนั ส์” ความสนกุ รว่ มกนั ของเดก็ และครทู ไ่ี ดเ้ ตน้ และทำ� อะไรทไี่ มไ่ ดท้ ำ� กนั ในยามปกติ เดก็ ๆ ไดร้ ูจ้ ักกบั ความสุขท่ียง่ั ยืนอยบู่ นทางสายกลาง ในช่วงสุดสัปดาห์ ทางโรงเรียนมักเชิญวิทยากรจากภายนอกเข้ามาจัดการ เรียนรเู้ พิม่ เตมิ เช่น เชญิ คุณเป๊ียก โปสเตอร์ ซ่งึ มบี า้ นอยู่ไมไ่ กลจากโรงเรยี นมาสอน ทำ� หนังสน้ั วาดรปู และท�ำผา้ คณุ เอกชยั วรรณแก้ว มนุษย์เพนกวิน จิตรกรไร้แขน มาสร้างแรงบนั ดาลใจ เปน็ ตน้ ส่วนวนั อาทิตยช์ ่วงเชา้ เปน็ ชว่ งท่ีใหน้ กั เรยี นใชไ้ ปกับ การท�ำงานจิตอาสา เช่น พาน้องไปวัด ไปท�ำกิจกรรมบริการคนในโรงพยาบาล ระหว่างรอหมอหรือท�ำกิจกรรมทบทวนตนเอง “ทอจิต” เจริญสติ สวดมนต์ นงั่ สมาธิหรอื ไปบ้านบญุ ฟงั พระอาจารย์ชยสาโร เทศน์ และมีเวลาว่างในตอนบา่ ย “เราใหท้ างเลอื กกบั วยั รุน่ เปน็ ทางเลือกทีเ่ ราวางไว้เรียบร้อยแลว้ ให้เขา ร้สู กึ มสี ่วนร่วมในการตัดสินใจ” อ. พัชนา มหพนั ธ์ 150

“เรยี นรโู้ ลกนอกกะลา” ในทกุ เทอมโรงเรยี นจดั เวลา 5 วนั ตดิ ตอ่ กนั ใหน้ กั เรยี น ไดอ้ อกไปรว่ มทำ� กจิ กรรมนอกโรงเรยี นทห่ี ลากหลาย เชน่ ไปชว่ ยโรงทานทว่ี ดั หนองปา่ พง ไปเดินปา่ ท่ีเขาเตา่ ด�ำ จังหวดั กาญจนบรุ ี ไปตงั้ แคมปใ์ นป่า ไปสรา้ งฝาย ไปดำ� นา “ระบบตอ่ เทยี น” สนบั สนนุ และสรา้ งโอกาสใหน้ กั เรยี นทกุ คนเขา้ มามสี ว่ นรว่ ม ในทุกเร่ืองของโรงเรียน ต้ังแต่การปรับระบบระเบียบของโรงเรียน การเข้าร่วม กจิ กรรมตา่ งๆ จงึ เปน็ เรอื่ งปกตทิ ใ่ี นงานโรงเรยี นมพี ธิ กี รนบั สบิ คน บางคนเปน็ พธิ กี ร ภาคภาษาไทย บางคนรับผิดชอบภาคภาษาอังกฤษ อีกคนเป็นพิธีกรช่วงเช้า อกี คนรบั ผดิ ชอบช่วงบ่าย บางคนรบั เปน็ back stage บางคนรับดแู ล front stage แตล่ ะคนไดร้ ับโอกาส เปิดใหม้ ีการอาสาท�ำในทุกเรื่อง “การฝึกปฏิบัติธรรม” ทางโรงเรียนสนับสนุนให้ครูและนักเรียนสวดมนต์ ท�ำสมาธิ มีการจัดคอร์สให้ครูปฏิบัติธรรมทุกปีต่อเนื่อง ส่งผลให้ครูที่เข้าถึงสภาวะ ปรบั เปลยี่ นพฤตกิ รรม ตามอารมณต์ นเองทนั ความสมั พนั ธก์ บั นกั เรยี นทร่ี บั ผดิ ชอบ ดขี ึน้ เป็นต้น 151

152

แนวทางการปฏบิ ัติท่พี ฒั นาทักษะสมอง EF ในโรงเรยี นปญั ญาประทีป แนวทางการปฏิบัติเพ่ือพัฒนาทักษะสมองส่วนหน้าท่ีชัดเจนท่ีสุดของโรงเรียน ปญั ญาประทปี คอื ตอบสนองความต้องการพนื้ ฐานของจิตใจ เด็กๆ รู้สึกว่า “โรงเรียนปัญญาประทีปรักเรา” เราถึงรักโรงเรียน เด็กๆ รู้สึกว่า ครูเอาใจใส่ ท่ีส�ำคัญคือรับฟังสิ่งที่เด็กคิดและเด็กๆ เป็น เด็กๆ รู้สึกปลอดภัยท่ีจะ คิดและพูดสิ่งที่อยู่ภายในจิตใจในวงกลมกัลยาณมิตร ได้ลองผิดลองถูก ขณะเดียวกัน มี “วิถีพุทธ” เป็นหลักยึดให้ฝึก “สติ” ให้สมองได้ทบทวนและฝึกทักษะสมอง EF ตลอดวา่ เพราะอะไรจงึ ทำ� สงิ่ นี้ เพราะอะไรจงึ อยากทำ� สง่ิ นนั้ ทำ� สงิ่ หนงึ่ สงิ่ ใดไปเพอ่ื อะไร พ่อแม่และครู การสร้างสัมพันธภาพที่ดีกับเด็ก (positive relation) สมั พันธภาพทดี่ ีท่คี รูสร้างกบั เด็กทำ� ใหเ้ กดิ ความผกู พนั (attachment) แน่นแฟ้น ครู เป็นเพื่อน เป็นพ่ีที่รัก ห่วงใย ไม่วางอ�ำนาจ นอกจากน้ีเด็กๆ ในโรงเรียนยังมาจาก ครอบครัวท่ีถือว่าการเรียนรู้ของลูกเป็นเรื่องส�ำคัญ เสียสละเพื่อลูก ความสัมพันธ์ แน่นแฟ้นท้ังจากโรงเรียนและครอบครัว ท�ำให้เด็กสัมผัสและรับรู้ว่ามีคนที่เสียสละ เพ่ือตนมาโดยตลอด สร้างฉันทะให้เด็กอยากเรียนรู้และพัฒนาตนเอง คือหัวใจของ การฝกึ ทักษะสมอง EF เขา้ ไปในชีวติ ประจ�ำวัน ใส่ “สัมมาทิฏฐิ” ใน working memory ผ่านชุดประสบการณ์ active learning ในวิชาชวี ติ วิชาการ วิชาชพี เนน้ ให้เหน็ “กฎแห่งกรรม” วา่ ผลเกดิ จากเหตุ ชวี ติ พฒั นาไดจ้ ากการพฒั นาตนเอง โรงเรยี นสรา้ งกระบวนการหลากหลายผา่ นหลกั สตู ร กระบวนการเรียนรู้และกิจกรรมไปทีละขั้นทีละตอน ท�ำให้ working memory เร่ืองสัมมาทิฏฐิแข็งแรง นักเรียนได้ฝึกตั้งเป้าหมาย ฝึกความเพียร (ซึ่งต้องใช้ ทกั ษะสมอง EF หลายดา้ น) ฝกึ กำ� กบั ตนเอง ได้รู้จกั ตนเอง เหน็ คณุ ค่าตนเองและผู้อืน่ 153

พัฒนาทักษะปฏิบัติเร่ืองมุ่งเป้าหมาย (goal-directed persis- tence) ตั้งแต่เร่ืองกินเป็นอยู่เป็น โตก่อนโต ไปจนถึง แกะสลักชีวิต เด็ก ทกุ คนรวู้ ่าตัวเองต้องตงั้ เป้าหมายทจ่ี ะไป บางคนอาจยังไมร่ ้ตู ัวว่าตนเองจะ เป็นอะไร แต่รู้ว่าต้องวางเป้าหมายไว้ และสามารถเปล่ียนเป้าหมายได้ หากวนั หนง่ึ พบวา่ ไม่ใช่ การต้ังเป้าหมายในอนาคตที่ชัดเจนท�ำให้เกิดกระบวนการ self- reflection ท�ำให้เด็กรู้ว่าตนเองก�ำลังท�ำอะไร เพ่ืออะไร พฤติกรรมต่างๆ ถูกขับเคลื่อนเพ่ือมุ่งสู่เป้าหมายที่ตั้งไว้ เด็กจึงมีการประเมินตนเอง (self-monitoring) ตลอดเวลา ท้ังการคิดวิเคราะห์และค้นหาศักยภาพ ตนเอง การที่ระบบการเรียนการสอนสนับสนุนให้เด็กได้รู้จักตนเองดี ค้นพบว่าตนเองมีความสามารถอะไร รู้ว่าตนเองมีคุณค่าในเร่ืองไหน ท�ำให้การต้ังเป้าหมายไม่ไกลเกินฝัน การได้เลือก ได้ทดลอง ได้ศึกษา ท�ำให้พัฒนาและมั่นใจในศักยภาพตนเอง โดยไม่ต้องไปเปรียบเทียบ กบั คนอ่นื 154

ใหค้ วามสำ� คญั กบั การกระทำ� มากกวา่ ผลลพั ธ์ เมอื่ ใหค้ วามสำ� คญั กบั การกระทำ� ทักษะก�ำกับตนเองเร่ืองจดจ่ออยู่กับปัจจุบันขณะ จึงได้รับการพัฒนาอย่างเข้มข้น การจัดการปัญหา คือการจัดการปัญหาใน “ปัจจุบัน” เท่านั้น ในทางพุทธศาสนา การออกจากปัจจุบันท�ำให้เกิดอคติ การเอาเร่ืองหรือปัญหาอดีตมาพูด อารมณ์ที่ เกิดข้ึนจะไปสกัดก้ันการท�ำงานของทักษะสมอง EF สมองจะท�ำงาน ตัดสินใจและ วางแผนดว้ ยอารมณ์ หลัก “อนิจจัง” ของพุทธศาสนาที่เด็กๆ จ�ำแม่นคือค�ำสอนของพระอาจารย์ ชยสาโรที่กล่าวเสมอว่า “ก้อนเมฆไม่ใช่ท้องฟ้า” อย่าเอาส่ิงที่ผ่านมาเป็นอารมณ์ ตณั หา กเิ ลส จะไม่อยู่กบั เราตลอดไป เชน่ ความเกยี จคร้าน (หรอื นสิ ัยไม่ดีอนื่ ๆ) กไ็ ม่ ไดอ้ ยกู่ บั เราไปตลอดกาล จะเคลอ่ื นไปเรอ่ื ยๆ เราจดั การไดห้ รอื ปอ้ งกนั ไมใ่ หเ้ กดิ ขนึ้ ได้ ด้วยการเริ่มท่ีสัมมาทิฏฐิ ให้รู้และแยกแยะได้ก่อนว่าส่ิงใดดี สิ่งใดไม่ดีและตัดสินที่ พฤติกรรมแต่ไม่ตัดสินหรือประทับตราที่ตัวบุคคล เช่น เราไม่ตีตราว่าเป็นอย่างนี้คือ คนโง่ เปน็ อย่างน้ีคือคนขี้เกยี จ แตจ่ ะบอกไดว้ า่ พฤตกิ รรมแบบนี้ เรยี กวา่ ไมฉ่ ลาดหรือ ขเี้ กยี จ เปน็ สงิ่ ทคี่ วรพฒั นา และทกุ คนในโรงเรยี นจะไดร้ บั โอกาสพฒั นาตนเองโดยไมม่ ี การปดิ กน้ั หรอื ตดั สนิ ความสามารถ ทกุ คนในโรงเรยี นจะคอยสนบั สนนุ และใหก้ ำ� ลงั ใจ กันเสมอ 155

ครูในโรงเรียนให้ความส�ำคัญกับการปลูกฝังลักษณะนิสัย (ทักษะสมอง EF) มากกว่าผลลพั ธ์ ส่ิงทค่ี ณะครบู อกเด็กๆ เสมอคือความรูท้ ไี่ ดไ้ ปเอาไปสอบไมน่ านก็ ลืม แตก่ ระบวนการระหวา่ งทาง ความขยันขันแข็งท่ีฝึกฝนตนเองจะมอี ายยุ ืนอยกู่ ับ เราไปท้ังชีวิต การแข่งขันกีฬาโรงเรียนไม่เคยพูดว่าต้องได้ท่ีหนึ่ง ได้เหรียญทอง แต่ให้ความส�ำคัญว่านักเรียนอดทนพากเพียรซ้อมแค่ไหน ทุกวันท่ีพากเพียรซ้อม มแี ตไ่ ดอ้ ย่างเดยี ว ไม่เสียอะไรเลย ทกุ คนไม่จ�ำเปน็ ตอ้ งได้ทีห่ น่งึ แตใ่ หท้ ุกคนเขา้ ถึง finish line ของว่ิงมาราธอน จะใช้เวลาช่ัวโมงคร่ึงหรือสี่สิบนาทีทุกคนก็เข้าถึงเส้น ชัยเชน่ กัน ทกุ คนมีสิทธิ “ชนะ” ไมม่ ีใครตอ้ งแพ้ ครขู องปญั ญาประทีปบม่ เพาะให้ นักเรียนช่ืนชมฉันทะของผู้อ่ืน ทุกคนอยู่ในสายตาของกันและกัน ทุกครั้งที่มีการ ประชุมกันให้มีการขอบคุณหรือช่ืนชมกัน ทุกคนจะมีความภูมิใจตนเอง ไม่มองคน อนื่ เป็นคูแ่ ขง่ กลายเปน็ ทมี เวริ ก์ ท่เี หนียวแนน่ ช่วยเหลอื เกือ้ กลู กันและกนั ม่ันคงในหลักคิดและเป้าหมายคือคุณธรรมชีวิต เอาชีวิต เป็นการศึกษา ศึกษาจากชีวิต การศึกษาคือการพัฒนาชีวิตและ มีกระบวนการแลกเปล่ียนเรียนรู้ระหว่างผู้บริหารกับคณะครู อย่างต่อเนื่อง (ทุกสัปดาห์) ผู้บริหารยืนหยัดอยู่กับแนวทางวิถีพุทธ และเป้าหมายของโรงเรียนไม่พยายามเป็นแบบที่คนอ่ืนเป็น แต่ท�ำ ในส่ิงที่เหมาะสม ถูกต้อง ดีงาม ช่ืนชมกับส่ิงดีงามและคุณค่า ที่ตนมี ท�ำงานให้ดีท่ีสุดตามอุดมคติ ต้นทุนและศักยภาพของทีม เลือกท�ำส่ิงที่ส�ำคัญคือดูแลเด็กแต่ละคน เอาใจใส่ เห็นคุณค่า อย่างแท้จริง ไม่ได้เน้นกระบวนการสอนที่พิเศษพิสดาร สิ่งท่ี โรงเรียนท�ำคือการส่งเสริมให้เด็กเห็นคุณค่าตนเอง รักดี สามารถ พฒั นาศกั ยภาพอยา่ งเตม็ ที่ ดำ� เนนิ ชวี ติ ดว้ ยสมั มาทฏิ ฐไิ ปสคู่ วามสำ� เรจ็ และความสุขตามท่ีตนตั้งเป้าหมายไว้ รักและมีความสุขที่จะเรียนรู้ และเป็นพลเมืองที่ดี เป็นคู่ชีวิตท่ีดี เป็นพ่อแม่ท่ีดีของเด็กท่ีจะเกิด ตามมาในอนาคต 156

สิ่งท่ีโรงเรียนมุ่งมั่นท�ำคือการสร้างวัยรุ่นที่ “รู้ตัว” รู้ว่าตนต้องการอะไร จะไปไหน จะไปอย่างไร และเมื่อมีปัญหาก็รู้ว่าตนเองก�ำลังเผชิญปัญหา หากแก้ด้วยตนเองไม่ได้ก็รู้ว่าตนเองก�ำลังต้องการความช่วยเหลือ ธรรมชาติของ วัยรุ่นเป็นวัยท่ียังไม่เข้าใจตนเอง วัยรุ่นต้องการการยอมรับ ต้องการคนเข้าใจ เมื่อพ่อแม่ไม่เข้าใจ โรงเรียนต้องกลายเป็นบ้านหลังที่สองของเด็กได้ เป็นทั้งพื้นท่ี แหง่ โอกาสและเปน็ พืน้ ท่ีแห่งการเรยี นร้คู วามจรงิ ของตนเองท้งั เรื่องดแี ละเรื่องไมด่ ี กล้ายอมรับความจริง กล้ายอมรับตนเอง เข้าใจตนเองและพยายามหาทางพัฒนา ตนเองให้ดีขึ้น แข่งกับตนเอง ท�ำให้ดีข้ึน ไม่แข่งกับคนอ่ืน การพัฒนาทักษะต่างๆ มุ่งตอบโจทย์และความต้องการของชีวิตวัยมัธยมแต่ละช่วงช้ัน และความต้องการ เฉพาะของเด็กแต่ละคนใหค้ น้ พบศกั ยภาพเฉพาะ และพฒั นาความสามารถในการ พง่ึ ตนเองตามวยั กระบวนการทำ� งานเปน็ ทีมท่เี ข้มแข็งของครู ครูจะเขา้ ใจเดก็ ไดค้ รตู ้องเขา้ ใจ ตนเองก่อน สรา้ งการเรยี นรแู้ บบมสี ว่ นรว่ มใหผ้ ปู้ กครองดว้ ยการทำ� “หอ้ งเรยี นพอ่ แม”่ ดว้ ยการตงั้ “คำ� ถาม” เชน่ เรอื่ ง “วนิ ยั เรอ่ื งใหญก่ วา่ ทคี่ ดิ ” เรม่ิ ตน้ ใหผ้ ปู้ กครองเขยี น พฤติกรรม/ความเคยชินที่ไม่ดีของลูกคืออะไร ต่อไปเขียนพฤติกรรมที่ไม่ดีของตน และพฤตกิ รรมที่ดขี องตน โดยกระบวนการเชน่ นโี้ รงเรยี นไม่ตอ้ งทำ� อะไรผปู้ กครอง ก็ทราบว่าพฤติกรรมที่ไม่ดีของลูกมาจากไหน และจะตระหนักรู้ว่าการพัฒนานิสัย ลูกใหด้ ขี ึ้นตอ้ งพัฒนานสิ ัยของพ่อแมก่ ่อน สื่อสารกันตลอดเวลา มีกระบวนการฝึกให้เด็กและครูส่ือสารกันอย่างสันติ ใช้ปิยวาจา ฝกึ เด็กใหพ้ ูดกันอยา่ งไรให้เพ่อื นเกิดแรงบนั ดาลใจพัฒนาตนเอง 157

“โรงเรียนนีม้ ีปัญหาอะไรก็ตาม ไมเ่ ปน็ ไร แก้ไขได้ เวลามปี ัญหาอะไร กต็ าม หนูรสู้ กึ วา่ หนคู ุยกับครไู ด้ทกุ เร่อื ง ครูจะฟงั และครูจะรีบแก้ไข พัฒนา” นกั เรยี นโรงเรยี นปัญญาประทีป สรา้ งสภาพแวดล้อมท่ีส่งเสริม EF (enrich environment) 1. บรรยากาศของความปลอดภยั ไวว้ างใจ การได้รับการยอมรบั เปน็ พน้ื ฐานที่ดีทีส่ ดุ 2. การเหน็ คุณ เหน็ โทษ มีเป้าหมายชีวิตระยะยาว 3. การสร้างแรงบันดาลใจ และให้เห็นความก้าวหน้าของตนเองเห็นว่าตนเองพัฒนา ดีขน้ึ อย่างไร ทำ� ให้เดก็ มีก�ำลงั ใจ \"ขบั เคลอ่ื นฉันทะ\" ต่อไปได้ 4. การใหโ้ อกาสไดฝ้ กึ ฝนทกั ษะจากประสบการณท์ ห่ี ลากหลาย โดยเฉพาะทกั ษะทางสงั คม เชน่ ต้ังวงแลกเปล่ียนเรยี นรู้จากทุกประสบการณ์ท่โี รงเรยี นอ�ำนวยใหเ้ กดิ ข้ึน 158

กระบวนการบม่ เพาะครเู พอ่ื ศิษย์ ในขั้นแรกโรงเรียนคัดกรองครูเข้ามาตั้งแต่การสัมภาษณ์เพ่ือตรวจสอบ ก่อนว่าเป็น \"น้�ำล้นแก้ว\" หรือไม่ คนที่ผ่านเข้ามาเป็นครูของปัญญาประทีป ตอ้ งเป็นคนท่ีพร้อมพัฒนาได้ พร้อมเรยี นรูต้ ลอดเวลา ตอ่ มาวถิ ชี วี ติ และวฒั นธรรมของโรงเรยี นจะเปน็ ตวั คดั กรองขนั้ ตอ่ ไป เชน่ ครตู อ้ งตน่ื เชา้ พรอ้ มเดก็ เพอื่ ไปดแู ลเดก็ วง่ิ สวดมนต์ ทำ� สมาธแิ ละกจิ กรรมตา่ งๆ มากมาย เม่อื มาท�ำงานจรงิ หากครคู นไหนรสู้ ึกไมใ่ ชก่ ็จะลาออกไป บคุ ลากรครใู นโรงเรยี นมคี วามแตกตา่ งหลากหลาย บางคนเปน็ คนในชว่ ง เบบี้บูม ส่วนหนึ่งเป็นคนยุคเจนเอ็กซ์ ส่วนมากเป็นเจนวาย สิ่งท่ีโรงเรียนให้ ความสำ� คญั เบอ้ื งตน้ คอื ครพู ยายามเขา้ ใจกนั และกนั การสนบั สนนุ ใหแ้ บง่ งาน ทำ� กันเปน็ ทีมให้ครูใหม่ประกบครทู ีม่ ีประสบการณ์ 159

6 กระบวนการจดั การเรียนรู้ และการเสริมสร้างทกั ษะสมอง EF ในเด็กวัย 13-18 ปี (กรณศี กึ ษา : โรงเรยี นล�ำปลายมาศพัฒนา) 160

161

162

163

โรงเรยี นลำ� ปลายมาศพฒั นาหรอื ทรี่ จู้ กั กนั ทวั่ ไปวา่ “โรงเรยี นนอกกะลา” เปน็ โรงเรยี น เอกชนทไ่ี มแ่ สวงหาผลกำ� ไรในสงั กดั สช. (สำ� นกั งานคณะกรรมการสง่ เสรมิ สถานศกึ ษา เอกชน) สำ� นกั งานเขตพนื้ ทก่ี ารศกึ ษาบรุ รี มั ยเ์ ขต 1 เปดิ สอนโดยไมเ่ กบ็ คา่ เลา่ เรยี นตงั้ แต่ ชั้นอนุบาลถึงช้ันมัธยมศึกษาตอนต้น รับนักเรียนด้วยวิธีการจับฉลาก มีนักเรียน ประมาณ 240 คน กอ่ ตั้งขน้ึ ในปี 2546 โดยมลู นธิ ิเจมส์คลารก์ มอบทุนคา่ ก่อสรา้ งและ ค่าด�ำเนินงานในช่วง 6 ปีแรกด้วยเจตนารมณ์ที่ต้องการสร้างต้นแบบการปฏิรูปการ ศึกษาในประเทศไทย ปัจจุบันโรงเรยี นหารายไดเ้ ล้ียงตัวเอง ปรัชญาของ “การศึกษาพัฒนา โรงเรียน ความเป็นมนุษย์ ที่สมบูรณ์” วิสัยทัศน์ “เป็นโรงเรียนท่ีผู้เรียนเรียนอย่างมีความสุข เต็ม ศักยภาพ เป็นคนดีและคนเก่ง สอดคล้องกับวิถีชีวิต 164 และกลมกลืนกับวิทยาการสมัยใหม่ สู่ความเป็น มนุษย์ท่ีสมบูรณ์พร้อมด้วยคุณธรรม ภูมิปัญญา และส�ำนึกในความเป็นพลเมืองดี”

โรงเรียน 1. ดูแลนักเรียน มีเป้าหมาย ในความรับผิดชอบ 2 ประการ ให้เป็นพลเมือง แบบใหม่ท่ีดี 2. ผลักดันให้เกิด การเปลี่ยนแปลงหรือ การปฏิรูปการศึกษา โดยเฉพาะกับ โรงเรียนรัฐบาล กระบวนการเรยี นรู้หลัก โรงเรียนจัดกระบวนการเรียนการสอนให้ผู้เรียนเกิดปัญญาจากการเรียนรู้ ทั้งสองด้านของชีวิตคือ “ปัญญาภายนอกและปัญญาภายใน” บนการศึกษา ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐานพทุ ธศกั ราช 2551 ดว้ ยการใชก้ ระบวนการ หลัก 2 กระบวนการในการจดั การเรียนการสอน ใกน2รกะากบรรวจะนัดบกกวาานรรกหเราลียรักน หPLพรr1eืoัอฒ.aปbนrกlัญenารmiคญะnบวgา-าวภ(มนBาPฉกยaBลานsาLรeอด)dก การสอน หพ2รัฒ.ือนปจกาิัตญรคะศญวบึกาาวษมภนาฉากยลาาใรนด 165

กระบวนการ Problem-Based Learning (PBL) พัฒนาความฉลาดหรือปัญญาภายนอก (ความเข้าใจต่อโลกและปรากฏการณ์) บู ร ณ า ก า ร ห น ่ ว ย ก า ร เรี ย น รู ้ จ า ก ป ั ญ ห า สู ่ ก า ร พั ฒ น า ป ั ญ ญ า ด ้ ว ย ค ว า ม เชื่ อ ว ่ า “ปัญหาท�ำให้เกิดการเรียนรู้” กระบวนการ PBL เริ่มจากการสรา้ งความเข้าใจปัญหา หาวิธีการหรือนวัตกรรมเข้าไปแก้ไขโดยใช้ความรู้หลากหลาย (multi knowledge) และทักษะหลากหลาย (multi skills) จนผู้เรียนเข้าถึงแก่นความรู้ของเนื้อหาชุดน้ัน และมีทักษะท่ีจ�ำเป็นส�ำหรับศตวรรษที่ 21 (21st century skills) คือมีทักษะการ เรียนรู้และการเรียนรู้ตลอดชีวิต ทักษะการสังเคราะห์ข้อมูล และการจัดการความรู้ ทักษะชีวิต ทักษะการท�ำงานร่วมกัน ฯลฯ มีจิตส�ำนึกต่อผู้อ่ืน วัฒนธรรมอื่นและ ตอ่ โลก กระบวนการจิตศึกษาพฒั นาความฉลาดหรอื ปัญญาภายใน เป็นการเรยี นร้แู ละงอกงามภายในจิตวญิ ญาณ (SQ) และความฉลาดทางอารมณ์ (EQ) คอื สามารถรบั รู้อารมณ์และความรสู้ ึกของตนเอง (ความรูต้ ัว) และผ้อู ่ืน เท่าทัน จัดการอารมณต์ นเองได้ อดทนท้ังร่างกายและจติ ใจ เหน็ คุณค่าตนเอง ผู้อืน่ และสรรพสง่ิ ยอมรับความแตกตา่ ง นอบน้อมต่อสรรพสง่ิ ท่ีเกื้อกูลกัน สามารถอยดู่ ้วยกันอยา่ งภราดรภาพ ดำ� เนินชีวิตอย่างมเี ป้าหมายและมีความหมาย รับผิดชอบต่อตนเองและสว่ นรวม มวี ินัย มีสมั มาสมาธิ ก�ำกบั ความเพยี รเพอ่ื เรียนรูแ้ ละทำ� งานจนลลุ ว่ งได้ มจี ิตใหญ่ มคี วามรกั เมตตา มหาศาล ลำ� ปลายมาศพฒั นามคี วามเชอื่ รว่ มกนั วา่ เครอ่ื งมอื เดยี วทที่ ำ� ใหม้ นษุ ยเ์ ปลยี่ นแปลง คอื การเรยี นรไู้ มใ่ ชก่ ารสอน การศกึ ษาตอ้ งไปไกลกวา่ การใหค้ วามรแู้ ละพาผเู้ รยี นไปพบ กบั อสิ ระทางกายทางใจและจิตวิญญาณเพอื่ ไปพบกับความหมายและสุขภาวะ 166

ผลสัมฤทธ์ิที่เกิดขึ้นจากกระบวนการเรียนการสอนดังกล่าว โรงเรียนผ่านเกณฑ์ “ดีมาก” 13 มาตรฐาน , เกณฑ์ดี 1 มาตรฐานจากส�ำนักงานรับรองมาตรฐานและ ประเมนิ คุณภาพการศกึ ษา (สมศ.) และผลการสอบเอน็ ที (National Test) มีคะแนน เฉลยี่ วชิ าภาษาไทย คณติ ศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ สูงกวา่ เกณฑเ์ ฉลีย่ ของท้งั ประเทศ เปลยี่ น Mindset จงึ เปล่ยี นทกุ อยา่ งได้ ก้อนหินก้อนโตท่ีตั้งอยู่หน้าโรงเรียนมีข้อความว่า “ไม่มีหินก้อนใดโง่” เพื่อเตือน สติครูและผู้ปกครองว่าผู้ที่ท�ำการศึกษามีหน้าที่ท�ำให้นักเรียนยกระดับตัวเองข้ึนมา ทกุ มิติ ไม่ใชใ่ ชก้ ารศึกษามาตัดสนิ ว่าใครเกง่ ใครโง่ กระบวนการเปลี่ยน mindset คือการส่ันสะเทือนและสร้างการเปล่ียนแปลง ถงึ รากถงึ โคน ลำ� ปลายมาศพฒั นาประกาศและด�ำเนินการเป็นโรงเรยี นท่ี “ไมม่ กี ารสอบ” “ไม่ใช้แบบเรียน” “ไม่มดี าวใหผ้ ู้เรียน” “ไม่จัดลำ� ดับความสามารถผูเ้ รยี น” “ไม่มีเสียงระฆัง” “ไมอ่ บรมหน้าเสาธง” “ครูสอนด้วยเสยี งเบาทส่ี ุด” “พ่อแมต่ อ้ งมาเรียนรกู้ บั ลูก” “ทุกคนเรยี นรู้อย่างมีความสขุ ” ด้วยการประกาศ “wording” ท่ีส�ำคัญดังกล่าว ท�ำให้โรงเรียนเปล่ียนระบบ การจดั การเรยี นรทู้ แ่ี ตกตา่ งจากโรงเรยี นทว่ั ไปอยา่ งสนิ้ เชงิ คณะครทู ำ� งานกนั อยา่ งหนกั การไม่ใช้แบบเรียนนั้นสั่นสะเทือนและเปล่ียนแปลงการท�ำงานทั้งหมด ครูมีอิสระ ไมถ่ กู ทำ� รา้ ยจากกลไกอนั ซบั ซอ้ นของแบบเรยี นทที่ ำ� ใหค้ รเู พยี งทำ� ตามกรอบ เมอื่ ยกเลกิ การสอบ ครูต้องมาท�ำความเข้าใจการประเมินตามสภาพความเป็นจริงอย่างจริงจัง เพอ่ื สนับสนนุ ใหเ้ ดก็ ทกุ คนรวู้ า่ ตนเองสามารถทำ� อะไรส�ำเร็จได้ 167

เมื่อไม่มีเสียงระฆังและเสียงดังของครู จึงไม่มีการควบคุมด้วยกฎระเบียบที่ แข็งกระด้างตายตัว โรงเรียนต้องสร้างวิถีและความรู้สึกรับผิดชอบ ก�ำกับตนเองให้ได้ ถึงเวลาแปดโมงเช้าทุกคนจะมาพร้อมกัน และบ่ายโมงจะไม่มีใครเล่นอยู่ท่ีสนาม โดยไม่รู้เวลาเข้าห้อง การสอนด้วยเสียงธรรมดาเป็นเร่ืองท่ียากท่ีสุดแต่เป็นหน้าท่ี ท่ีครทู ุกคนต้องท�ำ และโรงเรียนไดพ้ ฒั นาเครื่องมอื หลายอย่างให้ผูป้ กครองมาเรียนรรู้ ว่ มกันกับเด็ก ท้ังหมดนี้เพื่อให้ทุกคนได้เรียนรู้อย่างมีความสุข ซ่ึงความสุขของล�ำปลายมาศ พฒั นาหมายถงึ สภาวะ “ไหลลนื่ ” (flow) คำ� วา่ ความสขุ ไมไ่ ดม้ คี วามหมายเพยี งวา่ เรยี น สนุก (fun) แต่เป็นสภาวะความสุขท่ีเกิดจากการได้พบความสมดุลจากความท้าทาย และทกั ษะทมี่ อี ยู่ มฮิ าย ชกิ เซนมฮิ ายยี (Mihaly Csikszentmihalyi) หนงึ่ ในนกั จติ วทิ ยา ชื่อดังที่ท�ำงานในยุคบุกเบิกของจิตวิทยาเชิงบวก เรียกสภาวะนี้ว่า “ประสบการณ์ที่ พอเหมาะทส่ี ดุ ” เปน็ ชว่ งเวลาทรี่ สู้ กึ เปน็ อสิ ระ มสี มาธอิ นั แรงกลา้ จดจอ่ อยกู่ บั ปจั จบุ นั ที่อยูต่ รงหน้า สามารถควบคมุ ชะตาชวี ติ ของตนได้ ชิกเซนมิฮายยบี รรยายว่า ช่วงเวลา เช่นน้ีมักเกิดขึ้นเมื่อร่างกายหรือจิตใจคนเราท�ำงานหนักถึงจุดหนึ่งด้วยความเต็มใจ เพือ่ บรรลเุ ปา้ หมายท่ีค้มุ ค่าและทา้ ทาย ทฤษฎจี ติ วทิ ยาเชงิ บวก FLOW คอื ภาวะลน่ื ไหลซึง่ เป็นความสุขประเภททม่ี นษุ ย์ จะสุขแบบลืมเวลา เพลินเพราะได้ท�ำสิ่งท่ีท้าทายมากและก็มีทักษะมากพอที่จะท�ำ สง่ิ นน้ั ได้ เปน็ ภาวะทมี่ นษุ ยจ์ ะทำ� อะไรไดผ้ ลมาก และมคี วามสขุ มากทสี่ ดุ ภาวะ FLOW เกดิ ขน้ึ เมอ่ื มสี มดลุ ระหวา่ งทกั ษะและความทา้ ทาย ดใู นรปู (หนา้ ถดั ไป) จะเหน็ ชอ่ งวา่ ง ขาวตรงกลางที่พาดผา่ นจุด A1 และ A4 ที่เรียกว่า Flow Channel 168

FLOW ภาวะล่ืนไหล (High) Anxiety CFlhoawnnel กงั วล คดิ ไมต่ ก Challenges A3 A4 ลืน่ ไหล อทิ ธบิ าท 4 (Low)0 A1 Boredom พายเรือในอา่ ง A2 เบือ่ 0 (Low) Skills (High) Ref; http://www.toyoda-maki.jp/en/whatis-coaching พื้นท่ี A1 เป็นภาวะที่คนเหมือนหมดอาลัยตายอยาก เป็นสภาวะของคนที่ไม่มีอะไร ท้าทาย และไมต่ ้องใช้ทกั ษะอะไรในการด�ำเนนิ ชวี ติ แคห่ ายใจไปวนั ๆ พ้นื ที่ A2 เปน็ ช่วงทีค่ นรสู้ กึ เบื่อเพราะทกั ษะสูงแตค่ วามทา้ ทายต�ำ่ พื้นท่ี A3 เป็นช่วงที่คนเราจะรู้สึกตึงเครียดเพราะอยู่ในช่วงเจอความท้าทายสูง แตท่ กั ษะไมพ่ อตอ้ งฝึกทักษะเพิม่ หรอื ต้องหาเครอ่ื งมอื /คนมาชว่ ย ) (ดร.ภิญโญ รัตนาพันธุ์.https://cdn.gotoknow.org/assets/media/ files/001/093/296/original_one3.001.jpg กระบวนการ Problem - Based Learning (PBL) 169

Problem-Based Learning (PBL) กระบวนการเรียนรู้ที่โรงเรียนใช้พัฒนาความฉลาดภายนอก (ความเข้าใจต่อโลก และปรากฏการณ์) ให้กับนักเรียนคือ Problem- Based Learning (PBL) ที่เป็นท้ัง ปรัชญาการเรียนรู้และวิธีการเรียนรู้ที่มีฐานความเชื่อว่าเม่ือมนุษย์เผชิญปัญหาจะ พยายามหาทางออก จึงเกิดการเรียนรู้เพื่อพยายามหาทางแก้ปัญหาและในท่ีสุด จะค้นพบหนทางแกป้ ญั หา คน้ พบนวัตกรรมและไดท้ กั ษะใหม่ PBL เช่ือว่า “การเรียนรู้จะเกิดข้ึนเมื่อผู้เรียนได้สร้างความรู้ท่ีเป็นของตนเองขึ้นมาจาก ความรู้ท่ีมีอยู่เดิม หรือจากความรู้ที่รับเข้ามาใหม่ แนวคิคเช่นน้ีน�ำไปสู่การปรับเปล่ียน วิธีเรียนวิธีสอนแนวใหม่ ห้องเรียนในศตวรรษท่ี 21 ครูไม่ใช่ผู้จัดการทุกสิ่งทุกอย่าง ผู้เรียนต้องได้ลงมือปฏิบัติเอง สร้างความรู้ท่ีเกิดจากความเข้าใจของตนเอง และ มีส่วนร่วมในการเรียนมากขึ้น (active learning)” (ผศ.ดร.ไพศาล สุวรรณน้อย) โรงเรียนใช้โครงสร้างหลักสูตรแกนกลางของกระทรวงศึกษาธิการ แต่ไม่มีการใช้ แบบเรียนในการเรียนการสอน นักเรียนระดับช้ันมัธยม 1-3 สามารถเข้าไปค้นคว้า เนื้อหาท่ีเรียนในห้องสมุดขนาดใหญ่ที่โรงเรียนจัดไว้ให้ ส่วนนักเรียนระดับช้ันมัธยม 4-6 มคี อมพวิ เตอรบ์ ริการอีก 2 จดุ Problem-Based Learning (PBL) จึงเป็นการ จัดการเรียนรู้ท่ีท�ำให้เด็กได้เข้าไปค้นคว้าศึกษาข้อมูลความรู้ท้ังในส่วนปฐมภูมิ และทุติยภูมิ ด้วยการท�ำความเข้าใจและลงมือปฏิบัติ แล้วไปเปลี่ยนแปลงตนเอง จากด้านใน แต่ละหน่วยบูรณาการนักเรียนจะได้รับปัญหาให้คิดและท�ำทีละเรื่อง ต่อเนื่องกัน ระดับของปัญหามี 2 ระดับ ในระดับเด็กเล็ก เด็กไม่รู้ว่าเร่ืองอะไรคือ เร่ืองที่จะเป็นปัญหา เป็นหน้าที่ของครูต้องสร้างการเรียนรู้ให้เด็กเข้าใจว่า “อะไรคือ ปัญหา” เม่ือเด็กสามารถเข้าใจเรื่องน้ันๆ ถือว่าครูประสบความส�ำเร็จ ส่วนเด็กโต ความไม่สามารถแก้ปัญหา คือโจทย์ท่ีครูต้องจัดการเรียนรู้ให้เด็กเกิดความสามารถ ขนึ้ มา 170

