Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore กระดาษทำการ

กระดาษทำการ

Published by 039สุธิเนตร, 2022-08-22 04:52:24

Description: ใบงานที่ 5.1 ข้อ 4

Search

Read the Text Version

กระดาษทำการ

ความหมายของกระดาษทำการ กระดาษทำ การ (Work Sheet or Working Papers) หมายถึง แบบฟอร์มหรือ กระดาษร่างที่กิจการจัดทำ ขึ้น เพื่อเป็นเครื่องมือที่ช่วย ให้การจัดทำ งบการเงินเป็นไป อย่างสะดวก รวดเร็ว และ ไม่ผิดพลาด แต่กรณีที่เป็นกิจการขนาดเล็กและมีรายการไม่ มากนักอาจไม่จำ เป็น ต้องจัดทำ กระดาษทำ การก่อนทำ งบการเงินก็ได้ โดยกระดาษ ทำ การจะมีด้วยกันหลายชนิด เช่น ชนิด 6 ช่อง 8 ช่อง หรือ 10 ช่อง เป็นต้น

รูปแบบของ กระดาษทำการ รูปแบบของกระดาษทำ การมีหลายรูปแบบดังนี้ 1.) กระดาษทำ การชนิด 6 ช่องได้แก่ ช่องงบทดลอง 2 ช่อง คือ ด้านเดบิตและเครดิต ช่องงบกำ ไรขาดทุน 2 ช่อง คือ ด้านเดบิตและเครดิต ช่องงบดุล 2 ช่อง คือ ด้านเดบิดและเครดิต 2.) กระดาษทำ การชนิด 8 ช่องได้แก่ - ช่องงบทดลอง 2ช่อง คือ ด้านเดบิตและเครดิต - ช่องปรับปรุง2ช่อง คือ ด้านเดบิตและเครดิต - ช่องงบกำ ไรขาดทุน 2 ช่อง คือ ด้านเดบิตและเครดิต - ช่องงบดุล 2 ช่อง คือ ด้านเดบิดและเครดิต

รูปแบบของกระดาษทำการ 3.) กระดาษทำ การชนิด 10 ช่อง ได้แก่ ช่องงบทดลอง 2 ช่อง คือ ด้านเดบิตและเครดิต ช่องปรับปรุง 2 ช่อง คือ ด้านเดบิตและเครดิต ช่องงบทดลองหลังปรับปรุง 2 ช่อง คือ ด้านเดบิตและเครดิต ช่องงบกำ ไรขาดทุน 2 ช่อง คือ ด้านเดบิตและเครดิต ช่องงบดุล 2 ช่อง คือ ด้านเดบิดและเครดิต

หลักการทำกระดาษทำการ กระดาษทำ การชนิดนี้จะเป็นกระดาษทำ การชนิด 6 ช่องดังที่ได้กล่าวมาแล้วขั้น ตอนในการจัดทำ ดังนี้ 1.) เขียนส่วนบนของกระดาษ จะประกอบด้วยข้อความ3บรรทัด 1.1) คำ บอกชื่อของกิจการ 1.2) คำ บอกชื่อของเอกสาร 1.3 ) ข้อความแสดงระยะเวลา 2.) ทำ งบทดลองโดยนำ ยอดดุลในบัญชีต่างๆ หรืองบทดลองที่ได้จัดทำ ไว้แล้ว มาแสดง ในกระดาษทำ การช่องชื่อบัญชี ช่องเลขที่บัญชี ช่องงบทดลองแล้วรวบรวมยอด เดบิตและเครดิต ซึ่งจำ นวนเงินจะต้องเท่ากัน 3.) นำ จำ นวนเงินในงบทดลองไปแสดงในช่องกำ ไรขาดทุน และงบด

ประโยชน์ของกระดาษทำการ 1.) เป็นกระดาษร่างช่วยจำ แนกตัวเลขจากทดลองไว้ใน ช่องต่างๆ เพื่อช่วยในการเตรียมงบการเงิน 2.) เพื่อช่วยใหทราบผลการดำ เนินงานสำ หรับระยะ หนึ่งว่ามีกำ ไรหรือ มีขาดทุนสุทธิเป็นจำ นวนเงินเท่าใด 3.) ช่วยทราบถึงฐานะการเงินของกิจการว่ามีสินทรัพย์ หนี้ และทุน เป็นเงินจำ นวนเท่าใด 4.) ทำ ให้เกิดสะดวกและประหยัดเวลาในการที่จะไปทำ งบกำ ไรขาดทุน และงบดุลในขั้นต่อไป

บริษัท ณัฐพล จำกัด เป็นบริษัทจำ หน่ายสินค้า ใช้ระบบบันทึกสิ้นค้าแบบสิ้นงวด (Periodic lnventory System) บริษัทปรับปรุงและปิดบัญชีปีละครั้งทุกวันสิ้นปี ข้อมูลต่อไปนี้เป็นยอดคงเหลือก่อนปรับปรุง ชื่อบัญชี หน่วย : บาท เงินสด 900,000 ลูกหนี้การค้า 450,000 ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ 10,500 สินค้าคงเหลือ 300,000 วัสดุสำ นักงาน 17,200 ค่าประกันภัยจ่ายล่วงหน้า 40,000 อุปกรณ์สำ นักงาน 500,000 ตั๋วเงินจ่าย 10% 100,000 เจ้าหนี้การค้า 240,000

บริษัท ณัฐพล จำกัด เป็นบริษัทจำ หน่ายสินค้า ใช้ระบบบันทึกสิ้นค้าแบบสิ้นงวด (Periodic lnventory System) บริษัทปรับปรุงและปิดบัญชีปีละครั้งทุกวันสิ้นปี ข้อมูลต่อไปนี้เป็นยอดคงเหลือก่อนปรับปรุง ชื่อบัญชี หน่วย : บาท ทุนหุ้นสามัญ 1,000,000 กำ ไรสะสม 295,000 ส่งคืนและส่วนลดที่ได้รับ 7,300 ส่วนลดรับ 6,200 ค่าขนส่งเข้า 12,000 เงินเดือน 52,000 ค่าเช่า 50,000 ค่าสาธารณูปโภค 55,000

บริษัท ณัฐพล จำกัด เพสลีย์ เป็นบริษัทจำ หน่ายสินค้า ใช้ระบบบันทึกสิ้นค้าแบบสิ้นงวด (Periodic lnventory System) บริษัทปรับปรุงและปิดบัญชีปีละครั้งทุกวันสิ้นปี ข้อมูลต่อไปนี้เป็นยอดคงเหลือก่อนปรับปรุง ข้อมูลเพิ่มเติม 1. บริษัทปิดบัญชีทุกวันที่ 31 ธันวาคม ของทุกปี 2. สินค้าคงเหลือปลายงวด 31 ธันวาคม 25X1 ตรวจนับได้ 240,000 บาท 3. อุปกรณ์สำ นักงานซื้อเมื่อวันที่ 31 ธันวาคม 25X0 โดยกิจการคิดค่าเสื่อมราคาในอัตรา 20 % 4. วัดสุสำ นักงานคงเหลือปลายงวดมีจำ นวน 1,800 บาท 5. ค่าประกันจ่ายล่วงหน้าสำ หรับระยะเวลา 4 เดือน เริ่มตั้งแต่วันที่ 1 พฤติกายน 25X1 6. ตั๋วเงินจ่ายชนิด10% ต่อปี เป็นตั๋วเงินจ่ายที่ออกเมื่อวันที่ 1 ตุลาคม 25X1 เป็นตั๋วเงินจ่ายที่มีอายุ 120 วัน 7. พนักงานบัญชีลืมบันทึกรายรับชำ ระหนี้จากนายสมคิด ซึ่งจ่ายชำ ระในวันที่ 20 ธันวาคม 25X1 เป็นจำ นวนเงิน 20,000 บาท ไม่ได้รับส่วนลดเงินสด 8. บริษัทประมาณการหนี้สงสัยจะสูญในอัตรา 3% ของยอดลูกหนี้คงเหลือ

รายการปรับปรุง

กระดาษทำการ

กระดาษทำการ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook