Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต

ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต

Published by s60131113036, 2020-10-02 07:55:40

Description: ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต

Search

Read the Text Version

แบบฝึก ัหด เ ืน้อหา สารบัญ คานา หนังสืออิเล็กทรอนิกส์น้ีเป็นส่วนหนึ่งของการเรียนการสอนในวิชาวิทยาศาสตร์ ประกอบดว้ ยเนือ้ หาเก่ียวกบั โซ่อาหาร สายใยอาหาร และแบบฝึกหดั ทบทวนความรู้ ทางผู้จัดทาหวังว่าหนังสืออิเล็กทรอนิกส์เล่มน้ีจะให้ความรู้และเป็นประโยชน์เพ่ือ ประกอบการเรียนการสอน ผู้จัดทาหวังอย่าย่ิงว่าท่านจะได้รับประโยชน์และความรู้จากหนังสือ อเิ ลก็ ทรอนิกสเ์ ล่มนไ้ี มม่ ากก็นอ้ ย หากมีขอ้ บกพรอ่ งประการใด คณะผู้จัดทาขออภยั มา ณ ที่น้ี คณะผู้จัดทา

สารบัญ สารบัญ เน้อื หา แบบฝึกหดั สว่ นเนอื้ หา ส่วนเนื้อหา เรื่องที่ 1 ระบบนิเวศ 1 เร่ืองที่ 4 วัฏจักรสารอาหารในระบบนิเวศ 20 วฏั จักรนา้ 20 องค์ประกอบของระบบนิเวศ 1 วัฏจักรไนโตรเจน 21 วฏั จกั รฟอสฟอรัส 22 ประเภทของระบบนเิ วศ 2 บทบาทของสง่ิ มชี ีวติ ในระบบนเิ วศ 5 เร่ืองท่ี 2 โซ่อาหาร 8 ข้อสอบ ประเภทของโซอ่ าหาร 10 แบบฝึกหดั ทบทวนความรู้ เฉลยแบบฝึกหัดทบทวนความรู้ เร่ืองที่ 3 สายใยอาหาร 15 25 31 พีรามิด 16

แบบฝึก ัหด เ ืน้อหา สารบัญ สารบญั 8 13 กิจกรรม 18 กจิ กรรมที่ 1.1 ระบบนิเวศ 18 กจิ กรรมท่ี 2.1 โซ่อาหาร 23 กจิ กรรมที่ 3.1 สายใยอาหาร 28 กิจกรรมที่ 3.2 สายใยอาหาร 28 กิจกรรมที่ 4.1 วัฐจกั รสารอาหารในระบบนเิ วศ 29 เฉลยกิจกรรมท่ี 1.1 ระบบนเิ วศ 29 เฉลยกิจกรรมท่ี 2.1 โซ่อาหาร 30 เฉลยกิจกรรมที่ 3.1 สายใยอาหาร เฉลยกจิ กรรมท่ี 3.2 สายใยอาหาร เฉลยกิจกรรมท่ี 4.1 วัฐจักรสารอาหารในระบบนเิ วศ

มาตรฐานการเรยี นรู้และตวั ชว้ี ดั สารบัญ เน้อื หา แบบฝึกหดั มาตรฐานการเรียนรู้ เข้าใจความหลากหลายของระบบนิเวศ ความสัมพันธ์ระหว่างส่ิงไม่มีชีวิต กับส่ิงมีชีวิต และ ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับส่ิงมีชีวิตต่าง ๆ ในระบบนิเวศ การถ่ายทอดพลังงาน การ เปล่ียนแปลงแทนที่ในระบบนิเวศ ความหมาย ของประชากร ปัญหาและผลกระทบท่ีมีต่อ ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม แนวทางในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและการแก้ไขปัญหา ส่งิ แวดลอ้ ม รวมทัง้ นาความร้ไู ปใช้ประโยชน ตวั ชวี้ ดั ว1.1 ม.3/4 อธิบายความสัมพันธ์ของผู้ผลิต ผู้บริโภค และผู้ย่อยสลาย สารอนิ ทรียใ์ นระบบนเิ วศ

แบบฝึก ัหด เ ืน้อหา สารบัญ สาระสาคญั กลุ่มส่ิงมีชวี ิตในระบบนิเวศแบ่งตามหน้าท่ีได้เปน็ 3 กลุ่ม ได้แก่ผ้ผู ลิต ผู้บริโภค และ ผูย้ ่อยสลาย สารอนิ ทรยี ส์ งิ่ มีชีวติ ท้ัง 3 กลุ่มน้ีมีความสัมพันธ์กนั ผู้ผลติ เป็นส่ิงมีชีวิตท่ีสร้างอาหารได้ เองโดยกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง ผู้บริโภคเป็นส่ิงมีชีวิตที่ไม่สามารถสร้างอาหารได้เองและต้อง กินผู้ผลิตหรือสิ่งมีชีวิตอื่นเป็นอาหาร เม่ือผู้ผลิตและผู้บริโภคตายลงจะถูกย่อยโดยผู้ย่อยสลาย สารอินทรีย์ซ่ึงจะเปลี่ยนสารอินทรีย์เป็นสารอนินทรีย์กลับคืนสู่ส่ิงแวดล้อม ทาให้เกิดการหมุนเวียน สารเป็นวฏั จกั ร จานวนผู้ผลิตผบู้ รโิ ภคและผยู้ ่อยสลายสารอินทรยี จ์ ะตอ้ งมคี วามเหมาะสม จงึ ทาใหก้ ลุ่ม สิ่งมีชีวิตอยู่ได้อย่างสมดุล 3 พลังงานถูกถ่ายทอดจากผู้ผลิตไปยังผู้บริโภคลาดับต่างๆ รวมทั้งผู้ย่อย สลายสารอินทรีย์ในรูปแบบสายใยอาหารท่ีประกอบด้วยโซ่อาหารหลายโซ่ท่ีสัมพันธ์กนั ในการถ่ายทอด พลังงานในโซ่อาหาร พลงั งานทีถ่ กู ถา่ ยทอดไปจะลดลงเร่ือยๆตามลาดับของการบริโภค

ระบบนเิ วศ องคป์ ระกอบของระบบนิเวศ สารบัญ เน้อื หา แบบฝึกหดั ระบบนิเวศ (Ecosystem) หมายถึง หนว่ ยพน้ื ที่ 01 หน่วยพ้ืนท่ีหนึ่งประกอบด้วยสังคมของส่ิงมีชีวิต กับสิ่งแวดล้อมที่แสดงให้เห็นถึงความสัมพันธ์ องคป์ ระกอบที่มีชวี ติ อยา่ งใกลช้ ิดของสง่ิ มชี วี ิตและสิ่งแวดล้อม โดยการ (Biotic component) 02 ลาดับขั้นของการกินแบบต่าง ๆ ตลอดจนการ หมุนเวยี นของสารแร่ธาตุและการถา่ ยทอดพลังงาน องคป์ ระกอบที่ไม่มีชีวติ จนทาให้เกิดองค์ประกอบของส่ิงมีชีวิตเป็นระบบที่ (Abiotic component) 03 มีลักษณะต่าง ๆ กัน ระบบนิเวศเป็นกลไก ควบคุมสังคมของส่ิงมีชีวิตต่าง ๆ ที่เกิดมาจาก ความสมั พนั ธข์ องสิ่งมชี วี ิต 1 ความสัมพันธ์ต่อกันท้ังส่วนท่ีเป็นสิ่งมีชีวิตและ และสง่ิ แวดลอ้ ม 04 สงิ่ ไมม่ ีชวี ิต

แบบฝึก ัหด เ ืน้อหา สารบัญ หนว่ ย ประเภทของระบบนเิ วศ พ้นื ท่ี การจาแนกระบบนเิ วศสามารถจาแนกได้เป็น 2 หลายแบบ ขน้ึ อยูก่ ับเกณฑท์ ี่ใชแ้ บง่ ไดแ้ ก่ จาแนกโดยลักษณะทางภูมิศาสตร์เป็นเกณฑ์ จาแนกโดยใชแ้ บบแผนของ การถา่ ยทอดพลงั งานและ สารอาหาร จาแนกโดยใช้ขนาดพื้นท่ขี องระบบนิเวศ จาแนกโดยใชล้ กั ษณะการนามาประยุกตใ์ ช้