ทุกคนเป็นเจา้ ของการเรียนรู้ หลักคิดส�ำคัญท่ีสุดของการจัดการเรียนรู้ของล�ำปลายมาศพัฒนาคือ ทุกคน ในโรงเรยี นตา่ งเปน็ เจา้ ของการเรยี นรขู้ องโรงเรยี น ครเู ปน็ เจา้ ของหลกั สตู ร เดก็ ไดเ้ รยี น ในสง่ิ ทต่ี นสนใจ ในเนอื้ หาการเรยี นการสอนทค่ี รอบคลมุ และบรรลมุ าตรฐานการศกึ ษา ของกระทรวงศึกษาธิการ วิธีการที่โรงเรียนด�ำเนินการคือก�ำหนดให้ครูเอาหลักสูตร ท้ังหมดมากางไลเ่ รยี งว่า เน้อื หาแบบนี้น่าจะออกแบบการเรียนและกจิ กรรมแบบไหน เปน็ แนวทางกอ่ นจะสรา้ งแรงบนั ดาลใจใหเ้ ดก็ เลอื ก เมอื่ เดก็ เลอื กไดอ้ ยา่ งอสิ ระโดยครู เข้าร่วมแลกเปลี่ยน ถ้าสิง่ ทเ่ี ด็กเลือกอยากเรียน อยากท�ำ ไมต่ รงกบั เพ่ือนคนไหนเลย หรือรวมกันยาก ครูก็จะพยายามหาช่องคลี่คลายหาทางออกให้ ในระดบั ชนั้ มธั ยม1 ถงึ มธั ยม3 ซง่ึ เปน็ นกั เรยี นทโ่ี ตแลว้ จะใชเ้ วลาเรยี นหนว่ ยหนง่ึ นาน 10 สปั ดาห์ ในสปั ดาห์แรกเปน็ เร่ืองของการสรา้ งเจตจำ� นง สร้างการ “ตื่น” เพื่อ เลือกเรื่องท่ีจะเรียน เม่ือเลือกแล้วนักเรียนแบ่งกลุ่มกันออกแบบกิจกรรมตลอด 10 สปั ดาหท์ จี่ ะเรียน แลว้ ออกมาน�ำเสนอ มาตกลงกันว่า แต่ละสปั ดาห์จะทำ� อะไรกนั บ้าง โดยครูจะน�ำส่ิงที่นักเรียนคิดมาปรับให้เข้ากับแผนท่ีครูวางไว้ ในช่วงเวลาเช่นนี้ ต้องใช้การอภิปรายแลกเปล่ียนความคิดเห็นกันอย่างมาก และเวลาช่วงหลังจากนี้ไป จะเปน็ การเรยี น พดู คยุ ทำ� กจิ กรรม ถกอภปิ รายในเรอ่ื งทเ่ี รยี นนนั้ อยา่ งเตม็ ที่ จนกระทง่ั ถึงสัปดาห์ท้ายๆ นักเรียนต้องสรุปองค์ความรู้ทั้งเป็นรายบุคคลและรายกลุ่ม โดยท�ำ ออกมาสื่อให้คนอ่ืนเข้าใจ เชน่ มัธยม 1 ในสปั ดาห์ทห่ี ก ประมวลความรทู้ ้ังหมดทเี่ รยี น มาถอดออกมาเปน็ หนงั สารคดี ดว้ ยการเขยี นบทเอง ตดั ตอ่ เอง มธั ยม 2 นำ� วรรณกรรม ของอาจารย์วิเชียร ไชยบัง ไปเรียน แล้วถอดความรู้ออกมาเป็นบทภาพยนตร์ให้ครู แสดง โดยถ่ายทำ� เอง ก�ำกับและตดั ตอ่ เอง เป็นตน้ ในกระบวนการจัดการเรยี นแบบ Problem-Based Learning ของล�ำปลายมาศ พัฒนาขา้ งต้น จะเห็นได้วา่ ครมู ีความส�ำคัญอย่างมาก โรงเรยี นจึงมีกระบวนการสรา้ ง ครู ทำ� ใหค้ รูเปน็ “คร”ู ทสี่ ูงขน้ึ พัฒนาไปเปน็ ครโู ค้ชและเป็นพี่เลย้ี ง (mentor) โดยใช้ “กระบวนการชุมชนแห่งการเรียนรู้” (PLC) ให้ครูเรียนรู้ร่วมกันซ่ึงต่างไปจากวิธีการ สร้างครูท่ีพบเห็นในโรงเรียนทั่วไปคือ ส่งครูไปเรียนต่อให้วุฒิฯ สูงข้ึน หรือให้ไปรับ การอบรมมากๆ แตไ่ มเ่ กดิ การเปล่ียนแปลงอะไรในตัวครเู ลย 171

ชมุ ชนแห่งการเรียนรู้ (PLC) หลกั การของชมุ ชนแหง่ การเรยี นรู้ (PLC- Professional Learning Community) คือเรียนรู้ด้วยตนเองและเรียนรู้ร่วมกัน share & learn อย่างต่อเน่ืองโดยยึดหลัก “อปริหานิยธรรม” ประชุมอยู่เนืองๆ พร้อมเพรียงกันอยู่เสมอๆ พัฒนาขึ้นไปเร่ือยๆ หลักการอยู่บนฐานคิดที่ว่าทุกชั่วโมงท่ีครูได้จัดการเรียนรู้ ได้แก้ปัญหาในห้องเรียน จะเกิดปัญญาปฏิบัติระดับหนึ่ง และต่อมาเมื่อมีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้กันอย่าง ต่อเน่อื งจะเกิดปัญญารว่ ม การสรา้ งทมี ครูด้วยกระบวนการ PLC ท�ำให้ทุกคนเหน็ เป้าหมายและมคี วามรู้สึก ต่อเป้าหมายที่ต้องการไปถึงนั้นร่วมกัน เกิดการหลอมรวมหัวใจเป็นใจดวงเดียวกัน กระบวนการ PLC ท�ำให้ครูได้ทั้งเรียนรู้วิธีการท�ำงาน และได้ใช้กระบวนทัศน์ในการ ท�ำงาน เป็นการปลดปล่อยศักยภาพที่มีอยู่ในตัวครูแต่ละคน หนุนให้ครูท�ำงานได้ มากกวา่ ท่ีตนคดิ เป็นการเรียนรู้ท่ปี รบั ให้ทันการอยเู่ สมอ เปน็ การท�ำงานเปน็ ทมี อย่าง แทจ้ รงิ ท�ำใหโ้ รงเรียนเปน็ องคก์ รแบบเปิด การ share & learn อย่างตอ่ เน่อื งทำ� ลาย ความกินแหนงแคลงใจ การทะเลาะเบาะแว้งกัน สร้างปัญญาร่วม สร้างความสุข เรียนรูแ้ ล้วเบกิ บาน เบิกบานแลว้ ยิ่งเรียนรไู้ ดด้ ีขึน้ ทกุ คร้งั ท่ี PLC ผลที่ไดค้ อื นวัตกรรมที่เกิดขน้ึ ในการเรียนการสอน ทุกครงั้ ท่ีครูได้ แลกเปลยี่ นเรยี นร้กู ันจะเก็บเก่ียวสงิ่ ดีๆ มาเลา่ สู่กันฟัง ทง้ั วิธจี ดั การเด็ก วธิ ีพัฒนาการ เรียนการสอน การท�ำงานกับผู้ปกครอง การจัดการชีวิต ยิ่งได้นวัตกรรมมากข้ึน ก็ย่ิง เป็นตัวบ่งช้ีว่าครูมีคุณภาพมากขึ้น PLC ได้สร้างกลไกให้เกิดนวัตกรรม เป็น output มี outcome ทตี่ อบคณุ ภาพ การแลกเปลยี่ นเรยี นรขู้ องชมุ ชนครทู ล่ี ำ� ปลายมาศพฒั นา สะท้อนกลับให้เห็นว่า แท้ท่ีจริงท่ีผ่านมาการปฏิรูปการศึกษาไทยไปได้ไม่ไกล เพราะไมม่ ี “กลไก” ใหค้ รไู ทยไดพ้ ฒั นาตนเองอยา่ งจรงิ จงั นนั่ เอง ครเู พยี งแคท่ ำ� หนา้ ที่ รับค�ำสั่งมา แล้วน�ำไปปฏิบัติด้วยความรู้และวิธีเดิมๆ และถูกตัดสินด้วยมาตรฐาน ทแี่ ขง็ ตวั ทำ� ใหค้ รจู ำ� นวนมากทสี่ ดุ ไมเ่ หน็ ความจำ� เปน็ และไมม่ แี รงบนั ดาลใจทจี่ ะพฒั นา ตนเองหรอื เกิดความรู้สกึ เปน็ เจา้ ของงานที่ตนท�ำอยู่ 172

outcome ที่เกิดขึ้นจากชุมชนการเรียนรู้ไม่เพียงแต่ส่งผลในเฉพาะด้านการงาน เท่าน้ัน กลไก share & learn อย่างสม�่ำเสมอได้สร้างการเรียนรู้ให้เกิดความเข้าใจ ในการดำ� เนนิ ชวี ติ แกค่ รดู ว้ ย เงนิ เดอื นครใู นโรงเรยี นถอื วา่ ไมม่ ากมายกวา่ ทอ่ี น่ื ๆ แตค่ รู ในโรงเรียนไม่ค่อยมีปัญหาหนี้สินหรือปัญหาชีวิต เน่ืองจากแต่ละวันในชีวิต flow ไป กับการเรียนรู้โลกภายนอก และเรียนรู้ภายในตนเองท่ีท้าทายและมีทักษะที่มากขึ้น ตามลำ� ดบั ทำ� ใหไ้ มเ่ พยี งจดั การการเรยี นการสอนในหอ้ งเรยี นไดด้ ขี นึ้ ครยู งั สามารถใช้ ทักษะที่ได้จากการเรียนรู้จากเพื่อนครูด้วยกันและการแลกเปลี่ยนกัน ไปจัดการชีวิต ส่วนตัวให้ดีข้ึนได้ด้วย ทุกสิ่งท่ีเกิดขึ้นในโลกล้วนเป็นพลวัตร ชีวิตส่วนตัวเมื่อดีข้ึน ก็ท�ำให้ท�ำงานได้เต็มที่ “คนเราถ้าชีวิตสอบตก เรื่องงานก็มักจะสอบตกด้วย” คือ ประสบการณจ์ ริงในชีวิตครู ขอสงดลอ��ำำงขเปน้ันลินPตากยLอามนCราเเทศพ่พาียนัฒง้ันนา ขั้นตอนแรก ท�ำเรื่องวิถีเร่ืองสัมพันธภาพให้เกิดเป็นพื้นที่ปลอดภัย การรับฟังกันอย่างตั้งใจ ไม่ตัดสินผิดถูก ไม่มีผู้อ�ำนวยการกับครู ผู้น้อย เป็นพื้นท่ีที่ครูมาน่ังแลกเปล่ียนกันถึง “เด็กนักเรียน” อย่าง จริงจังว่าผลการเปลี่ยนแปลงในตัวเด็กเป็นอย่างไร จากกระบวนการ เรียนการสอนของครูแต่ละคน เรียนรู้เร่ืองดีจากกันและกันและจะ พัฒนากันต่ออย่างไร ท�ำให้ครูอยู่กับ “งาน” และได้สัมผัสลึกซึ้งถึง “คุณค่า” ของงานท่ีท�ำให้คนเรียกตนว่า “ครู” อย่างแท้จริง ขั้นตอนต่อมา คือเร่ืองการน�ำองค์กร การพูดถึงเป้าหมายร่วมกันของครู แต่ละคนที่ต้องการให้เกิดข้ึนกับเด็กกับงาน หรือแม้แต่ชีวิตท่ีด�ำเนิน อยู่ร่วมกัน เป็นชุมชนท่ีก�ำหนดทุกข์สุขของชีวิตในแต่ละวันของตนได้ เมื่อโรงเรียนสร้างความเป็นชุมชนการเรียนรู้ของครูได้ กระบวนการ เรียนรู้ร่วมกันก็ยิ่งท�ำให้ทุกคนในโรงเรียนสามารถสัมผัสได้ถึงความ ผ่อนคลาย ปลอดภัยและไว้วางใจกัน 173

Lesson Study lesson study ทที่ ำ� กนั บ่อยมากในลำ� ปลายมาศพฒั นาถอื เป็นกระบวนการสร้าง ครอู ยา่ งแท้จรงิ ทกุ ครง้ั เมือ่ พบปัญหาจากการสอน จากการจัดการเรียนรู้ วง PLC จะ นำ� ขน้ึ มาคยุ กนั เพอ่ื สรา้ งนวตั กรรมในการแกไ้ ข ทกุ สน้ิ ปใี นวง PLC จะตงั้ คำ� ถามกบั เรอื่ ง ต่างๆ ที่ได้ท�ำไป หากเรื่องใดกลุ่มคุยกันแล้วตอบได้แบบงงๆ หรือแบบลอกมา ครูจะ เลิกท�ำสิ่งน้ัน วง PLC ใช้วิธีหันมาต้ังค�ำถามกับส่ิงต่างๆ เพื่อให้แน่ชัดว่าสิ่งที่ท�ำไปน้ัน มคี วามหมายจรงิ ๆ ไมใ่ ช่ “สกั แตว่ ่าท�ำไป” Super PLC คอื การเตรยี มการสอนกอ่ นเปิดเทอมแตล่ ะคร้งั การเรยี นการสอนในแตล่ ะปกี ารศกึ ษาของลำ� ปลายมาศพฒั นา แบง่ เปน็ ควอเตอร์ ควอเตอร์ละ 10 สัปดาห์ มชี ่วงค่นั 10 วัน อนั เปน็ ช่วงเวลาท่ีมีไว้ให้ครเู ตรยี มการสอน ในควอเตอร์ต่อไป ก่อนเปิดเรียนในแต่ละควอเตอร์ประมาณ 4-5 วัน จะมีการจัด super PLC ซึ่งใช้เวลาประมาณ 3-4 วนั ใหค้ รแู ตล่ ะคนได้นำ� เสนอแผนการสอนให้ครู ทั้งโรงเรียนได้ดู เพื่อแลกเปล่ียนเรียนรู้และเติมเต็มกันและกัน การท�ำ super PLC ท�ำให้ครูอนุบาลได้เห็นแผนของชั้นมัธยมและครูระดับมัธยมได้เห็นแผนการเรียน ของเด็กอนุบาล ช่วยให้ครูท้ังหมดเห็นความเช่ือมโยงของงานท่ีตนท�ำ และสนับสนุน แต่ละฝ่ายให้ท�ำงานของตนได้ดีย่ิงขึ้น เพ่ือไปสู่เป้าหมายเดียวกัน ในขณะเดียวกัน สามารถบูรณาการและหนุนเสริมกันในเนื้อหาที่เรียนเร่ืองเดียวกัน เช่น ช้ันอนุบาล กส็ ามารถไปดูงานทพี่ ี่มัธยมท�ำได้เป็นต้น กระบวนการ super PLC เป็นกระบวนการท่ีครูแต่ละกลุ่มช้ันเรียน ตั้งแต่ อนุบาล ประถม มัธยม จะใช้เวลาออกแบบแผนการสอนด้วยการตั้งค�ำถาม เพื่อ reflection แผนเดิมที่ผ่านมาว่าจะยังคงไว้หรือควรต้องออกแบบใหม่ หรือ ปรับเปล่ียนอะไร เพื่อให้ครูแต่ละคนได้ออกแบบหน่วยการเรียนรู้ของนักเรียนในช้ัน ของตนต่อไป ครมู ีอสิ ระทจ่ี ะคิดในสงิ่ ท่ีอยากทำ� สนุกท่จี ะทำ� ให้ท้ังครูและนักเรียนได้ สนุกในการเรียนรู้ไปด้วยกัน ล�ำปลายมาศพัฒนามีความเชื่อว่าครูต้องสนุกที่จะสอน 174

