+++ สนามของแรง +++ ในชีวิตประจำวัน การที่ก้อนหินตกจากหน้าผา ใบไม้ร่วงสู่พื้นดิน ผลไม้ร่วงจากต้นไม้แสดง ว่ามีแรงกระทำตอ่ กอ้ นหิน ใบไม้ และผลไม้ ทำนองเดยี วกนั กบั การนำแมเ่ หล็กเขา้ ใกลเ้ หลก็ เหล็กจะ ดูดด้วยแรงชนิดหนึ่งเข้าหาแม่เหล็ก นั่นก็คือ ถ้าบริเวณใดที่มีแรงกระทำต่อวัตถุ บริเวณนั้นจะมี สนามของแรง ซึ่งไม่สามารถรับรู้ได้ด้วยประสาทสัมผัส แต่จะสามารถรับรู้ได้จากผลของแรงท่ี กระทำตอ่ วัตถุ สนามของแรง สามารถแบง่ ได้เป็น 3 ประการดังนี้ 1. สนามโน้มถ่วง เมื่อปล่อยวัตถุที่ความสูงใด ๆ จากผิวโลก วัตถุจะตกลงสู่ผิวโลกเสมอ เนื่องจากโลกมีสนามโน้มถ่วงอยู่รอบโลก สนามโน้มถ่วงนี้ทำให้เกิดแรงดึงดูดของโลกกระทำต่อวัตถุ และตัวเราซึ่งมีทิศพุ่งเข้าสู่ศูนย์กลางของโลก แรงดึงดูดนี้เรียกว่า แรงโน้มถ่วง สนามโน้มถ่วง ณ ตำแหนง่ ตา่ ง ๆ บนผิวโลกมคี ่าประมาณ 9.8 นวิ ตันต่อกิโลกรัม วตั ถุตกจากทสี่ งู ลงสู่ทีต่ ่ำ สนามโนม้ ถว่ งของโลก มที ิศพุ่งสศู่ ูนยก์ ลางโลก ภาพที่ 1 สนามโนม้ ถ่วงของโลก มีทศิ พุ่งเขา้ สูศ่ ูนย์กลางโลก ที่มา : หนงั สอื วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 2 เล่ม 2 บริษัท อักษรเจรญิ ทัศน์ อจท. จำกดั 2. สนามไฟฟ้า การนำวัตถุ 2 ชนิด มาขัดถูกกัน เช่น นำไม้บรรทัดพลาสติกมาถูกับผ้า พบว่า ไม้บรรทัดพลาสติกจะสามารถดูดกระดาษชิ้นเล็ก ๆ ได้ จึงกล่าวได้ว่าไม้บรรทัดพลาสติกที่ถู กบั ผ้าแล้ว จะมีอำนาจทางไฟฟ้า คอื ประจุไฟฟา้ ประจเุ หมือนกนั จะผลกั กัน ประจตุ า่ งชนิดกัน จะดึงดูดกนั ภาพท่ี 2 แรงละหว่างประจุไฟฟา้ ท่มี า : หนงั สอื วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ชั้นมธั ยมศึกษาปที ี่ 2 เล่ม 2 บรษิ ัท อกั ษรเจริญทัศน์ อจท. จำกัด
ประจุไฟฟ้ามี 2 ชนิด คือ ประจุไฟฟ้าบวก และ ประจุไฟฟ้าลบ เมื่อประจุไฟฟ้าอยู่ใกล้กัน ประจุไฟฟ้าจะออกแรงกระทำซึ่งกันและกัน โดยประจุไฟฟ้าชนิดเดียวกันจะทำให้แปลงไฟฟ้าเป็น แรงผลัก เช่น ประจุบวกกับประจุบวก หรือประจุลบกับประจุลบ ส่วนประจุไฟฟ้าตัดสินการจะทำให้ แรงไฟฟ้าเปน็ แรงดดู เช่น ประจุลบประจุบวกโดยแรงกระทำระหวา่ งประจุไฟฟ้า เรยี กวา่ แรงไฟฟา้ เมื่อนำวัตถุที่มีประจุไฟฟ้าไปวางไว้ ณ ที่ใดๆ ประจุไฟฟ้าที่มีอยู่ในวัตถุนั้นจะส่งอำนาจไป ด้วยก็เรียกอำนาจทางไฟฟ้าที่เกิดขึ้นรอบบริเวณที่ประจุไฟฟ้าวางตัวอยู่ว่า สนามไฟฟ้า โดย สนามไฟฟ้าทีเ่ กิดจากประจุบวกจะมีทิศทางของสนามไฟฟ้าเพ่ิงออกจากประจบุ วก สว่ นสนามไฟฟ้าท่ี เกิดจากประจลุ บจะมีทิศทางของสนามไฟฟา้ ผู้เขา้ สปู่ ระจุลบ ภาพที่ 3 สนามไฟฟ้าทีเ่ กดิ จากประจุบวกและประจลุ บ ท่มี า : หนังสอื วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ช้ันมธั ยมศึกษาปีท่ี 2 เลม่ 2 บริษทั อักษรเจริญทศั น์ อจท. จำกัด 3. สนามแม่เหล็ก แม่เหล็กเป็นวัตถุที่สามารถดูดสารแม่เหล็กบางชนิดได้ และเมื่อนำ แมเ่ หลก็ มาวางไวด้ ว้ ยกันจะสามารถดูดหรือผลกั กันได้ สารทีถ่ ูกแมเ่ หลก็ ดดู ได้ เรียกวา่ สารแม่เหล็ก เช่น เหล็ก นกิ เกลิ โคบอลต์ พลวง บิสมทั ภาพท่ี 3 ลกั ษณะเส้นแรงแมเ่ หล็กรอบ ๆ แท่งแมเ่ หล็ก ที่มา : หนังสอื วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ช้ันมธั ยมศึกษาปีที่ 2 เลม่ 2 บริษัท อกั ษรเจรญิ ทัศน์ อจท. จำกัด
เมื่อนำวัตถุที่มีสมบัติเป็นแม่เหล็ก หรือสารแม่เหล็กมาวางในสนามแม่เหล็ก จะเกิดแรง แม่เหล็ก ถ้ามีขั้วเหมือนกันก็จะเกิดแรงผลัก แต่ถ้ามีขั้วต่างกันก็จะเกิดแรงดึงดูด แรงแม่เหล็กที่ กระทำต่อวัตถุที่มีสมบัติเป็นแม่เหล็ก จะมีทิศพุ่งเข้าหรือพุ่งออกจากวัตถุที่เป็นแม่เหล็ก ซึ่งเป็น แหลง่ ของสนามแม่เหล็ก ภาพที่ 4 แรงท่ผี ลกั ทเ่ี กดิ จากแมเ่ หล็ก 2 แทง่ ภาพท่ี 5 แรงท่ผี ลกั ท่ีเกิดจากแม่เหล็ก 2 แท่ง หันขั้วชนดิ เดียวกนั เข้าหากนั หันข้วั ต่างชนิดกนั เขา้ หากนั ทม่ี า : หนังสือวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้นมธั ยมศึกษาปีท่ี 2 เล่ม 2 บริษัท อักษรเจรญิ ทศั น์ อจท. จำกัด สนามแม่เหล็กเป็นปริมาณเวกเตอร์ โดยสนามแม่เหล็กโดยรอบแทงแม่เหล็กจะมีทิศพุ่ง ออกจากขั้วแม่เหล็กเหนือเข้าขั้วแม่เหล็กใต้ ส่วนสนามแม่เหล็กภายในแท่งแม่เหล็กจะมีทิศพุ่ งจาก ขวั้ แม่เหลก็ ใต้ไปหาขวั้ แม่เหลก็ เหนือ ที่มา : หนงั สอื วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ช้ันมัธยมศึกษาปที ่ี 2 เล่ม 2 บริษัท อักษรเจรญิ ทศั น์ อจท. จำกดั
Search
Read the Text Version
- 1 - 3
Pages: