Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การจัดการเรียนรู้และการจัดการชั้นเรียน

การจัดการเรียนรู้และการจัดการชั้นเรียน

Description: รวมทั้งหมด 11 หน่วยการเรียนรู้

Search

Read the Text Version

ขั้นตอนในการระดมสมอง 1. กาหนดปญั หา 2. แบ่งกลุ่มผู้เรียน และอาจเลือกประธานหรือเลขา เพื่อช่วยในการอภิปราย และบันทกึ ผล 3. สมาชิกทุกคนในกลุ่มช่วยกันคิดหาคาตอบหรือทางเลือกสาหรับปัญหาท่ี กาหนดให้มากที่สุดภายในเวลาท่ีกาหนด โดยปัญหาของแต่ละกลุ่มอาจเป็นปัญหา เดยี วกนั หรอื ต่างกันกไ็ ด้ 4. คัดเลอื กเฉพาะทางเลอื กท่ีนา่ จะเปน็ ไปได้ หรอื เหมาะสมทส่ี ุด 5. แตล่ ะกลมุ่ นาเสนอผลงานของตน ( ข้อ 4 และ 5 อาจสลับกันได้ ) 6. อภปิ รายและสรุปผลขอ้ ดแี ละขอ้ จากดั 201

ข้อดี 1. ฝกึ กระบวนการแกป้ ญั หาและมคี ุณค่ามากท่จี ะใชเ้ พ่ือแก้ปญั หาหน่ึง 2. ก่อใหเ้ กิดแรงจูงใจในตัวผู้เรียนสงู และฝกึ การยอมรบั ความเห็นที่แตกต่างกนั 3. ได้คาตอบหรอื ทางเลือกไดม้ าก ภายในเวลาอันสัน้ 4. ส่งเสริมการร่วมมือกัน 5. ประหยัดค่าใช้จา่ ยและการจดั หาสอ่ื เพิ่มเติมอน่ื ๆ 202

ขอ้ จากัด 1. ประเมินผลผเู้ รยี นแตล่ ะคนได้ยาก 2. อาจมผี เู้ รยี นสว่ นนอ้ ยเพียงไมก่ ค่ี นครอบครองการอภปิ รายสว่ นใหญ่ 3. เสียงมกั จะดังรบกวนห้องเรียนข้างเคยี ง 4. ถ้าผจู้ ดบันทึกทางานไดช้ า้ การคดิ อยา่ งอสิ ระก็จะช้าและจากัดตามไปด้วย 5. หวั เร่อื งตอ้ งชดั เจนรดั กุม 203

8 การจดั การเรียนรูแ้ บบการลงมือปฏบิ ตั ิ ( Practice ) วิธีสอนทีใ่ ห้ประสบการณต์ รงกับผูเ้ รียน โดยการใหล้ งมือปฏิบตั จิ รงิ เปน็ การสอนที่มุ่งให้เกิดการผสมผสานระหว่างทฤษฎี และ ภาคปฏิบัติ วิธีปฏิบัติ ให้ผู้เรียนไดล้ งมอื ฝึกฝนหรอื ปฏิบตั ิจริง 204

ขัน้ ตอนการสอน 1.ขนั้ เตรยี ม 205

2.ขัน้ ดาเนนิ การ 206

3.ข้นั สรุป 207

4.ขัน้ ประเมนิ ผล ข้อควรคานงึ 208 ตอ้ งใชว้ ัสดอุ ปุ กรณ์ และเครอ่ื งมอื จานวนมาก และ มคี ุณภาพ

การจัดการเรียนรแู้ บบ MIAP Motivation Information Application Progress 209

1.ข้นั สนใจปญั หา (Motivation) แสดงช้นิ งานสาเร็จหรอื ผลงานทีเ่ ก่ียวขอ้ งโดยตรงกับบทเรยี น แลว้ ถามคาถามใชส้ อ่ื ชว่ ยสอน นาเข้าสูบ่ ทเรียนดว้ ยภาพ แบบจาลอง ของตัวอย่าง หรือส่ิงที่จะชว่ ยดึงดดู ความสนใจ 210

2.ขัน้ ศึกษาขอ้ มลู (Information) 211

3.ข้ันพยายาม (Application) 212

4.ข้ันสาเรจ็ ผล (Progress) 213

ความสัมพนั ธข์ องกระบวนการเรยี นการสอน การเรยี น การสอน การสนใจปญั หาหรือบทเรียน การนาเขา้ สู่บทเรียน การรับข้อมูล การให้เนื้อหา การทาแบบฝกึ หดั หรอื กิจกรรม การให้แบบฝกึ หดั การทราบผลของกิจกรรม การตรวจผลการฝกึ หัด 214

10 การจดั การเรยี นรแู้ บบใชส้ ่อื (Media) วธิ ีสอนโดยการใชส้ อื่ คอื กระบวนการท่ผี ู้สอนได้ใชว้ สั ดุ เครอ่ื งมือ อปุ กรณ์ รวมทัง้ วธิ ีการต่าง ๆ เป็นตวั กลางใน การสื่อความหมายใด ๆ เพอ่ื ถ่ายทอดความรไู้ ปสผู่ เู้ รียน ตามวตั ถปุ ระสงค์การเรียนรทู้ ก่ี าหนดไว้ 215

การทาสง่ิ ท่ีซับซ้อนหรือเปน็ นามธรรมเข้าใจยาก ใหเ้ ปน็ รูปธรรมท่เี หน็ ภาพชัดเจนและ เข้าใจงา่ ย ทาใหผ้ ู้เรยี นเกิดความสนใจและสามารถเรยี นรู้ได้ในปริมาณท่มี ากขึ้น 216

ขั้นตอนการสอนโดยการใชส้ ่ือ 217

218

1. ข้ันนาเข้าสู่บทเรยี น 219

2. ขน้ั ดาเนนิ การสอน 220

3. ข้ันฝึกปฏบิ ตั ิ 221

4. ข้ันสรุปบทเรยี น 222

หน้าหลกั คณุ ค่าของวธิ สี อนโดยการใช้สอ่ื 1) ชว่ ยใหค้ ณุ ภาพการเรียนรู้ของผูเ้ รยี นดขี ึ้น ผู้เรยี นสามารถจาได้ มากและนานขึ้น 2) ชว่ ยให้ผู้เรยี นเรยี นร้ใู นปรมิ าณมากขึ้นในเวลาที่กาหนดไว้ 3) ช่วยให้ผู้เรียนมคี วามสนใจและมสี ว่ นรว่ มในกระบวนการเรียนรู้ 223

หนา้ หลกั 224

ทกั ษะและเทคนคิ การสอน 225

ทกั ษะ ความหมาย ความสามารถ ความชานาญใน การกระทาบางสิ่งบางอย่างได้เป็นอย่างดี ด้วยความถูกต้อง แม่นยา ในระยะเวลาท่ี รวดเร็ว เช่น ความสามารถในการอ่านเร็ว ทางานเรว็ เป็นตน้ อยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ 226

เทคนคิ การสอน คอื กลวิธีตา่ งๆทีใ่ ชเ้ สริมกระบวนการ ขน้ั ตอน วิธกี าร หรือการกระทาใดๆ เพอื่ ชว่ ยให้ กระบวนการ ข้นั ตอน วิธกี ารหรือการกระทานน้ั ๆ มี คุณภาพและประสิทธิภาพมากขนึ้ 227

ทักษะพืน้ ฐานที่สาคัญสาหรับผ้สู อนในระดบั วิชาชพี 1.ทกั ษะการนาเข้าส่บู ทเรยี น การนาเขา้ สูเ่ รอ่ื งที่จะเรยี น เปน็ ข้นั การสอน หรอื กิจกรรมท่จี ัดขึน้ เพื่อเรม่ิ ตน้ ทาการสอนเพ่ือดึงความ สนใจ ใหผ้ ู้เรียนพรอ้ มทจ่ี ะติดตามบทเรยี นต่อไป 228

2. ทักษะการใช้วาจากรยิ าทา่ ทางในการสอน การใชว้ าจากิรยิ าท่าทาง ในการสอนนบั วา่ เป็นสิ่งสาคัยอย่างยง่ิ ของครู เพราะการที่นกั เรียน จะเกดิ ความพอใจและสนใจท่จี ะเรียนน้ัน บุคลกิ ภาพของครนู ัน้ จาเป็นอยา่ งหนง่ึ เพราะบคุ ลกิ ภาพของครู รวมทั้งความสามารถในการสอื่ ความหมายระหว่างครกู บั นักเรียนจะช่วยใหน้ ักเรียนไม่เบอื่ หน่าย เทคนิคการใชว้ าจากิริยา ท่าทางประกอบการสอน การเคล่อื นไหวและ เร่ิมแรกที่เข้ามาในห้องเรียนครูควรเดินด้วยท่าทางที่เหมาะสมสง่า การเปลยี่ นอริ ิยาบท งามและดเู ป็นธรรมชาติ 229