จาแนกโดยลกั ษณะทางภูมศิ าสตรเ์ ปน็ เกณฑ์ จาแนกโดยใช้แบบแผนของ สารบัญ เน้อื หา แบบฝึกหดั การถ่ายทอดพลังงานและสารอาหาร ระบบนิเวศ ระบบนิเวศ ระบบนิเวศ อิสระ แบบปดิ แบบเปิด ระบบนเิ วศพืน้ ดิน ระบบนิเวศน้า ระบบนิเวศท่ีไม่มีการ มีเฉพาะการถ่ายเท เป็นระบบนิเวศท่ีมี ถ่ายเทสารอาหารและ พลังงาน (แสงสว่าง) ทั้ ง ก า ร ถ่ า ย เ ท (Terrestrial Ecosystem) (Aquatic Ecosystem) พลังงานระหว่างภายใน แ ต่ ไ ม่ มี ก า ร ถ่ า ย เ ท ส า ร อ า ห า ร แ ล ะ ระบบนิเวศกบั สงิ่ แวดลอ้ ม สารอาหารระหว่าง พลังงานระหว่าง เชน่ ปา่ ดบิ เขา,ป่าชายเลน,ปา่ เช่น นา้ จดื ,น้าเคม็ , ภายนอกเป็นระบบนิเวศ ภ า ย ใ น ร ะ บ บ กั บ ระบบภายนอกกับ เตง็ รัง, ทุ่งหญา้ ,ทะเลทราย น้ากร่อย นักนิเวศวิทยาพยายาม ภายนอกระบบนิเวศ ระบบนิเวศภายใน คดิ คน้ ข้ึน ,ป่าดบิ ช้ืน 3

แบบฝึก ัหด เ ืน้อหา สารบัญ จาแนกโดยใชข้ นาดพน้ื ท่ขี องระบบนิเวศ จาแนกโดยใช้ลกั ษณะการนามาประยุกตใ์ ช้ ระบบนิเวศขนาดใหญ่ ระบบนิเวศขนาดเลก็ ระบบนิเวศสมบรู ณ์ ระบบนเิ วศ ไมส่ มบรู ณ์ เชน่ ปา่ เบญจพรรณ เช่น แอ่งน้าในลอ้ ยาง ร ะ บ บ นิ เ ว ศ ที่ มี ทะเลสาบ มหาสมุทร รถยนตเ์ กา่ อ ง ค์ ป ร ะ ก อ บ ค ร บ ร ะ บ บ นิ เ ว ศ ที่ มี ท้ังส่วนที่เป็นกลุ่ม องค์ประกอบไม่ ท่งุ หญา้ เปน็ ตน้ กงิ่ ไม้ผใุ ฟนปา่ เปน็ ตน้ ส่ิงมีชีวิต ซึ่งได้แก่ ครบอาจขาด ผู้ผลิต ผู้บริโภค ผู้ บางประการ ย่อยสลาย และกลุ่ม ที่ เ ป็ น ปั จ จั ย ท า ง กายภาพ เปน็ ต้น 4

บทบาทของสงิ่ มชี ีวติ ในระบบนิเวศ เป็นสิ่งมีชีวิตที่สามารถสร้างอาหารได้ สารบัญ เน้อื หา แบบฝึกหดั เช่น พืชที่มีสารสีในการสังเคราะห์แสง ในระบบนิเวศสง่ิ มชี วี ิตจะมบี ทบาท แพลงตอนพืช แบคทีเรียบางชนิดท่ี แตกต่างกนั ซ่งึ สิ่งมชี ีวิตในระบบนเิ วศแบ่งได้ สังเคราะห์แสงได้ ส่ิงมีชีวิตเหล่านี้ เป็น 3 กลมุ่ คือ โดยเฉพาะพืชใบเขียว สร้างอาหารข้ึนมา จากสารประกอบอนินทรีย์โมเลกลุเล็ก ผู้ผลติ ผบู้ ริโภค ผู้ย่อยสลาย ใ ห้ เ ป็ น ส า ร ป ร ะ ก อ บ ท่ี มี พ ลั ง ง า น สู ง (Producer) (Consumer) (Decomposer) คาร์โบไฮเดรตและสารอื่น ๆ โดยกลไก จากการสังเคราะห์ จะเป็นสารอาหารที่ ให้พลังงานแก่สิ่งมชี วี ิต 5

แบบฝึก ัหด เ ืน้อหา สารบัญ ผู้บริโภคพืช ถื อ เ ป็ น ผู้ บ ริ โ ภ ค ล า ดั บ ที่ ห นึ่ ง ผู้บริโภคสตั ว์ ถือเป็นผู้บริโภคลาดับที่สอง เช่น (herbivore) เช่น กระต่าย วัว ม้า กวาง (carnivore) เหย่ยี ว เสือ งู เปน็ ต้น ชา้ ง เปน็ ตน้ ผูก้ นิ ทง้ั พชื ถือเป็นผู้บริโภคลาดับท่ีสาม เช่น ผบู้ ริโภคซาก ถือว่าเป็นผู้บริโภคลาดับสุดท้าย และสตั ว์ พืชซากสตั ว์ เช่น แร้ง ไส้เดือนดิน ก้ิงกือ (omnivore) ไก่ นก สุนขั คน เป็นตน้ (scavenger) ปลวก เปน็ ตน้ 6