ก่อน จึงจะมีแรงบันดาลใจจัดการเรียนรู้ท่ีดี ถ้าเด็กสนุกแต่ครูไม่สนุก หรอื ทง้ั ครแู ละนกั เรยี นตา่ งเบอื่ หอ้ งเรยี น และเวลาทเ่ี สยี ไปเทา่ กบั สญู เปลา่ เมอื่ ออกแบบเสรจ็ จงึ นำ� เขา้ สกู่ ระบวน super PLC ครผู นู้ ำ� เสนอแผนตอ้ ง อธิบายให้เพื่อนครูฟังว่า active learning เกิดข้ึนในการเรียนตรงไหน อย่างไร ประเมินได้หรือไม่ อย่างไร มีตัวช้ีวัดตรงกับมาตรฐานตัวไหน และในแผนระดับมัธยมยังต้องโยงเข้าไปประเมินในรหัสวิชาต่างๆ ท่ี เกย่ี วขอ้ ง หลงั จากที่ครูเจา้ ของแผนนำ� เสนอ เพ่ือนครคู นอน่ื จะเขยี น reflec- tion ว่าควรเพ่ิมเติมอะไร จากน้ันเจ้าของแผนเอาไปแก้ แล้วน�ำมา พิจารณากันอีกรอบก่อนน�ำไปสอน (การเขียน reflection เป็นวิธีท่ี โรงเรียนพบว่าใช้เวลาน้อยที่สุด หากใช้วิธีการพูดเสนอแนะจะกินเวลา มากแต่ได้ผลไม่ตา่ งกัน) เมอ่ื นำ� แผนลงไปสอนจนจบควอเตอรจ์ ะมกี ระบวนการเกบ็ คะแนน ประมวลผลในแตล่ ะสายช้ัน ในทุกสัปดาหค์ รูทำ� การประเมินการเรียนรู้ ของนักเรียนจากชิ้นงานและภาระงาน ซ่ึงมีทั้งหมดประมาณ 10 ชิ้น 10 ประเภท ในแตล่ ะควอเตอรค์ รูจะรู้วา่ งานประเภทนที้ ี่นกั เรียนทำ� มา โยงเขา้ กบั ทกั ษะความรหู้ รอื มาตรฐานอะไร หรอื เนอื้ หาอะไรทเ่ี กย่ี วขอ้ ง กบั หนว่ ยนน้ั ครจู ะมี rubic สำ� หรบั ประเมนิ เดก็ เแตล่ ะคน โดยใหค้ ะแนน สามด้านคือ ความรู้ ทักษะ และคุณลักษณะที่เกิดข้ึนจากสิ่งที่นักเรียน ไดเ้ รยี นรแู้ ละท�ำมา โรงเรียนท่ีเป็นเครือข่ายจิตศึกษาท้ังหมดจะเตรียมแผนการเรียน และการประเมินแบบน้ีเช่นกัน ในตอนเริ่มแรกดูเหมือนจะยาก แต่ กระบวนการ super PLC และ PLC จะสร้างการเรียนรู้ร่วมกันอย่าง ต่อเนื่อง เกิดการเรียนลัดจากกันและกันของทีม เมื่อท�ำไปสักพักครูจะ เกง่ ประเมินคลอ่ งและมีความสขุ 175

การประเมินเด็กท่ีไม่ได้เขา้ เรียนรว่ มกับเพือ่ นในช้ันเรยี น ล�ำปลายมาศพัฒนามีนกั เรียนชั้นมัธยม 2 คนหน่งึ วัด I.Q. ได้ 58 นกั เรยี นคนนี้เข้ามา เรียนต้ังแต่ชั้นอนุบาล ปัจจุบันอ่านออก เขียนได้ แต่ท�ำความเข้าใจกับเร่ืองต่างๆ ยาก โรงเรียนจึงจัดการเรียนรู้เป็นกรณีเฉพาะให้ เช่นขณะที่เพื่อนก�ำลังเรียนโครงงานหน่ึงอยู่ นกั เรยี นคนทไี่ มส่ ามารถเรยี นตามเพอ่ื นไดจ้ ะทำ� โครงงานอกี แบบหนงึ่ โดยใหท้ ำ� อาหารให้ เพอื่ นกิน อาจจะเป็นสปั ดาหห์ รือเป็นวนั เริม่ จากคดิ ว่าจะท�ำอะไรใหเ้ พอื่ น สดั สว่ น สว่ น ประกอบและขั้นตอนการท�ำเป็นอย่างไร แล้วน�ำมาเล่าให้ครูฟัง จากนั้นจึงค่อยลงมือท�ำ ทำ� เสรจ็ เลา่ ใหเ้ พอ่ื นฟงั ว่า ท�ำอาหารจานน้นั อย่างไรก่อนใหเ้ พื่อนชมิ ตวั อยา่ งนเี้ พอ่ื ใหเ้ หน็ วา่ เดก็ ทกุ คนไดเ้ รยี นรวู้ า่ ตนทำ� “อะไร” ดว้ ยตนเองสำ� เรจ็ เสมอ ลน�ำักไปมเลร่มาียีวยนันมทสาุกศอคบพนตัฒขกนองา ครูจะหาวิธี ให้ได้เรียนรู้ และผ่านไปให้ได้ ด้วยตัวเขาเอง ชมุ ชนแหง่ การเรียนร้ขู องผู้ปกครอง นอกจากครูในโรงเรียนจะมีชุมชน PLC แล้ว ผู้ปกครองก็มีเช่นกัน ท่ีโรงเรียนแห่งนี้ เรื่องการเรียนของเด็กไม่ใช่เร่ืองท่ีครูแบกรับไว้บนบ่าเพียงผู้เดียว ชุมชนแห่งการเรียนรู้ ระหวา่ งครกู บั บา้ นเปน็ เรอ่ื งทต่ี อ้ งทำ� อยา่ งตอ่ เนอื่ ง ทกุ เดอื นผปู้ กครองแตล่ ะหอ้ งจะเขา้ มา น่ังล้อมวงคุยกับครูโดยไม่มีเด็กร่วมอยู่ด้วย ครูจะเล่าเรื่องเด็กในห้องเรียนว่าก�ำลังเรียนรู้ หน่วยอะไร ผู้ปกครองจะเข้ามาช่วยสนับสนุนอะไรได้บ้าง และพูดถึงกรณีความส�ำเร็จท่ี นักเรียนสร้างขึ้น ส่วนผู้ปกครองจะเล่าเรื่องท่ีเด็กท�ำท่ีบ้าน เมื่อมาพบปะกัน ค�ำถามที่ สำ� คญั คอื การถามกนั ว่า “เหน็ อะไรทเี่ ป็นความงอกงามของลูกบา้ ง” หากพอ่ แมร่ สู้ ึกวา่ ยงั ไมเ่ ปน็ อยา่ งที่หวงั ไว้กป็ รกึ ษาหารือกันระหว่างครูและบ้าน 176

นอกจากน้ีในทุกปีการศึกษาใหม่ โรงเรียนยังมอบบทบาทหน้าท่ีให้ผู้ปกครอง เก่าเป็นผู้เข้ามาอธิบายให้ข้อมูลผู้ปกครองที่สนใจน�ำลูกเข้ามาสมัครเรียนว่าโรงเรียน ท�ำอะไรบ้าง บทบาทหน้าที่ผู้ปกครองเป็นอย่างไร ท้ังน้ีโดยไม่ตัดสินหรือชี้ว่า โรงเรียนดีหรือไม่ดีอย่างไร เพ่ือให้ผู้ท่ีจะน�ำลูกมาเข้าเรียนได้ตัดสินใจเองว่าจะเลือก โรงเรียนน้ีหรอื ไม่ ผู้ปกครองของเด็กในโรงเรียนส่วนมากมีอาชีพเกษตรกรและมีบ้านอยู่ในพ้ืนที่ ใกล้โรงเรียนและผู้ปกครองนี้คือเป้าหมายหน่ึงของโรงเรียนท่ีต้องการพัฒนาให้มี ความเขา้ ใจการศึกษาที่จะช่วยพัฒนาลูกหลานของตน จิตศกึ ษา จิตศึกษาเป็นเร่ืองที่โรงเรียนถือว่าเป็นนวัตกรรมที่ส�ำคัญ โรงเรียน น�ำความรู้เรื่องสภาวะผ่อนคลายและคลื่นสมองต่�ำ เช่น คลื่นอัลฟา (alpha wave - ความถรี่ ะหวา่ ง 8-13 รอบตอ่ วนิ าทที ำ� ใหก้ ารเรยี นรดู้ ขี นึ้ ) มาใชก้ บั นักเรยี น โดยใช้รปู แบบมากมายในการพัฒนาผู้เรียน ทัง้ เพือ่ ให้ มีสมาธิและก�ำกับสติตนเองได้ด้วย การให้นักเรียน ฝึกสมาธิ (ในระดับ อนุบาลไม่มีการน่ังสมาธิแต่ท�ำกิจกรรมง่ายๆ) ให้เกิดสภาวะผ่อนคลาย ไมเ่ ครยี ด จดจอ่ กบั สง่ิ ทที่ ำ� อยไู่ ดน้ าน โดยมอี งคป์ ระกอบทสี่ ำ� คญั เพมิ่ เตมิ เข้ามาเรียกว่า “จิตศึกษา” คือการกลับเข้ามามองตน การมีกล้อง ส่องกลับมามองตนเองจะท�ำให้ก�ำกับตนเองได้ เกิดการตระหนักรู้ และตื่นร้มู ากขน้ึ การต่นื ร้จู ะนำ� ไปส่คู วามอยากรู้ ก่อเกิดพลังแลว้ ลงมอื ท�ำ การเรียนรู้ที่มีพลังจะน�ำไปสู่การเปล่ียนแปลงตนเอง การเรียนรู้ ในโรงเรียนท่ัวไปในปัจจุบันไม่มีพลัง เป็นการเรียนรู้ซ้�ำไปซ้�ำมาใน ความรเู้ ดิมเพือ่ จำ� เอาไปสอบใหผ้ า่ นเทา่ น้ัน 177

กระบวนการจิตศึกษาท�ำให้เห็นชัดเจนว่าการลงมือท�ำอย่างมีเจตจ�ำนงหรือ เปา้ หมายทีแ่ จ่มชัด เรียนรอู้ ยา่ งมีความสขุ น้ันเหมอื นกับการภาวนา สุดทา้ ยจะน�ำไปสู่ ความเขา้ ใจอยา่ งลกึ ซงึ้ จนเปลีย่ นตวั เองเปน็ คนใหม่ได้ กระบวนการเรียนร้กู ลับเข้ามา ในตนเอง เป็นกระบวนการท่ีท�ำให้เด็ก “ต่ืนรู้” สามารถค้นพบค�ำตอบใหญ่ในชีวิตว่า ความหมายหน่ึงของการด�ำรงชีวิตไม่ใช่แค่มีงานท�ำ กิน ด่ืม เสพ นอนรอวันสุดท้าย แต่การศึกษาจะเป็นเคร่ืองมือให้คนใคร่ครวญจนพบค�ำถามใหญ่ โรงเรียนถือว่า แม้นักเรียนจะยังหาค�ำตอบไม่พบก็ไม่เป็นไร การพบค�ำถามใหญ่จะพบหนทางท่ีดี ในชวี ติ เพราะ “คำ� ถามนั้นชีท้ ิศ ส่วนคำ� ตอบนั้นชีท้ าง” จกิตรศะบึกวษนากขาอรง 1. การสร้างชุมชน ลม�ำี ป3ลาอยงมคา์ปศรพะักฒอนบา (สนามพลัง) 2. การใช้ จิตวิทยาเชิงบวก 3. การใช้กิจกรรม จิตศึกษา (ฝึกฝนเป็นประจ�ำ) 178

179

1. ความเปน็ ชมุ ชน มีความหมายถึงการสร้างสนามพลังให้เกิดบรรยากาศที่สัมผัสได้จริงถึงวิถีของ วฒั นธรรมใหม่ ซงึ่ เปน็ วถิ ขี องความคงเสน้ คงวา มเี หตผุ ล กอ่ ใหเ้ กดิ ความรสู้ กึ ผอ่ นคลาย พร้อมเรียนรู้ และปลอดภยั โรงเรียนมีกลไกทส่ี ร้างความปลอดภัยในโรงเรยี น 3 ระดบั ด้วยกนั คือ 1. สิ่งแวดล้อมท่ีปลอดภัยและร่มร่ืน มีต้นไม้ใหญ่ ให้ความเย็นสบาย ปลอดภัย จากสิงสาราสตั ว์ 2. ความปลอดภัยด้านอาหาร นอกจากอาหารที่ครบ 5 หมู่ โรงเรียนไม่มี ขนมหวาน น�้ำหวาน แต่มีกล้วยแขวนไว้ให้เด็กยามต้องการอาหารรองท้อง เป็นต้น 3. ความปลอดภยั ดา้ นจติ ใจ โรงเรยี นใหค้ วามสำ� คญั สงู สดุ ในเรอื่ งของจติ วญิ ญาณ จุดคานงัด เปลี่ยนตารางเรยี น ทุกสิ่งมีที่มาที่ไป เช่นเดียวกับคุณภาพการศึกษาไทยท่ีเป็นอยู่ในปัจจุบันมีที่มา ท่ีไป ไม่ใช่สิง่ ท่จี ู่ๆ เกิดข้นึ มา ดงั นนั้ การเปล่ียนแปลงทกุ อยา่ งต้องกลบั ไปค้นหาจุดคาน งดั ทสี่ ามารถสรา้ งการเปลย่ี นแปลงใหเ้ กดิ ขน้ึ ได้ จดุ คานงดั อาจเปน็ จดุ ทเ่ี ลก็ มากแตส่ รา้ ง การเปล่ยี นแปลงได้ ลำ� ปลายมาศพฒั นาเลือกจุดคานงดั ที่การเปล่ียนตารางเรียน ครูใหญว่ เิ ชียร ไชยบงั กลา่ วว่าอย่างชัดเจนว่า... “ เม่อื ตารางเรยี นเปลีย่ น เกมเปลย่ี น ” 180

ตารางเรยี นของลำ� ปลายมาศพฒั นาไมม่ วี ชิ า สอน มีแต่หน่วยบูรณาการ ส่งผลให้ครูของ โรงเรยี นจะจบสาขาอะไรมาไดท้ งั้ สนิ้ แตค่ รทู กุ คน ต้องมาท�ำความเข้าใจร่วมกัน ท�ำงานร่วมกัน ออกแบบกระบวนการบูรณาการการเรียนแบบ problem - based learning ร่วมกัน เม่ือครู ท�ำงานร่วมกันเป็นหน่วยบูรณาการ ครูจะไม่มี หนังสือเล่มใดเล่มหน่ึงมาเป็นแนวการสอน ทลี ะบท ทลี ะบท เชน่ ทเ่ี รียนกันอยู่ในแบบเดิมๆ แต่ครูจะสร้างกิจกรรมการเรียนรู้ให้เด็กมี ความเข้าใจเน้ือหาวิชานั้นๆ ด้วย วิธีน้ีครูจะ เปลี่ยนบทบาทตนเองมาเป็น “โค้ช” เด็กจะ เปล่ียนการเรียนด้วยการจ�ำมาเป็นการปฏิบัติ มีชิ้นงาน มีภาระงาน และครูท�ำการประเมิน ตามสภาพความเป็นจรงิ เม่ือเปล่ียนตารางเรียนได้จึงเร่ิมท�ำงาน ข้ันตอนต่อไป คือการสร้างวิถีแบบใหม่ขึ้น และการเปลีย่ นการบริหารจัดการของผ้บู ริหาร ดังน้ันในล�ำปลายมาศพัฒนาจึงถือว่า “ตารางเรยี นนำ� มาซึ่งทกุ ข์และสุขของชวี ติ ” 181

วิถีชีวิตในแต่ละวัน ในความเป็นชุมชนของโรงเรียนต้องตอบสนอง เจตจ�ำนงของทุกคนทีม่ าอยู่รว่ มกนั ตารางเรยี นของลำ� ปลายมาศพฒั นา จงึ แตกต่างจากโรงเรียนท่ัวไปคือ ใ น ต อ น เ ช ้ า เ ม่ื อ เ ด็ ก ม า ถึ ง 8.00-8.20 น. 8.20-8.40 น. โรงเรียน เด็กจะมาเล่น พูด กิจกรรมหน้าเสาธงเป็นพิธีกรรม กิจกรรมจิตศึกษา เพื่อเหนี่ยวน�ำ คุยกัน มีปฏิสัมพันธ์ต่อกัน เริ่มต้นวันอย่างมีความหมาย เพื่อ คลื่นสมองให้ต่�ำลงด้วยการฝึกสมาธิ ขอบคุณ เพ่ือแสดงความนอบน้อม สติ การนอบน้อมและเห็นคุณค่า การมีสติ เมื่อทุกคนสงบแล้วจึงร้อง สรรพส่ิง โน้มน�ำให้จิตใหญ่ไพศาล เพลงชาติ สวดมนต์ แผ่เมตตา ขึ้น โดยใช้กิจกรรมหลากหลายรูป แบบ หลายขั้นตอน และเป็นไปตาม ล�ำดับช้ันท่ีไม่เหมือนกัน 8.40-12.00 น. 13.00-13.15 น. 13.15-15.00 น. วิชาทักษะพื้นฐาน ปูพื้นฐานวิชาการ body scan สู่ความสงบ บูรณาการสหวิชาโดย PBL เรียนเป็น เพื่อเป็นเคร่ืองมือในการเรียนรู้ต่อ และการผ่อนคลาย หน่วยบูรณาการ เรียนรู้อย่างมีความ วิชาท่ีเรียนคือวิชาหลักได้แก่ วิชา หมาย เช่ือมโยงแต่ละวิชาเข้าด้วยกัน ให้ คณิตศาสตร์ ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ ส อ ด ค ล ้ อ ง กั บ ก า ร ใ ช ้ ง า น แ ล ะ ชี วิ ต จ ริ ง ออกแบบหน่วยบูรณาการในกลุ่มสาระ เสริมสร้างทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษท่ี เน้นการสร้างทักษะมากกว่าการสอน 21 อย่างต่อเน่ือง เช่น การเรียนรู้ด้วย เนื้อหา ตนเอง การเรียนรู้ร่วมกัน การแก้ปัญหา 15.00-15.30 น. และการส่ือสาร ช่วงนี้ของวันเป็นเวลาท่ี กจิ กรรมจติ ศกึ ษา เปน็ ชว่ งทพ่ี านกั เรยี น นักเรียนในโรงเรียนยุ่งมาก เป็นช่วงท่ี กลับมาสู่ความสงบภายใน มีกิจกรรม นักเรียนแต่ละคนอาจจะท�ำวิจัย ค้นคว้า เช่น พิธีชงชาและการจัดดอกไม้ หรือ ทดลอง ถ่ายท�ำภาพยนตร์ ตัดต่อ ให้นักเรียนทบทวนสรุปบทเรียนสิ่งท่ี ประมวลผล ฯลฯ ได้ท�ำมาตลอดท้ังวัน เพื่อให้ช่วงเวลา ท่ีผ่านมาท้ังวันมีความหมาย ท�ำการ 15.30-16.30 น. นัดหมาย ให้การบ้าน หรือมีเร่ืองอะไร ครูร่วมกันสรุปบทเรียนและวางแผนงานต่อไป ในช่วงที่ครูสรุป ที่ต้องการบอกหรือส่ือสารกันก็จะบอก บทเรียน (PLC) นักเรียนจะออกไปเล่นกีฬา ที่ล�ำปลายมาศพัฒนา กันในช่วงเวลานี้ ไม่มีวิชากีฬาแต่ให้นักเรียนเล่นกีฬาหลังเลิกเรียน บางคร้ังมีผู้ปกครอง มาร่วมเล่นด้วย และในร.ร.ไม่มีสภานักเรียน มีแต่กลุ่มศานติซึ่งรับ สมัครนักเรียนจากทุกชั้น ตั้งแต่ประถม 1 ถึงมัธยม 3 ชั้นละ 2 คน มาท�ำหน้าท่ีสร้างกิจกรรมการเรียนรู้ เพ่ือการอยู่ร่วมกันอย่าง ภราดรภาพ แตกต่างแต่เคารพกัน ในช่วงที่ครูท�ำ PLC นี้กลุ่มศานติ จะอยู่ช่วยกันบริการเพื่อนนักเรียนท่ีสนาม 182

2. จิตวทิ ยาเชงิ บวก (ใจนำ� ทาง) เคารพคณุ ค่าความเป็นมนษุ ย์ ลำ� ปลายมาศพฒั นา ถอื หลกั “เคารพ” กนั โรงเรยี นสรา้ งวฒั นธรรม ให้ทุกคนเรียกชื่อกัน ไหว้กัน ให้เกียรติกัน รับฟังกัน ครูทุกคนเรียกเด็ก วา่ “พ”่ี เฉพาะเด็กอนุบาลหนึง่ เทา่ นั้นที่ถกู เรยี กวา่ “นอ้ ง” เด็กนักเรียน เองก็เรยี กทุกสิง่ ทกุ อย่างวา่ “พี่” เช่น พีภ่ เู ขา พ่ตี น้ ไม้ ลำ� ปลายมาศพฒั นา เปน็ โรงเรยี นทคี่ รมู คี วาม “เคารพ” ตอ่ เดก็ เพอื่ ให้เด็กได้รับการปฏิบัติและตระหนักว่าตนมีคุณค่าในความเป็นมนุษย์ เทา่ เทยี มกบั ครู ไมม่ ภี าพครูนั่งทสี่ ูงแล้วเดก็ นกั เรยี นมากราบเทา้ วันไหว้ ครูคือวันที่ครูไหว้เด็ก ขอบคุณที่ท�ำให้ครูได้ท�ำหน้าที่ หากมีกระดาษ แผ่นหน่ึงตกที่พื้นครูจะไม่เรียกเด็กมาเก็บ ครูจะเก็บเองเป็นตัวอย่าง โรงเรียนมีข้อห้าม 2 ข้อคือห้ามช้ีผิดและห้ามชี้โทษ หน้าที่ของครูคือ ช้ถี ูกตลอดเวลา เด็กพดู ผิดก็พดู ประโยคที่ถกู ตอ้ งให้เดก็ ทวน ชว่ งเวลาทที่ ำ� กจิ กรรมจติ ศกึ ษามชี ว่ งทเ่ี ดก็ นงั่ ลอ้ มวง เมอื่ ครถู ามเดก็ จะยกมอื ตอบ เด็กแต่ละคนจะรอคอยเพ่อื นตอบไปทลี ะคน และต้องฟัง อย่างต้ังใจ เป็นการฝึก “เคารพ” ผู้อ่ืน ในห้องเรียนมีการฝึกฝนเช่นนี้ ทุกวัน มีครูเป็นแบบอย่าง เมื่อเด็กได้รับการฝึกฝนบ่อยๆ จะเกิดเป็น ความเคยชินทีจ่ ะ “เคารพ” ผอู้ ่นื หน้าที่หลักของครูคือท�ำให้เด็กรู้ตัวว่าก�ำลังท�ำอะไรอยู่ สิ่งที่ท�ำ อยนู่ ้ันผดิ อย่างไร และต้องแกไ้ ขอย่างไรด้วยตนเอง คณะครูในโรงเรียนมีการทบทวนและฝึกปฏิบัติกันจนแม่นย�ำว่า เมื่อเด็กมีพฤติกรรมอย่างน้ีครูจะท�ำอย่างไร เป็นแนวทางเดียวกันทั้ง โรงเรยี น เชน่ ถา้ เหน็ ของตกครจู ะทำ� อยา่ งไร เรยี กเดก็ มาเกบ็ หรอื เกบ็ เอง ครูเข้าใจจิตวิทยาเชิงบวกบนพ้ืนฐานที่มีเป้าหมายเดียวกันในการสร้าง การเรยี นรใู้ หเ้ กดิ แกเ่ ดก็ หากเดก็ ทะเลาะกนั ครตู อ้ งมวี ธิ ที ำ� ใหเ้ ดก็ รวู้ า่ ทำ� 183

อะไรกันอยู่ ครูจะเริ่มตน้ ด้วยค�ำถามวา่ เกิดอะไรข้ึน ไม่ใชว้ ิธคี ุกคาม ไม่ ตัดสิน เมื่อได้ข้อมูลจากทุกฝ่ายแล้วค�ำถามของครูต่อไปคือ เราควรจะ ท�ำอย่างไรต่อกนั ดี การบ้านของเดก็ ไมม่ คี �ำวา่ “ผดิ ” ไมม่ ีให้ดาว มแี ตเ่ ขียนวา่ “ดมี าก ค่ะ” หากเด็กต้องปรับตรงไหน ครูบันทึกของครูเองว่าจะต้องปรับ อย่างไรแล้วก็จัดการ ท้ังหมดนี้ล�ำปลายมาศพัฒนาถือว่ามาจาก ความเคารพกัน เห็นคณุ ค่าของความเปน็ มนุษย์ของกนั และกนั ส่ิงทเ่ี ป็นภาพปรากฏให้เหน็ คือโรงเรียนมขี ยะนอ้ ย ห้องนำ�้ ไมม่ ีใคร เอาอะไรมาขีดเขียน ทะเลาะกันน้อย เด็กหนีโรงเรียนน้อย นักเรียนไม่ เข้าเรยี นนอ้ ยมาก ครู “ดี” ครเู พอื่ ศิษย์เกิดขึน้ ได้อย่างไร ประสบการณ์สรา้ งคนเป็นครูท่ลี �ำปลายมาศพฒั นา 1. เมอื่ ครมู เี ปา้ หมายชัดเจน ครจู ะมแี รงบนั ดาลใจ จากบทเรียนท่ีเกิดข้ึนในล�ำปลายมาศพัฒนาสามปีแรกเมื่อเร่ิมก่อ ตั้งโรงเรียน เปิดอนุบาลสองช้ันและป.1 โรงเรียนได้ครูปฐมวัยท่ีมุ่งมั่น วา่ ทำ� งานทกุ วนั เพอื่ ไปถงึ เปา้ หมายรว่ มกนั ใหไ้ ดอ้ นบุ าลทดี่ ที สี่ ดุ ครทู มุ่ เท ทำ� งานจนทกุ คนรสู้ กึ ไดว้ า่ อนบุ าลของลำ� ปลายมาศพฒั นานน้ั ดที ส่ี ดุ เทา่ ที่เคยเจอมาในชีวติ และครกู ล่มุ นพ้ี ัฒนาตนเองขึ้นมาเป็น trainer ล�ำปลายมาศพัฒนาสรุปบทเรียนว่า ครูรุ่นใหม่แม้ได้รับการ train มาเป็นอยา่ งดี หากไมม่ ีแรงบันดาลใจ ไมม่ ีความรู้สึกเป็นเจา้ ของ จะไม่ สามารถทำ� งานไดผ้ ลเทา่ ทค่ี วร สงิ่ ทผ่ี บู้ รหิ ารทำ� คอื มงุ่ เปา้ หมายไปทเ่ี ดก็ ไม่ท�ำตัวเองเป็นเจ้าของโรงเรียนที่ก่อตั้งขึ้นมา ยินดีมอบความเป็น เจ้าของให้ผู้ปฏิบัติงาน โดยร่วมกันตั้งเป้าหมายว่าอีกห้าปีข้างหน้าครู 184

อนบุ าลจะเปน็ เจา้ ของบรหิ ารโรงเรียนในส่วนนีเ้ องได้ โดยทมี จะสรา้ งส่งิ มหศั จรรย์ ที่สุดของอนุบาลให้เกิดขึ้นในประเทศน้ีให้ได้ การมีเป้าหมายที่ท้าทายกับทักษะที่ ไดร้ บั การฝกึ ฝนมาอยา่ งดี สรา้ งครทู มี่ พี ลงั สรา้ งสรรคส์ ง่ิ แปลกใหมต่ ลอดเวลา สง่ิ ท่ี ล�ำปลายมาศพฒั นาคาดหวงั กบั ทมี ครูคือสร้างเด็กท่ีมีคุณภาพให้ได้ 2. ออกมาจาก Comfort Zone พลังของการท�ำงานท่ีมีชีวิตชีวาและใหม่สดเสมอ มาจากการจัดการให้คน ไมย่ ดึ ตดิ กบั ความเคยชนิ เดมิ ๆ (comfort zone) วธิ กี ารพนื้ ฐานคอื ทกุ สน้ิ ปจี ะสลบั ปรบั เปลย่ี นหนา้ ทกี่ นั ทำ� งาน ครแู ตล่ ะคนไดร้ บั มอบหมายใหเ้ ปลย่ี นวชิ าสอน เปลยี่ น หอ้ ง เปลยี่ นชน้ั รบั ผดิ ชอบเพอ่ื ใหท้ กุ คนเหน็ หนา้ งาน ความสอดรบั กนั ของงานทต่ี น และครูคนอ่ืนท�ำ เกิดความเข้าใจงานของผู้อื่น เห็นภาพรวมและเชื่อมโยงงาน ท้งั หมดได้ 3. ใครก็เป็นครไู ด้ถา้ … ผา่ นเกณฑส์ องขอ้ คือ เกณฑ์ข้อที่ 1. ผา่ นการสมั ภาษณ์วา่ เป็นคนท่ีส่อื สารกบั ผูค้ นไดแ้ บบ “พูดคยุ รูเ้ ร่ือง” โรงเรียนจะรบั เข้ามาดใู จตนเองเปน็ เวลา 3 เดอื น เกณฑ์ข้อท่ี 2. safety valve ในระหว่างสามเดอื นผู้ที่ผ่านสมั ภาษณ์ จะเปน็ ผู้สังเกตการณ์การท�ำงานการสอนของครู ได้เห็นบรรยากาศและวัฒนธรรมใหม่ ในโรงเรยี นทงั้ หมด หาก “ด”ู ใจตนเองแลว้ วา่ เหน็ ดว้ ย รบั ได้ ทางโรงเรยี นจะทำ� การ เซน็ สัญญา 1 ปี เป็นหน่ึงปที ีค่ รูรบั เงินเดอื นเพื่อรับการฝึกและท�ำ PLC ทุกวนั หาก ฝกึ 1 ปีแล้วผา่ น จะได้ทำ� งานเปน็ ครูฝึกหัดไปอกี จนครบ 3 ปี จงึ จะได้เป็นครผู ู้สอน ไต่ลำ� ดับข้ึนไปเป็นโคช้ เปน็ เทรนเนอร์ และเปน็ เจา้ ของโรงเรียนร่วมกัน โรงเรยี นลำ� ปลายมาศพฒั นาตอ้ งการประกนั ความสำ� เรจ็ ของการสรา้ งนกั เรยี น คุณภาพ ด้วยครูท่ีเข้าใจกระบวนการเรียนรู้ที่แท้ เข้าใจกระบวนการ PBL เข้าใจ 185

เรื่องจิตศึกษา สามารถท�ำให้เด็กอยู่กับงานแล้ว flow ในสิ่งท่ีท�ำ เข้าถึงสภาวะของ ความเข้าใจ เกิดการเปลี่ยนแปลงในตัวเด็ก จนกลายเป็น (being) ตัวตนของตน อย่างแทจ้ ริง ไมใ่ ชเ่ รียนไปเพอ่ื จดจ�ำ (wording remember) ใหส้ อบได้ ดงั นน้ั ครูเรียนจบวิชาเอกอะไรไม่ส�ำคัญ ขอเพียงเข้าใจกระบวนการเรียนรู้ สรา้ งการเรยี นรู้ พฒั นานกั เรียนตามเปา้ หมาย ได้ ก็เป็นครูท่ียอดเยี่ยมได้ เช่น การสอนระดับมัธยมปลายในโรงเรียนใช้ครูท้ังหมด 5 คน ครปู ระจำ� ชนั้ สอนทงั้ ภาษาไทย องั กฤษและคณติ ศาสตร์ ครใู นระดบั นท้ี กุ คนสอน คณิตศาสตร์ได้ บางวิชาเช่น ภาษาอังกฤษอาจมีครูภาษาอังกฤษเข้ามาช่วยสอน และมี application โรงเรยี นตั้งเป้าให้เรียนแลว้ สามารถเอาไปใช้ประโยชน์ไดจ้ ริงๆ 186

3. การพฒั นาเครือข่าย เปา้ หมายหลักท่ีสำ� คญั เป้าหมายหน่ึงของโรงเรียน คือ การสรา้ งการเปลี่ยนแปลง ให้เกิดการปฏิรูปการศึกษา ตั้งแต่ปี 2546-2551 โรงเรียนพัฒนานวัตกรรมอย่างต่อ เนื่องทุกปี แล้วจึงเร่ิมขยายผลสร้างเครือข่าย “จิตศึกษา” โดยมีโรงเรียนรัฐบาล พัฒนาขึ้นเป็น node ตามพ้ืนที่ต่างๆ ท�ำความรู้จักกัน ท�ำแผนการเรียนการสอน ร่วมกันออนไลน์ และพบปะกันทุกปี ล�ำปลายมาศพัฒนารับท�ำหน้าท่ีเป็นผู้ดูแล network เพ่ือให้เกิด critical mass หรือปริมาณจ�ำนวนโรงเรียนที่มากพอท่ีจัดการ เรียนรู้ในแนวเดียวกันจนสามารถสร้างการเปลี่ยนแปลงการเรียนการสอนใน ประเทศไทย ในมมุ มองของผูบ้ รหิ ารลำ� ปลายมาศพฒั นา ทกุ นโยบายท่ีโรงเรียนรฐั บาล ได้รบั จากผบู้ รหิ ารประเทศน้ันดี แต่ไม่มี “ปญั ญาปฏบิ ตั ”ิ ในพนื้ ทร่ี องรับ เมอื่ ทกุ สว่ น มคี วามตง้ั ใจดี แตไ่ มม่ คี วามเขา้ ใจรองรับ ในท่สี ุดนโยบายดีๆ เรือ่ งดีๆ ท่ตี ั้งใจทำ� กห็ าย ไป การสง่ เสรมิ ใหโ้ รงเรยี นจดั องคก์ รและจดั การเรยี นรไู้ ดถ้ กู ทถี่ กู ทางจะสามารถรองรบั นโยบายต่างๆ ได้ เครือข่าย “จิตศึกษา” มุ่งท�ำงานพิสูจน์ว่าการเรียนรู้สร้างการเปลี่ยนแปลงได้ ทกุ ทแ่ี ละทกุ คน ตามปรชั ญาทเ่ี ชอ่ื วา่ “ไมม่ หี นิ กอ้ นใดโง”่ เครอื ขา่ ยมงุ่ สรา้ งรร.ตน้ แบบ ทั้งขนาดเล็ก กลางและใหญ่ เพื่อท�ำให้เห็นว่ารร.ขนาดเล็กมีคุณภาพทัดเทียม รร.ขนาดใหญ่ได้ และในรร.ขนาดใหญ่ก็จะท�ำงานให้เห็นว่า ไม่ว่าครูจะอายุมากน้อย แค่ไหนกส็ ามารถเปล่ียนแปลงตนเองได้ ไม่มีขอ้ จำ� กดั อะไร เครือขา่ ยจงึ ใหค้ วามสำ� คญั กับการพัฒนาศักภาพคนเพ่ือท�ำให้ “กลไก” ทุกอย่างสามารถเกิดข้ึนในแต่ละรร. ได้เอง โดยมกี ารจัดกระบวนการพัฒนา 187

ใ“กนสลแาไมตกา่ล”ระถรทเรกุก.ไิดอดขย้เ้ึน่าองง 1. ผู้บริหาร โดยมกีการารพจัฒัดนกราะบวน โรงเรียน ของเครือข่าย 2. สร้าง collective trainer ในพ้ืนท่ีขึ้น ช่วยเหลือกันในการ สนับสนุนนวัตกรรมใหม่ๆ ที่แต่ละรร.พัฒนาข้ึนมา หน่วยการเรียนออนไลน์ รร.ล�ำปลายมาศพัฒนา มีมุมมองว่าการที่ระบบการศึกษาพัฒนาไปได้ช้ามาก สาเหตุหนึ่งเป็นเพราะครูไม่ได้คิดกระบวนการในการออกแบบการเรียนรู้เอง ครูต้อง copy แผนตามหนังสือเพ่ือส่งงาน และยังสอนตามแบบเรียน เครือข่าย “จิตศึกษา” จึงร่วมกันออกแบบการเรียนการสอนร่วมกัน สร้างหน่วยการเรียนรู้ออนไลน์ที่ ทุกรร.เครือข่ายสามารถเข้าไปแล้วเอามาปรับใช้กับเด็กได้ ปัจจุบันมีหน่วยการเรียนรู้ อยู่ประมาณ 3,000 หน่วย ครูสามารถพัฒนากิจกรรมต่อ จึงเป็นการเปล่ียนครู ให้เร่ิมคิดเร่ืองการจัดการเรียนรู้ที่สอดคล้องน่าสนใจและมีพลังให้แก่เด็ก ไม่ใช่สอน ตามหนงั สอื 188

ตัวอย่าง วิชาภาษาไทยท่ีมีเป้าหมายการเรียนการสอนให้เกิดทักษะการอ่าน การจับใจความ ตีความได้อย่างแท้จริง ต้องเกิดจากการอ่านภาษาที่ดี จึงออกแบบ การเรียนการสอนโดยใชว้ รรณกรรม ตง้ั แตช่ น้ั ประถม 1 ถึงมัธยม โดยมหี นว่ ยใหเ้ รยี น จ�ำนวนมาก ส่งผลให้ครูได้ “อ่านหนังสือ” มากขึ้นด้วย และการออกแบบ การเรยี นการสอนนั้นไดว้ างอยู่บนกระบวนการทางสมอง ไมใ่ ชแ่ คก่ ารท่องจ�ำ วิชาคณิตศาสตร์แทนที่การพุ่งเป้าไปที่เน้ือหาการจ�ำสูตร ได้เปลี่ยนไปมุ่งที่ การท�ำความเข้าใจเน้ือหาการหาวิธีการใหม่ๆ ในการหาค�ำตอบและมุ่งให้เกิดทักษะ ทางคณิตศาสตร์ ในวิชาภาษาอังกฤษ โดยปกติรร.ไม่มีงบประมาณจ้างครูต่างชาติ เครือข่ายได้ พัฒนา application การสอนภาษาองั กฤษใน iPad โดยออกแบบใหม้ ีระดับ (level) ความรใู้ ห้เขา้ ไปเรียนรู้ ครใู นแตล่ ะรร.สามารถเช่อื มต่อเขา้ กับ smart TV ดว้ ยวิธีการนี้ ครูทุกคนสามารถสอนภาษาองั กฤษได้จากเสยี งจรงิ สื่อจริง แนวทางการปฏิบตั ิทีพ่ ฒั นาทักษะสมอง EF ในร.ร.ล�ำปลายมาศพฒั นา 1. ความผูกพัน (attachment) คือองค์ประกอบพ้ืนฐานที่ส�ำคัญท่ีสุด รร.ล�ำปลายมาศพัฒนายึดหลกั ว่าเมือ่ สมองสว่ นกลางรสู้ กึ ปลอดภัย ไดร้ บั การเติมเตม็ สมองส่วนหน้าจึงพร้อมเรียนรู้ โรงเรียนได้สร้างนวัตกรรม “จิตศึกษา” เป็นกระบวน การ active learning เรียนรู้ด้านในตน เป็นประตูเปิดการเรียนรู้และพัฒนาปัญญา ภายในของนักเรียนและครูไปพร้อมกัน ผ่าน 3 กระบวนการใหญ่ 189

1.1 การสร้าง 1.2 การใช้ 1.3 การใช้กิจกรรม สนามพลังออกมา จิตวิทยาเชิงบวก ที่ก่อให้เกิด สุนทรียะ เป็นวิถีชุมชน 190

1.1 การสร้างสนามพลังออกมาเป็นวิถีชุมชน คือ สร้างสภาพแวดลอ้ มที่รม่ รนื่ รม่ เย็น สะอาด มีกจิ กรรม ปรนนบิ ตั สิ ถานท่ี ครสู อนเสยี งเบา อาหารคลนี (clean) มีวิถีปฏิบัติในการใช้ชีวิตในโรงเรียนทั้งวันต่อเน่ือง บนการมีส่วนร่วม มีข้อตกลงร่วมกัน ส่ือสารกันด้วย “ภาษาดอกไม้” มีความสัมพันธ์กันบนความเท่าเทียม ทง้ั ศิษย์และครเู คารพกนั เหน็ ใจกัน เรียกกนั และกันวา่ “พ่ี” เปน็ ตน้ 1.2 การใช้จิตวิทยาเชิงบวก ให้ข้อมูล ให้ “อิสระ” ในการตัดสินใจเลือกเอง ไม่บังคับหรือ ส่ังนักเรียนท�ำสิ่งใดส่ิงหน่ึงโดยไม่สมัครใจ ให้ความส�ำคญั กบั “เรอ่ื งด”ี 1.3 การใช้กิจกรรมท่ีก่อให้เกิดสุนทรียะ ได้แก่ ศิลปะ ดนตรี ธรรมชาติศึกษา ให้เกิด การเชอื่ มโยงและสะทอ้ นคดิ กบั สาระการเรยี น รแู้ ละสง่ิ ท่เี กิดข้นึ ภายในตน 191

2. การสร้างสภาพแวดล้อม active learning ผ่าน PBL (Problem - Based Learning) เรียนรู้ผ่าน “ปัญหา” เพ่ือเข้าใจถึงหลักการน�ำเข้าไปสู่การเข้าใจชีวิต และใช้ไดจ้ ริง มทีขี่สั้น�ำตคอัญน • ชง ด้วยการท่ีครูและเด็กร่วมกันส�ำรวจ สังเกต ท้าทายให้น�ำไปสู่ 4 ขั้นตอนคือ ความรู้ สร้างความสนใจร่วมกันทั้งห้องและออกแบบการเรียนรู้ร่วมกัน • ใช้ prove ลงมือท�ำเพื่อพิสูจน์ความรู้หรือข้อมูลที่ได้ ออกแบบ วิธีการใหม่ๆ ในการแก้ปัญหาใหม่ๆ และทดลองลองผิดลองถูก • reflection สะท้อนมุมมองและความคิดจากนักเรียนแต่ละคน เพื่อก้าว ไปสู่ข้อสรุปใหม่หรือพัฒนาไปสู่ความรู้ความเข้าใจท่ีลึกและกว้างขวางขึ้น • เชื่อม ประมวลความรู้ใหม่เชื่อมเข้าสู่ตนเอง เช่ือมความรู้และมุมมองแต่ละ คนท�ำให้เกิดการเรียนรู้จากกันและน�ำไปสู่การ “เคารพ”กันและกัน “เคารพ และเห็นคุณค่า”ของความแตกต่าง สร้าง concept ในเร่ืองท่ีเรียนรู้ 192

องค์ประกอบที่ส�ำคัญเรื่องความผูกพันไว้ใจ และการสร้างประสบการณ์ active learning เป็นแกนกลางขององค์ประกอบที่ส่งเสริมทักษะสมอง EF อ่ืนๆ ท่ีประกอบกันข้ึนมาเป็นระบบ eco system ของโรงเรียนท่ีมีสภาพแวดลอ้ มที่สง่ เสริมการพฒั นาทางร่างกาย อารมณ์ จิตใจและ ความคดิ สร้างการเรียนรู้ทางสังคม เข้าใจอารมณ์และความคิดผู้อ่ืน แนวทางการปฏิบตั ิท่ีพัฒนาทกั ษะสมอง EF ใ นโรงเรยี นลำ� ปลายมาศพัฒนา และปัญญาประทปี ในภาพรวมใหญแ่ นวทางการปฏิบัตทิ ่ีพฒั นาทักษะสมอง EF ของท้ังสองโรงเรยี น คือรร.ปัญญาประทีบและรร.ล�ำปลายมาศพัฒนาไม่แตกต่างกันมาก การต้ังเป้าหมาย ของโรงเรยี นทงั้ สองแหง่ มคี วามชดั เจนมากวา่ นกั เรยี นทจ่ี บออกไปจะพฒั นาตอ่ ไปเปน็ มนุษย์ท่ีสมบูรณ์ คือมี “จิตใหญ่” มีปัญญาท้ังภายในภายนอกในการด�ำเนินชีวิต เพ่ือตนเอง ผู้อ่ืนและสังคมในศตวรรษที่ 21 แต่ในเชิงวิสัยทัศน์และบริบทมีความ แตกตา่ งกนั ออกไป วสิ ยั ทศั น์ “TO BE” ของรร.ปญั ญาประทปี คอื ชมุ ชนของกลั ยาณมติ ร ทมี่ คี วามตงั้ มน่ั และความเพยี รในการศกึ ษา พฒั นาความรู้ บม่ เพาะชวี ติ ของตนเองและ สามารถน�ำพาสังคมให้มีความสุขที่แท้จริงตามวิถีแห่งพุทธะ ส่วนท่ีรร.ล�ำปลายมาศ พัฒนา “BEING” คือผู้เรียนเรียนรู้อย่างมีความสุขเต็มศักยภาพ เป็นคนดีและคนเก่ง สอดคล้องกับวิถีชีวิตและกลมกลืนกับวิทยาการสมัยใหม่ สู่ความเป็นมนุษย์ท่ีสมบูรณ์ พร้อมด้วยคุณธรรม ภูมิปัญญาและส�ำนึกในความเป็นพลเมืองดี สร้างการเรียนรู้บน ธรรมชาติของมนุษย์ตามบริบทของนักเรียนให้เกิด “การเปลี่ยนแปลงที่มีพลังพลวัตร ไปไมส่ ิน้ สุด” 193

ข“วอTิสงOโัยรงทเBัศรีEยนน”์ คื อ ชุ ม ช น ข อ ง กั ล ย า ณ มิ ต ร ท่ี มี ค ว า ม ตั้ ง มั่ น ปัญญาประทีป และความเพียรในการศึกษา พัฒนาความรู้ บ่มเพาะชีวิตของตนเองและสามารถน�ำพา สังคมให้มีความสุขท่ีแท้จริงตามวิถีแห่งพุทธะ โรงเรียน คือผู้เรียนเรียนรู้อย่างมีความสุขเต็มศักยภาพ เป็นคนดี ล�ำปล“BาEยมIาNศGพัฒ” นา และคนเก่ง สอดคล้องกับวิถีชีวิตและกลมกลืนกับวิทยาการ สมัยใหม่ สู่ความเป็นมนุษย์ท่ีสมบูรณ์ พร้อมด้วยคุณธรรม ภูมิปัญญาและส�ำนึกในความเป็นพลเมืองดี สร้างการเรียนรู้ บ น ธ ร ร ม ช า ติ ข อ ง ม นุ ษ ย ์ ต า ม บ ริ บ ท ข อ ง นั ก เ รี ย น ใ ห ้ เ กิ ด “การเปล่ียนแปลงท่ีมีพลังพลวัตรไปไม่สิ้นสุด” 194

บริบทของปัญญาประทีปเป็นโรงเรียนประจ�ำของเด็กระดับมัธยมที่มาจาก ครอบครัวชนช้ันกลางท่ีมีฐานะทางเศรษฐกิจดี ส่วนโรงเรียนล�ำปลายมาศเป็น โรงเรียนในชนบทท่ีสอนต้ังแต่อนุบาลไปถึงมัธยม นักเรียนส่วนใหญ่ฐานะยากจน และสองในสามไม่ได้อยู่กับพ่อแม่ ทั้งสองแห่งจึงเป็นต้นแบบที่มีลักษณะเฉพาะตัว ที่ต่างกันออกไป ท�ำให้ได้เห็นรูปธรรมท่ีรุ่มรวยลึกซึ้งที่สังคมไทยจะได้น�ำไปปรับใช้ ในการพัฒนาทกั ษะสมอง EF ได้จริงจงั ตอ่ ไป เมื่อได้ลงมือจัดการความรู้เร่ืองทักษะสมอง EF เชื่อมเข้ากับการจัดการเรียนรู้ ของรร.ลำ� ปลายมาศพฒั นา พบวา่ โรงเรยี นไดอ้ ำ� นวยใหเ้ กดิ สภาพแวดลอ้ มทสี่ นบั สนนุ การพัฒนาทักษะสมอง EF ท้ัง 5 ด้านเช่นเดียวกับรร.ปัญญาประทีบ โดยได้สร้าง นวัตกรรมและโครงสร้างการเรียนรู้ท่ีมีลักษณะโดดเด่นของตนขึ้นมาฝึกทักษะสมอง EF ทัง้ นักเรยี นและครูอยา่ งสมำ�่ เสมอตอ่ เนอ่ื งตลอดเวลาทกุ วัน 195

7 196

QQ&& AA 197

ถา้ เล้ียงลกู ดว้ ยการฝึกทกั ษะสมอง EF มาอยา่ งดี ทักษะน้จี ะมโี อกาสสญู เสียไปใน ชว่ งวยั รุ่นหรือวยั ท�ำงานหรือไม่ >> ถ้าลูกของเราดี แต่อยใู่ นสงั คมหรือสิง่ แวดลอ้ มท่ีเป็นอนั ตราย โอกาสเสี่ยงเกิดขน้ึ ได้ แต่ความรุนแรงจะนอ้ ยกว่า เช่น ถ้าอยากจะไปลองอะไรสกั อย่าง โอกาสทีจ่ ะเขา้ ไป จนตดิ เลยจะนอ้ ยกวา่ เดก็ ทไ่ี มเ่ คยไดร้ บั การฝกึ มา เดก็ จะมคี วามสามารถฉกุ คดิ ได้ และ ถา้ ผปู้ กครองดูแลดๆี เดก็ กจ็ ะผ่านจดุ น้ันไปได้ ยงั ยืนยัน 100% ไมไ่ ดว้ ่าท�ำอยา่ งนี้แล้ว เดก็ จะไมต่ ิดยาเลยตราบใดทย่ี ังเปลี่ยนส่ิงแวดลอ้ มไมไ่ ด้ หากไม่ไดฝ้ กึ ทกั ษะหรอื สอนลกู ตง้ั แตช่ ว่ งปฐมวยั แลว้ จะมาสอนทหี ลงั สามารถทำ� ได้ หรอื ไม่ >> การฝกึ ทกั ษะในช่วงปฐมวัยเป็นการสรา้ งพื้นฐานท่ดี ที ี่สุด เราสามารถสอนทหี ลัง ได้แต่จะต้องใช้ความพยายามมากกว่า สมองของมนุษย์มีความยืดหยุ่นตลอด ถ้าเรารู้ ว่าเราบกพร่องตรงไหน และมุ่งมั่นท่ีจะเปล่ียนแปลงให้ได้ น่ีคือกระบวนการใช้ทักษะ สมอง EF หากใช้บ่อยๆ ก็จะเห็นการเปลี่ยนแปลงเพราะสมองของมนุษย์ไม่ได้เป็น ของแข็ง เซลล์ประสาทท�ำงานเคล่ือนไหวตลอดเวลา เมื่อใช้ทักษะของสมอง EF เร่อื งใดมาก ตรงน้ันจะเดน่ ขน้ึ มา อยา่ งไรกต็ ามทกั ษะสมอง EF คอื กระบวนการทสี่ มองสว่ นหนา้ นำ� เอาประสบการณ์ ในอดีตมาประมวลใช้กับสถานการณ์ใหม่เฉพาะหน้าที่ไม่เคยเจอ เพ่ือตัดสินใจว่าจะ จดั การอยา่ งไร หากไดฝ้ กึ ทักษะสมอง EF มาต้งั แต่เด็ก รจู้ กั หยดุ รู้จกั คิดบ่อยๆ ก็จะมี การคิดท่ีว่องไว สังเกตได้เร็วว่าสถานการณ์ที่เผชิญอยู่ปลอดภัยหรือไม่ รู้จักถอยตัว ออกมา ในขณะที่เดก็ ซง่ึ ไมเ่ คยถูกฝกึ จะมีทักษะเช่นนีน้ ้อยกวา่ ในโครงสร้างของสมอง 3 ส่วน สมองส่วนหน้าที่มีทักษะสมอง EF จะท�ำงาน ไดเ้ มอ่ื สมองอกี 2 สว่ นคอื สว่ นสญั ชาตญาณและสว่ นอารมณย์ อมใหท้ ำ� งาน สญั ชาตญาณ 198

กบั อารมณเ์ ปน็ ความตอ้ งการพน้ื ฐานทางรา่ งกายและจติ ใจของมนษุ ย์ ตามกฎธรรมชาติ ต้องเข้าใจก่อนว่าหากมนุษย์ยังไม่ได้รับการตอบสนองทางร่างกายและจิตใจ สมองจะ ใช้พลังงานท้งั หมดมาตอบสนองความต้องการพ้นื ฐานเหลา่ นีก้ อ่ น วยั รนุ่ ตอ้ งการพนื้ ทแ่ี สดงตวั ตน อยากเปน็ ทย่ี อมรบั ของสงั คม พนื้ ฐานทางครอบครวั หรอื ความผกู พนั ทมี่ ตี อ่ คนสำ� คญั ในชวี ติ เปน็ แรงผลกั ดนั ทสี่ ำ� คญั ใหค้ นคนหนงึ่ ใชท้ กั ษะ สมอง EF วางแผนทำ� งาน อดทนพัฒนาตนเองไปให้ถงึ เป้าหมาย ท้ายท่ีสดุ กเ็ พือ่ กลับ มาตอบความต้องการพ้ืนฐานทางจิตใจของตนเอง นั่นเองคือการได้รู้สึกว่าตนเอง มีความหมายตอ่ คนทต่ี นรัก จะสอนทกั ษะสมอง EF ใหว้ ัยร่นุ อย่างไร >> ให้โอกาสได้ลงมือท�ำด้วยตนเอง เช่น หากอยากให้ได้ฝึกทักษะการวางแผน ให้มอบหมายงานท่ีมีการใช้เวลา ครูและพ่อแม่สามารถแนะน�ำตั้งแต่แรก สอนให้ เร่ิมคิดต้ังแต่ต้นทางว่าจะท�ำอะไร มีวิธีหาวัตถุดิบอย่างไร ใครเป็นคนท�ำ วางระยะ การท�ำงานอย่างไร ท่ีส�ำคัญปล่อยให้เด็กได้เจออุปสรรคด้วยตนเอง เพราะอุปสรรค จะเปน็ ตวั ทำ� ใหไ้ ดฝ้ กึ สมองสว่ นหนา้ การทผี่ ใู้ หญใ่ หเ้ ดก็ เจออปุ สรรคในระหวา่ งทผี่ ใู้ หญ่ ยงั สามารถดแู ลใหค้ ำ� แนะนำ� เด็กได้ เป็นการใหโ้ อกาสเดก็ ได้เรยี นรู้ พ่อแม่อย่ามัวแต่จะต�ำหนิลูก แต่ให้คิดว่าตนเองเป็นสมองส่วนหน้าของลูกไปเลย อย่าเหน่ือยหนา่ ยท่ีจะเปน็ แบบอยา่ ง เปน็ ค่คู ดิ ของลูก พอ่ แม่ทไ่ี ม่ไดฝ้ กึ ลกู มาต้งั แตเ่ ล็ก เมื่อลูกเป็นวัยรุ่นมักเป็นคนไม่มีความยับยั้งช่ังใจ อยากท�ำอะไรจะท�ำเลย พ่อแม่ต้อง ไม่คาดหวังว่า อยู่ดีๆ ความยับยั้งชั่งใจจะเกิดขึ้นเอง เป็นไปไม่ได้ ถึงตอนที่ลูกเป็น วัยรุ่นพ่อแม่ต้องช่วยลูกประคับประคองให้ได้คิด หากพ่อแม่เอาแต่ต�ำหนิ สมอง ส่วนอารมณ์ซ่ึงควบคุมความต้องการพ้ืนฐานของจิตใจจะส่ังการให้ลูกหลีกหนีจาก สิ่งทไ่ี มช่ อบ แลว้ จะออกหา่ งจากพ่อแม่ไปเรือ่ ยๆ 199