การใช้มอื และแขน ใช้มือประกอบท่าทางในการพดู ซึ่งจะเปน็ สิ่งดงึ ดดู ใจของนกั เรยี น เพราะนักเรยี นสนใจดูสงิ่ เคลอ่ื นไหวมากกวา่ สิ่งทน่ี ่งิ 230

การแสดงออกทางสีหนา้ สายตา การแสดงออกทางหน้าตา สายตา เป็นสว่ นหนึ่งทีใ่ ชส้ ่ือความหมายกบั ผเู้ รยี น ผเู้ รยี นจะ เขา้ ใจถงึ ความรสู้ กึ หรือเขา้ ใจในอารมณก์ ารสอน ในการสอนบทเรียนทม่ี ีความตืน่ เตน้ สหี นา้ ของครูตอ้ งคล้อยตามสมั พันธก์ บั ความร้สู กึ ดงั กล่าวดว้ ย 231

การทรงตัวและการวางทา่ ทาง ควรวางทา่ ใหเ้ หมาะสม ไมด่ ูตรงึ เครยี ด หรือเกรงเกินไป ควรวางท่าทางและทรงตวั ขณะสอนให้ดเู ป็นธรรมชาตแิ ตก่ ไ็ มด่ ูปลอ่ ยตามสบายจนเกินไป การใชน้ ้าเสยี ง ควรใชน้ ้าเสียงทช่ี ดั เจนเหมาะสม ไม่ช้า ไมเ่ ร็วจนเกินไป มกี ารออกเสียงการใช้ถอ้ ยคา ถกู ต้อง ไม่แสดงอารมณ์ท่ไี ม่สมควรออกทางน้าเสียงเพราะโดยปกติแลว้ น้าเสียงของครสู ามารถ บอกอารมณไ์ ด้และความรูส้ ึกของครูไดอ้ ยา่ งดี ถา้ ครเู สยี งดนี ักเรยี นกจ้ ะมคี วามรูส้ กึ ทด่ี ีตอ่ ครู 232

เสยี งมี ปกติ 3 ระดับ กลาง สูง 233

หลกั การในการควบคุม กิรยิ า เขา้ หา สายตา วาจา บทลงโทษ 234

การแตง่ กาย ครูควรแต่งกายให้ถกู ตอ้ งเหมาะสมเพราะถ้าครแู ตง่ กายสวย เดน่ จนเกนิ ไปทาให้นักเรยี นจะให้ความสนใจกับครูมากกว่าบทเรียน ผ้สู อนควรแตง่ กายใหเ้ รยี บรอ้ ย 235

3. ทักษะการอธบิ าย ทกั ษะการอธบิ าย หมายถงึ ความสามารถในการพดู แสดงรายละเอียดและใหต้ ัวอย่างให้ ผูเ้ รียนเข้าใจ หายจากข้อสงสัย เกดิ ความชัดเจนในสิ่งนนั้ หรอื ขยายความในลักษณะทชี่ ่วยให้ ผู้อน่ื เขา้ ใจเรือ่ งราวต่าง ๆ ได้ชดั เจนข้ึน ซงึ่ อาจกระทาไดโ้ ดยการบอก การตีความ การสาธิต การยกตัวอยา่ ง ฯลฯ บางคร้งั เพอื่ ใหก้ ารอธิบายเป็นที่เข้าใจไดง้ า่ ย อาจจะใชว้ สั ดอุ ุปกรณ์ตา่ ง ๆ ประกอบการอธิบาย ก็จะช่วยทาให้ผ้ฟู ังสนใจและเขา้ ใจความหมายได้ดีข้ึน 236

เวลาอภปิ ราย ภาษาท่ีใช้ ส่อื การสอน ไมเ่ กิน 10 ง่ายแก่การ นาที เข้าใจ เทคนิคการสอนการอภปิ ราย เร่ิมจากงา่ ย ไปหายาก มีการสรปุ ทา่ ทาง อภปิ ายด้วย 237 ใหแ้ นวคิด

4.ทกั ษะการเร้าความสนใจ การเร้าใจสนใจเป็นสง่ิ สาคัญอยา่ งย่งิ ท่ีจะชว่ ยให้การเรียนการสอนนั้นประสบผลดี เพราะจะชว่ ย ให้ครูปรับปรงุ วธิ ีการสอนให้เดก็ เกดิ สนใจในการเรียนและติดตามกจิ กรรมโดยตลอดไม่เบอื่ หน่ายดังน้ัน พยายามใช้เทคนิคต่าง ๆ มากระต้นุ ใหน้ ักเรยี นสนใจอย่ตู ลอดเวลา เทคนิคการสอนการเรา้ ความสนใจ การใชส้ หี น้า การใช้ การ เนน้ จุดสาคัญ ทา่ ทางประกอบ ถ้อยคาและ เคล่อื นไหว ของเรื่อง ของครู การสอน นา้ เสียง 238

5. ทักษะการใช้คาถาม คาถามนบั เป็นส่งิ สาคญั ในการสอน โดยเฉพาะอยา่ งยิ่งการศกึ ษาในปจั จบุ นั ทเ่ี นน้ ใหเ้ ดก็ คิดเปน็ ซงึ่ การทีจ่ ะใหบ้ รรลเุ ปา้ หมายจดุ ประสงคด์ งั กล่าวผสู้ อนควรมวี ธิ ีการและเทคนคิ ตา่ งๆมากมายสงิ่ หนงึ่ ทส่ี าคัญ คือ การใชค้ าถาม ซึง่ การใช้คาถามจะมีประสทิ ธภิ าพไดค้ รูผถู้ ามจะตอ้ งเข้าใจถงึ จดุ ประสงค์ในการถาม เทคนคิ การใชค้ าถาม การให้นกั เรยี นมโี อกาสตอบหลายคน ถามด้วยความมั่นใจ การใหน้ กั เรยี นมีโอกาสตอบหลายคน ถามอย่างกลมกลนื 239

การเลือกคาถาม การเสรมิ กาลงั ใจ ใชค้ าถามในแตล่ ะประเภท การใชก้ ริ ยิ าท่าทาง เสยี งประกอบในการถาม 240

6.ทกั ษะการใชอ้ ุปกรณก์ ารสอน อปุ กรณ์การสอน จะช่วยให้การเรียนรู้มีความหมายมากขนึ้ เพราะอปุ กรณ์การสอนจะเปน็ จุดรวม ความสนใจสามารถเพ่ิมความเปน็ รูปธรรมและความเป็นจริงต่อการเรยี นรู้ได้มากข้ึน อปุ กรณ์การสอนจะเป็น เครือ่ งมือกระต้นุ ใหผ้ เู้ รยี นเกดิ ความคิดมองเหน็ เรอ่ื งราวหรือส่งิ ท่เี รยี นรู้ได้ถูกตอ้ งและสามารถจดจาเรื่องราวได้ แมน่ ยา 241

เทคนิคการสอนการใช้อุปกรณ์ 1.ใชอ้ ปุ กรณ์การสอนอยา่ งคล่องแคลว่ ว่องไว 2.แสดงอปุ กรณ์ให้เหน็ ชัดทัว่ ทั้งหอ้ ง 3.ควรหาทต่ี ง้ั อุปกรณ์ วางแขวนขนาดใหญ่ 4.ควรใชไ้ ม้ยาว และมีปลายแหลมชี้แผนภูมิ แผนท่ี 5.ควรมีการเตรยี มผเู้ รียนไว้ล่วงหน้าก่อนการใชอ้ ปุ กรณ์ 6.ควรเลือกใช้เคร่อื งประกอบการใชอ้ ปุ กรณใ์ หเ้ หมาะสม 7.พยามยามเปิดโอกาศใหผ้ เู้ รยี นได้รว่ มกิจกรรม หรอื ได้ศกึ ษาอุปกรณ์น้นั ๆ 242

7.ทกั ษะ และ เทคนคิ การใชก้ ระดานดา 1.ครคู วรทาความสะอาดกระดานดาทกุ ครง้ั ทเี่ ข้าสอน 2.ในการเขยี นทกุ คร้งั ไม่ควรเขยี นทีเดยี วทัง้ แผน่ ควรแบง่ คร่งึ และ 3 ส่วน หรอื 4 สว่ น 3.ในการเขียนกระดาษทกุ ครง้ั ควรเขยี นจากว้ายมอื ไปขวามือ 4.ถา้ มหี วั ข้อเร่ืองควรเขียนไวต้ รงกลางกระดานดาในสว่ นท่เี ราแบง่ ไว้ 5.ขณะเขียนยืนห่างกระดานพอประมาณ 6.ในการเขียนหนงั สือใหเ้ ขียนตรงไมค่ ดเคย้ี ว 7.ถ้าต้องการอธบิ ายข้อความบนกระดานดาไมค่ วรยืนบัง ควรใช้ไมช้ ี้ 8.ถ้ามีขอ้ ความสาคัญอาจใช้ชอลก์ สีเมอื่ ต้องการเนน้ ข้อความใดโยเฉพาะ 9.ถ้ามขี ้อความสาคญั อาจใชช้ อล์กสีขดี เสน้ ใต้ 10.เขยี นคาตอบของผเู้ รียนบนกระดานดาเพ่อื เสรมิ กาลังใจผเู้ รยี น 243

244

8.ทักษะเสรมิ กาลงั ใจ การเสรมิ กาลงั ใจ หมายถงึ การใหก้ าลังใจแกผ่ ้เู รยี น เชน่ การใช้คาชมเชย หรือ แสดงพฤตกิ รรม ท่ีปรารถนาดแี กผ่ เู้ รยี น ทาให้ผเู้ รียนมีเจตคตทิ ่ีดีในการเรียนและมีความเชื่อม่ันในตนเอง เทคนคิ เสริมกาลงั ใจ 1.เม่อื นักเรยี นทาพฤตกิ รรมไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ ง ควรเสริมกาลงั ใจ โดยใช้ทา่ ทางและวาจาประกอบกัน 245 2.เสรมิ กาลงั ใจยอ้ นหลงั โดยให้นักเรียนทต่ี อบถกู บอกคาตอบของตนอกี คร้ัง หนึง่ เพ่ือให้เห็นแนวทางที่ตอบไม่ได้ จะไดท้ ี 3.ไมพ่ ูดเกินความจริง 4.ใช้วธิ เี สรมิ กาลังใจต่างๆกันและให้โอกาสต่างๆกัน แลให้ท่วั ถึงผู้เรียนทกุ คน 5.การเสิรมกาลงั ใจทางบวกมากกวา่ ทางลบจะได้ผลดกี วา่

9.ทักษะการสรปุ บทเรยี น หนา้ หลกั การสรุปบทเรยี นเป็นการที่ผ้สู อนพยายามใหน้ ักเรยี นรวบรวมความคดิ ความเข้าใจของตนเอง จากการเรียนรู้ท่ผี ่านมา วา่ ไดส้ าระสาคญั หลกั เกณฑ์ หลกั าร หรือแนวคดิ สาคญั ในชว่ งการสอนนน้ั อย่างไรบ้าง ทง้ั นเ้ี พอ่ื นกั เรียนจะได้รับประเดน็ สาคญั ของบทเรยี นได้ถูกตอ้ งว่ามอี ะไรบา้ ง และจะนา ความร้ใู หมไ่ ปสมั พันธก์ บั ความรเู้ ดมิ ได้อยา่ งไร เทคนคิ การสรปุ บทเรยี น 1.สรปุ โดยอธิบายสัน้ ๆ ชดั เจน ทบทวนสาระสาคญั ท่เี รยี นมา 4.สรุปโดยสรา้ งสถานการณ์ 2.สรปุ โดยอุปกรณห์ รอื รูปภาพประกอบ 5.สรปุ โดยนทิ านหรอื สภุ าษิต 3.สรปุ โดยสนทนาซักถาม 6.สรุปโดยการปฎิบัติ 246

หนา้ หลกั 247

248

การสอนหมายถงึ กระบวนการถ่ายทอด เน้อื หาความรู้จากบดุ กลหนงึ่ ซง่ึ เรยี กว่า \" ผสู้ อน \" ไปยงั อกี บุคคลหน่งึ ซง่ึ เรยี กวา่ \"ผู้เรียน \" โดยวธิ ีการเรียนรนู้ ั้นจะเป็น กระบวนการตา่ งๆท่ีผสู้ อนกระทาลงไปใน ขณะท่สี อน เพื่อสง่ เสรมิ ให้ผ้เู รยี นเกิดการ เปลยี่ นแปลงพฤติกรรมตามวตั ถปุ ระสงค์ เชงิ พฤตกิ รรมของบทเรียนนน้ั ๆ 249

ปจั จยั ทตี่ อ้ งคานงึ ขณะสอน ลักษณะของเนอื้ หาวชิ าทจ่ี ะสอนเปน็ อยา่ งไร. ความรู้ความสามารถของผ้สู อนเป็นอย่างไร. ความรู้ความสามารถของผูเ้ รยี นเป็นอย่างไร. ความพร้อมของทรัพยากรมแี คไ่ หน - อย่างไร. 250