ผู้ยอ่ ยสลาย (Decomposer) สารบัญ เน้อื หา แบบฝึกหดั เป็นสิ่งมีชีวิตที่ดารงชีวิตและได้พลังงานมาใช้ ด้วยการย่อยสลายอินทรีย์สารแล้วดูดซึมเข้าสู่ ร่างกาย เช่น พวกสิ่งมีชีวิตในกลุ่มเห็ดรา(Fungi) และแบคทีเรยี ที่สรา้ งอาหารเองไม่ได้ 7

แบบฝึก ัหด เ ืน้อหา สารบัญ กิจกรรมท่ี 1.1 คาสัง่ : จากส่งิ มีชวี ติ ตอ่ ไปนีใ้ ห้นักเรยี นระบุว่า เปน็ ผู้ผลติ ผบู้ รโิ ภค หรือ ผยู้ อ่ ยสลาย นก หนอน ต้นข้าว รา ผูผ้ ลิต ………………………………………………. แบคทีเรีย แมว กระต่าย ผู้บริโภค ……………………………………………………. สิงโต นกค้าวแมว คน สนุ ขั ผยู้ ่อยสลาย …………………………………………………… เห็ด ผกั กาด จระเข้ ควาย ว่านกาบหอยแครง ไก่ สงิ โต สุนขั จิ้งจอก ยรี าฟ อูฐ พยูน 8

จาแนกโดยใชล้ ักษณะการนามาประยกุ ต์ใช้ สารบัญ เน้อื หา แบบฝึกหดั โซ่อาหาร โซ่อาหารก็คือ ความสัมพันธ์ของส่ิงมีชีวิตในระบบนิเวศ ท่ีมีการกินต่อกันเป็นทอด ๆ และมีการถ่ายทอด พลังงานต่อเน่ืองกันของสิ่งมีชีวิต หากในระบบนิเวศมี โซ่อาหารหลายห่วงโซ่ สิ่งมีชีวิตสามารถเลือกกินได้ หลากหลาย ดังน้ัน โซ่อาหารจึงมีความสัมพันธ์กัน ระหว่างโซ่อาหาร เราเรียกว่า “สายใยอาหาร (Food web” 9

แบบฝึก ัหด เ ืน้อหา สารบัญ ประเภทของโซ่อาหาร โซอ่ าหารแบบผลู้ ่า โซอ่ าหารแบบปรสิต (Predator chain or Grazing food chain) (Parasitic chain) เริ่มจากผู้ผลิตคือพืช ตามด้วยผู้บริโภคอันดับ เริ่มจากผู้ถูกอาศัย (Host) ถ่ายทอดพลงั งานไปยัง ต่าง ๆ การถ่ายทอดพลังงานจึงประกอบด้วย ปรสิต (Parasite) และต่อไปยังปรสิตอันดับสูงกว่า ผ้ลู ่า (Predator) และเหยอื่ (Prey) (Hyperparasite) โดยภายในห่วงโซ่นี้จะใช้การเกาะ กนิ ซ่งึ กนั และกนั ผู้ผลิต ผ้บู ริโภค ผบู้ ริโภค ผู้บรโิ ภค ผู้บรโิ ภค ผยู้ ่อยสลาย ผู้ถกู อาศัย ปรสติ ปรสิต อนั ดับ 1 อนั ดบั 2 10 อันดบั 1 อันดับ 2 อันดบั 3 อนั ดับ 4

ประเภทของโซอ่ าหาร สารบัญ เน้อื หา แบบฝึกหดั โซอ่ าหารแบบผสม โซ่อาหารแบบเศษอินทรีย์ (Mixed chain) (Detritus chain) เป็นการถ่ายทอดพลังงานระหว่างส่ิงมีชีวิตหลายๆ เริ่มจากซากพืชหรือซากสัตว์ (Detritus) หรือส่ิงที่ไม่ ประเภท อาจมีท้งั แบบผู้ล่า และปรสิต เช่น จาก มีชีวิตถูกผู้บริโภคซากพืชซากสัตว์กัดกิน และ ผผู้ ลติ ไปยงั ผู้บริโภคพืช และไปยงั ปรสติ เป็นต้น ผู้บรโิ ภคซากอาจถูกกนิ ตอ่ โดยผบู้ รโิ ภคสตั ว์ อกี ทอด ผผู้ ลติ ผบู้ ริโภค ผ้บู ริโภค ผู้บรโิ ภค ผู้บริโภค ปรสติ ซากพชื ผ้บู ริโภค ผบู้ รโิ ภค ผู้บริโภค ผยู้ ่อย อนั ดบั 1 อันดับ 2 อนั ดับ 3 อนั ดับ 4 อันดับ 1 อนั ดบั 2 อันดบั 3 สลาย 11

แบบฝึก ัหด เ ืน้อหา สารบัญ เขียนผผู้ ลิตเปน็ อันดับ 1 โดยเขยี นทางด้านซา้ ย ตามด้วยผ้บู ริโภคลาดับต่าง ๆ ไปเรือ่ ย ๆ และมกี ารเขยี นลกู ศรถ่ายทอดพลงั งานจากสง่ิ มชี ีวิตหนง่ึ ไปยังส่ิงมชี ีวติ หนึ่งโดย หวั ลกู ศรนั้นจะหันไปทางผบู้ รโิ ภคเสมอ เชน่ พืชเปน็ ผูผ้ ลิต ต่อมากระตา่ ยกนิ พชื กระตา่ ย จึงเป็นผูบ้ ริโภคอนั ดับ 1 และงกู นิ กระต่าย งจู งึ เปน็ ผู้บริโภคอนั ดับ 2 12

กจิ กรรมท่ี 2.1 คาสัง่ : ให้นักเรยี นเขียนโซอ่ าหารจากสิง่ มีชีวติ ทีก่ าหนดให้ สารบัญ เน้อื หา แบบฝึกหดั โซ่อาหาร………………………………………………………………………………………………… โซ่อาหาร………………………………………………………………………………………………… 13

แบบฝึก ัหด เ ืน้อหา สารบัญ โซ่อาหาร………………………………………………………………………………………………… โซอ่ าหาร………………………………………………………………………………………………… 14

หมายถึง การถ่ายทอดพลังงานเคมีใน สารบัญ เน้อื หา แบบฝึกหดั รูปอาหารระหว่างส่ิงมีชีวิตหลายๆชนิดมารวมกัน ทา ให้เกิดการถ่ายทอดพลงั งานที่ซับซ้อน และจะไหล ไปในทิศทางเดียว คือ เร่ิมต้นจากผู้ผลิตไปยัง ผู้บริโภค ขณะเดียวกันก็มีการสูญเสียพลังงาน ออกไปในแตล่ ะลาดับ ไมม่ กี ารเคล่อื นกลับเปน็ วัฏจักร จึงกล่าวได้ว่า การถ่ายทอดพลังงานใน ระบบนิเวศไม่เปน็ วฏั จกั รและเปน็ การรวมกนั ของ โซ่อาหารหลายๆ ชดุ อยา่ งซบั ซอ้ น 15

แบบฝึก ัหด เ ืน้อหา สารบัญ แสดงจานวนสิ่งมีชีวิตเป็นหน่วยตัวต่อพ้ืนท่ี โดยทั่วไป พรี ะมิดจะมฐี านกวา้ งซงึ่ หมายถึง มีจานวนผู้ผลิตมากท่ีสุด และจานวนผู้บริโภคลาดับต่าง ๆ ลดลงมา แต่การวัด ปริมาณพลังงานโดยวิธีนี้ อาจมีความคลาดเคล่ือนได้ เนื่องจากสิ่งมีชีวิตไม่ว่าจะเป็นเซลล์เดียวหรือหลายเซลล์ ขนาดเล็กหรือขนาดใหญ่ จะนับเป็นหนึ่งเหมือนกันหมด แต่ความเป็นจริงนั้นในแง่ปริมาณพลังงานที่ได้รับหรือ อาหารท่ีผู้บริโภคได้รับจะมากกว่าหลายเท่า ดังนั้นจึงมี การพฒั นารูปแบบในรูปของพรี ามิดมวลของส่งิ มชี ีวิต 16

พีรามิดมวลของส่ิงมีชีวิต (pyramid of mass) แสดง สารบัญ เน้อื หา แบบฝึกหดั ปริมาณของสิ่งมีชีวิตในแต่ละลาดับขั้นของการกินโดยใช้ มวลรวมของน้าหนักแห้งของส่ิงมีชีวิตต่อพื้นท่ีแทนการนับ 17 จานวน พีรามิดแบบนี้มีความแม่นยามากกว่าแบบที่ 1 แต่ในความเป็นจริงจานวนหรือมวลของสิ่งมีชีวิตมีการ เปล่ียนแปลงตามช่วงเวลา เช่น ตามฤดูกาลหรือตาม อัตราการเจริญเติบโต ปัจจัยเหล่าน้ี จึงเป็นตัวแปรที่ สาคัญ ถึงแม้มวลที่มากข้ึนเช่นต้นไม้ใหญ่ จะผลิตเป็น สารอาหารของผู้บริโภคได้มาก ดังนั้นจึงมีการพัฒนา แนวความคิดในการแก้ปญั หาน้ี โดยในการเสนอรูปของพี รามิดพลังงาน

แบบฝึก ัหด เ ืน้อหา สารบัญ กจิ กรรมท่ี 3.1 คาส่ัง : ใหน้ กั เรยี นโยงเส้นความสมั พนั ธข์ องส่ิงมีชีวิตในรปู ของ สายใยอาหาร 18

กิจกรรมท่ี 3.2 คาส่งั : ให้นักเรยี นโยงเสน้ ความสัมพนั ธ์ของส่งิ มชี ีวติ ในรปู ของ สารบัญ เน้อื หา แบบฝึกหดั สายใยอาหาร 19

แบบฝึก ัหด เ ืน้อหา สารบัญ การหมุนเวียนเปลี่ยนแปลงของน้าซึ่งเป็น ปรากฏการณท์ ี่เกิดข้ึนเองตาม ธรรมชาติ โดยเริ่มต้น จากน้าในแหล่งน้าต่าง ๆ เช่น ทะเล มหาสมุทร แม่น้า ลาคลองหนอง บึง ทะเลสาบ จากการคาย น้าของพืช จากการขับถ่ายของเสียของสิ่งมีชีวิต และ จากกิจกรรมต่าง ๆ ท่ีใช้ในการดารงชีวิตของมนุษย์ ระเหยข้ึนไปในบรรยากาศ กระทบความเย็นควบแน่น เป็นละอองน้าเล็ก ๆ เป็นก้อนเมฆ ตกลงมาเป็นฝน หรือลูกเห็บสู่พ้ืนดินไหลลงสู่แหล่งน้าต่าง ๆ หมุนเวียนอยู่เชน่ น้ีเรอ่ื ยไป 20

ไนโตรเจนในรปู ของแก๊สมอี ยู่ในบรรยากาศมากถึง สารบัญ เน้อื หา แบบฝึกหดั 78 % และเป็นธาตุที่มีอยู่ในโมเลกุล ของคลอโรฟิลล์ และโปรตีน ส่ิงมีชีวิตจะใช้ไนโตรเจนในรูปของโปรตีน พืชบางชนิดจะนา ไนโตรเจนมาใช้โดยอาศัย แบคทีเรีย เช่น ไรโซเบียม (Rhizobium) ท่ีอาศัยอยู่ร่วมกับราก ตระกูลถั่ว ซ่ึงมีความสามารถตรึงไนโตรเจนในอากาศ และในดินแล้วเปล่ียนให้เป็นสารประกอบไนโตรเจน พืชจะดูดซึมสารประกอบไนโตรเจน แล้วนามาสังเคราะห์ เป็นโปรตีน ไนโตรเจนเป็นธาตุท่ีจาเป็นต่อการ เจรญิ เติบโตของพืชปัจจบุ ันมนุษย์ 21

แบบฝึก ัหด เ ืน้อหา สารบัญ กระบวนการท่ีฟอสฟอรัสถูกหมุนเวียนจากดิน สู่ทะเลและจากทะเลสู่ดิน ซึ่งเรียกกระบวนการน้ีว่า กระบวนการการตกตะกอน ฟอสฟอรัสเป็นธาตุที่มีอยู่ ในธ รร มชาติเพียงน้อยมาและ เกิดข้ึนจากการ เปล่ียนแปลงของธรณีวิทยา ฟอสฟอรัสนามาใช้ หมุนเวียนระหว่างสิ่งมีชีวิตและสิ่งไม่มีชีวิต ในปริมาณ จากัด ฟอสฟอรัสจะหายไปในโซ่อาหาร ในลักษณะ ตกตะกอนของสารอินทรีย์ ไปสู่พื้นน้า เช่น ทะเล แหล่งน้าต่าง อีกส่วนหนึ่งของฟอสฟอรัสจะอยู่ในรูป ของสารประกอบ ซึ่งทับถมกันเปน็ กองฟอสเฟต 22

คาสั่ง : ให้นกั เรยี นวาดภาพวัฏจกั รของสารในระบบนิเวศและ สารบัญ เน้อื หา แบบฝึกหดั สรุปสาระสาคัญพอสังเขป 23

แบบฝึกหดั เนือ้ หา สารบัญ 24

แบบฝึกหดั ทา้ ยบท 3. ขอ้ ใดไม่ถูกต้องเกี่ยวกบั การถ่ายทอดพลังงาน สารบัญ เน้อื หา แบบฝึกหดั ก. ผู้ผลติ เป็นจุดเริม่ ของโซอ่ าหารทุกชนิด 1. องค์ประกอบสาคญั ทเ่ี ก่ยี วข้องกบั การถา่ ยทอดพลังงาน ข. ในระบบนิเวศใดท่มี สี ายใยอาหารซับซ้อนมากแสดง ในระบบนิเวศคือขอ้ ใด ก. ผผู้ ลติ , ผู้บริโภค ระบบนิเวศนน้ั มคี วามสมดุลมาก ข. ผผู้ ลติ , ผู้ยอ่ ยสลาย ค. จลุ นิ ทรีย์มีบทบาทในการยอ่ ยสลายสารอินทรยี ์ ค. ผบู้ รโิ ภค, ผู้ยอ่ ยสลาย ง. ผ้ผู ลติ , ผู้บรโิ ภค, ผู้ย่อยสลาย แต่ไมไ่ ด้มีส่วนในการถ่ายทอดพลังงาน ง. โซ่อาหารทมี่ ีจานวนสงิ่ มีชวี ติ ยงิ่ มาก สิ่งมชี วี ติ ทา้ ยๆ 2. การถา่ ยทอดพลังงานจากโซ่อาหารหนึง่ ไปอกี โซอ่ าหารหน่งึ ซึ่งเปน็ ความสมั พันธส์ ลับซบั ซอ้ นเรยี กวา่ อะไร โซอ่ าหารยง่ิ ไดร้ ับพลังงานนอ้ ยลง ก. สายใยอาหาร ข. วัฏจักรอาหาร 4. นกแรง้ จดั เปน็ ผบู้ ริโภคแบบใด ค. โซ่อาหาร ก. ผบู้ ริโภคพืช ง. พีระมดิ พลงั งาน ข. ผบู้ ริโภคสัตว์ ค. ผ้บู รโิ ภคท้ังพชื และสัตว์ ง. ผ้บู ริโภคซากพืชซากสตั ว์ 25

แบบฝึก ัหด เ ืน้อหา สารบัญ 5. “แมลง นก ขา้ วเปลือก ไรนก” พบในระบบนเิ วศแห่งหน่ึง 7. “ตน้ กหุ ลาบหนา้ บา้ นพอใจมีหนอนท่ีเกดิ จากไข่ผีเส้ือมากนิ ใบ จะเขยี นความสมั พนั ธ์ในรูปโซ่อาหารได้อย่างไร ออ่ นเสมอ และยังพบว่ามีนกมาจกิ กินหนอน ซ่ึงนกน้ีจะถูกแมวที่ ก. ขา้ วเปลือก → นก → ไรนก → แมลง พอใจเลี้ยงจับกินเสมอ” จากขอ้ มูลดังกลา่ วเราสามารถเขียนโซ่ ข. ข้าวเปลอื ก → แมลง → นก → ไรนก อาหารได้แบบใด ค. ข้าวเปลอื ก → นก → แมลง → ไรนก ก. กหุ ลาบ หนอน นก แมว ง. ข้าวเปลอื ก → ไรนก → แมลง → นก ข. แมว นก หนอน กหุ ลาบ ค. ผีเส้ือ กุหลาบ หนอน นก แมว 6. ถา้ ปราศจากผ้ยู ่อยสลาย บนพ้นื โลกนา่ จะเกดิ เหตกุ ารณใ์ ด ง. กหุ ลาบ ผีเสอื้ หนอน นก แมว ก. เหตุการณป์ กติ เพราะธรรมชาตยิ อ่ มรักษาสมดุลของมนั ไดเ้ อง ข. พชื เรมิ่ ตายเนอื่ งจากขาดธาตทุ ่ีจาเปน็ ต่อการดารงชวี ติ 8. พรี ะมดิ โซ่อาหารของส่ิงมชี วี ติ โดยทวั่ ไป ค. ซากพืช ซากสตั ว์ รวมทัง้ อินทรียสารเตม็ ไปหมด พรี ะมดิ ท่ีมฐี านกว้าง หมายถงึ อะไร ง. อาจเป็นไปไดท้ ้งั ขอ้ ก และ ข ก. จานวนผผู้ ลติ มากที่สดุ ข. จานวนผู้บรโิ ภคมากที่สดุ 26 ค. จานวนผ้ผู ลิตน้อยทส่ี ดุ ง. จานวนผบู้ รโิ ภคนอ้ ยมากทส่ี ุด

9. ข้อใดเรยี งลาดบั เหตุการณใ์ นวัฏจักรไนโตรเจนได้ถกู ตอ้ ง สารบัญ เน้อื หา แบบฝึกหดั 1. เกลอื แอมโมเนยี 2. ไนเตรต 3. สารประกอบอนิ ทรีย์ทีม่ ไี นโตรเจน 4. ไนไตรต์ 5. แก๊สไนโตรเจน ก. 2 → 4 → 3 → 5 → 1 ข. 3 → 1 → 4 → 2 → 5 ค. 2 → 3 → 4 → 1 → 5 ง. 3 → 4 → 1 → 5 → 2 10. วัฏจักรของสารในข้อใดไม่มกี ารหมุนเวียนสบู่ รรยากาศ ก. คารบ์ อน ข. ไนโตรเจน ค. ฟอสฟอรัส ง. คาร์บอนไดออกไซด์ 27

แบบฝึก ัหด เ ืน้อหา สารบัญ เฉลยกจิ กรรมที่ 1.1 เฉลยกจิ กรรมที่ 2.1 ผู้ผลิต : ต้นขา้ ว ผักกาด ว่านกาบ 1. ข้าวโพด หนู นกฮูก หอยแครง 2. ตน้ ขา้ ว ต๊กั แตน กบ ผ้บู รโิ ภค : นก หนอน แมว กระตา่ ย เหยี่ยว สิงโต นกเคา้ แมว คน สนุ ขั จระเข้ ควาย 3. ผกั กระต่าย งู ไก่ สิงโต สุนัขจิง้ จอก ยรี าฟ อูฐ พยูน ผ้ยู ่อยสลาย : แบคทเี รีย เห็ด แร้ง 4. แครอท กระตา่ ย 28 สนุ ขั จ้ิงจอก สิงโต

เฉลยกิจกรรมที่ 3.1 และ 3.2 สารบัญ เน้อื หา แบบฝึกหดั 29

แบบฝึก ัหด เ ืน้อหา สารบัญ วัฏจกั รนา้ วฏั จกั รไนโตรเจน วฏั จกั รฟอสฟอรัส 30 สาระสาคัญ : ขึ้นอยกู่ ับดลุ ยพินจิ ของครูผสู้ อน

1. ค 6. ค สารบัญ เน้อื หา แบบฝึกหดั 2. ก 7. ก 3. ง 8. ก 4. ง 9. ข 5. ข 10. ค 31

แบบฝึก ัหด เ ืน้อหา สารบัญ การถา่ ยทอดพลงั งานในระบบนเิ วศ v.1 การถา่ ยทอดพลงั งานในระบบนเิ วศ v.2 32

ช่ือ................................... สารบัญ เน้อื หา แบบฝึกหดั ชั้น............ เลขท.่ี ........... หมายเหตุ : ส่งงานตรงเวลา ถกู ตอ้ ง เขา้ เรยี น รบั ลายเซน็ 1 ลายเซน็ ถา้ ครบ 15 ได้คะแนนพเิ ศษเพ่มิ อีกตามดลุ ยพนิ จิ ของผ้สู อน 33

แบบฝึก ัหด เ ืน้อหา สารบัญ ศศิมา. (2016). [ออนไลน์]. เข้าถึงไดจ้ าก : https:// environmentttt.wordpress.com/ (วันทคี่ น้ ข้อมลู : 05 กันยายน 2563). มาโนช. (2561). [ออนไลน์]. เขา้ ถงึ ไดจ้ าก : https:// sites.google.com/a/samakkhi.ac.th/withy-phun-than- w23102/hwng-so-xahar-food-chain (วนั ท่คี ้นขอ้ มูล : 05 กนั ยายน 2563). นงลักษณ.์ (2017). [ออนไลน์]. เข้าถึง ได้จาก : https://yuinongluk.wordpress.com/ (วันทคี่ ้น 34 ขอ้ มลู : 05 กันยายน 2563).

คณะผจู้ ัดทา สารบัญ เน้อื หา แบบฝึกหดั 1. นางสาววราภรณ์ กลุ ตัน รหัส 032 2. นางสาวพชิ ญ์สนิ ี ยอดจิตร์ รหสั 036 3. นางสาวกลั ยาณี เปีย่ มพร้อม รหัส 044 กลุม่ เรียน 02 35


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook