เช้อื เพลงิ ซากดึกดาบรรพ์ ที่มา : https://www.youtube.com/watch?v=KUGJIRCT1mk
“ แหล่งพลงั งาน “ ➢ พลงั งานทดแทน ➢ พลงั งานหมุนเวยี น ➢ พลงั งานสน้ิ เปลอื ง ท่มี า : https://images.app.goo.gl/9Zs2o126Nj6YvPje8
“ พลงั งานสิ้นเปลือง “ 1. ถ่านหิน 2. หนิ น้ามัน 3. ปโิ ตรเลยี ม 4. กา๊ ซธรรมชาติ
https://images.app.goo.gl/FBg6YqW1NMX4adJ9A เชอ้ื เพลงิ ซากดกึ ดาบรรพ์ https://images.app.goo.gl/AdNq3kGapKuB1QY28 เป็นพลังงานสิ้นเปลือง ใช้แล้วหมดไป ซึ่ง เกิดจากการแปรสภาพของซากสิ่งมีชีวิตที่ สะสมและทับถมกันใต้ผิวโลกภายใต้สภาพ ที่เหมาะสมเป็นเวลาหลายล้านปี โดยถ่าน หินและปิโตรเลียมมีกระบวนการเกิดท่ี แตกตา่ งกัน
ถ่านหนิ คณุ สมบตั ิของถา่ นหนิ ถ่านหิน เป็นเชื้อเพลิงธรรมชาติ หรือหิน เป็นของแขง็ ติดไฟไดด้ ี ตะกอนชนิดหนึ่งซึ่งเกิดจากการสะสมของซาก พืชในยุคดึกดาบรรพ์เวลานานจนเปลี่ยนสภาพ เป็นถ่านหิน มีส่วนประกอบที่สาคัญคือ ส่วนประกอบของคาร์บอน มีสนี า้ ตาลถงึ ดา ให้ความรอ้ นสงู ทม่ี า : https://images.app.goo.gl/9ceawYcyfjT5zp2y9
กระบวนการเกิดถ่านหนิ ตน้ ไม้หรอื พืชได้ตายลงและสะสมอยู่ในแอ่งน้านิ่งในสภาวะท่ขี าดออกซเิ จน เมอ่ื เวลาผา่ นไป สภาพพ้ืนผวิ ทีท่ ับถมซากพืช มกี ารเปลีย่ นแปลงและมกี ารทบั ถมเพม่ิ มากขึ้นเรื่อยๆ ซากพืชนี้ถูกทบั ถมภายใตค้ วามดนั และอุณหภูมิสงู เป็นเวลานานหลายลา้ นปี เกดิ เป็นถา่ นหนิ
แบบฝกึ หดั ที่ 4.1 หนา้ 65 ถา่ นหิน เกิดวงชีวิตต่อเนื่อง เมื่อสิ่งมีชีวิตต่างๆตายลง จะกลายเป็นซากพืช และเกิดการสะสม และทบั ถมของซากพชื เป็นจานวนมาก ซากพืชเหล่านี้ผ่านกระบวนการเปลี่ยนแปลงทางเคมีและฟิสิกส์จึงแปรสภาพไปเป็นถ่านหิน ต่อมามชี ั้นดนิ และหินมาทบั ถมคลุมชน้ั ถา่ นหินจนอยูใ่ นสภาพปจั จบุ ัน สิ่งมีชีวิตอาศยั อยู่บรเิ วณท่ีมีสภาพแวดล้อมเหมาะสมต่อการเจริญเตบิ โต เช่น บริเวณหนอง บึง รมิ แม่น้า รมิ ทะเล หลังจากเกิดการเปลี่ยนแปลงธรณี แผ่นดินจะทรุดตัวลง ส่งผลให้ซากพืชต่างๆ ถูกกดและ ดันลงไปสูช่ น้ั ดินท่ลี กึ ขึน้
ชนดิ ของถ่านหนิ ท่มี า : https://www.youtube.com/watch?v=U9-0S3kNRJY&t=60s
ชนิดของถา่ นหิน พตี ทมี่ า : https://dlink.me/n5pq4 เกิดจากการทับถมของซากพืชในระยะเวลาไม่ นาน ซากพืชบางส่วนยังสลายตัวไม่หมด ทาให้ ยงั มองเห็นซากพืชเป็นลาต้น กิง่ และใบ พีตมสี ี น้าตาลถึงสีดา มีปริมาณคาร์บอนต่ากว่าร้อยละ 60 โดยมวล มีปริมาณออกซิเจนและความชื้น สูง เปน็ ถา่ นหนิ คณุ ภาพระดบั ตา่ สุด สามารถใช้ เปน็ เชอ้ื เพลงิ ได้ แต่มคี า่ ความรอ้ นต่าและเผาแล้ว ไดค้ วนั มาก
ชนิดของถ่านหิน ลิกไนต์ ทม่ี า : http://energyearth.co.th/product?lang=th เป็นถ่านหินที่มีอายุการถูกทับถมมากกว่าพีต มีผิวด้าน สีน้าตาล และมีซากพืชที่ยังย่อย สลายไม่หมด มีปริมาณคาร์บอนร้อยละ 55- 60 มีปริมาณออกซิเจนค่อนข้างสูง มีความ ชิ้นสูงถึงร้อยละ 30-70 เมื่อติดไฟจะมีควัน และเถ้าถ่านมาก นามาใช้เป็นเชื้อเพลิงสาหรับ ผลิตกระแสไฟฟา้ และบม่ ใบยาสูบ
ชนดิ ของถ่านหนิ ซบั บิทมู ินสั ทม่ี า : http://energyearth.co.th/product?lang=th เป็นถ่านหินที่มีอายุการถูกทับถมมากกว่า ลกิ ไนต์ มีผิวดา้ นและเปน็ มันสีน้าตาลถึงสีรดา มีทั้งเนื้ออ่อนและเนื้อแข็ง มีความชื้นประมาณ ร้อยละ 25-30 มีปริมาณคาร์บอนรอ้ ยละ 71- 77 และมีปริมาณกามะถันต่า ส่วนใหญ่ใช้เป็น เชื้อเพลิงผลิตกระแสไฟฟ้าและอุตสาหกรรม อน่ื ๆ
ชนิดของถา่ นหิน บทิ ูมินัส ท่มี า : http://energyearth.co.th/product?lang=th เปน็ ถ่านหนิ ที่มีอายุการถูกทับถมมากกว่าซบั บิ ทูมินัส และได้รับความกดดันสูงจนอัดตัวแน่น มีเนื้อแน่น สีดา มีปริมาณคาร์บอนร้อยละ 80-90 และมีความชิ้นร้อยละ 2-7 มี คุณภาพดีกว่าลิกไนต์ เมื่อเผาไหม้แล้วจะให้ ความร้อนสูง
ชนดิ ของถา่ นหนิ แอนทราไซต์ ท่ีมา : http://energyearth.co.th/product?lang=th เป็นถา่ นหนิ ท่มี อี ายุการถกู ทับถมยาวนานที่สุด มีสีดา มีลักษณะเนื้อแน่น เป็นมันวาว น้าและ แก๊สต่างที่อยู่ภายในหินระเหยไปจนหมดเหลือ เพียงคาร์บอนเปน็ องค์ประกอบมากกว่าร้อยละ 90 มีความชื้นน้อย ติดไฟยาก เมื่อนามาเผา ไหมจ้ ะใหค้ วามรอ้ นสูง
ปรมิ าณคาร์บอนและปริมาณความชน้ื ของถ่านหนิ ประเภทของถ่านหนิ ปริมาณคาร์บอน ปรมิ าณความช้ืน พตี ต่า สงู ลกิ ไนต์ สูง ตา่ ซบั บิทมู ินัส บิทูมินสั แอนทราไซด์ คาถาม : เรียงลาดับปริมาณคาร์บอนในถา่ นหนิ จากมากไปนอ้ ย ? ตอบ : แอนทราไซด์ > บทิ มู ินัส > ซบั บิทูมินัส > ลิกไนต์ > พตี
ท่มี า : https://www.siamqualitywork.com/
ประโยชนข์ องถา่ นหนิ โรงไฟฟ้าแม่เมาะ จ.ลาปาง ท่ีมา : https://images.app.goo.gl/5kLQMtQ5a8MLNJYCA โรงงานอตุ สาหกรรม ท่มี า : https://www.siamqualitywork.com/ ทีม่ า : https://images.app.goo.gl/QfubjJF5RpSbx4f38
ท่มี า : https://www.siamqualitywork.com/
หนิ นา้ มนั คุณสมบัตขิ องหินนา้ มนั เป็นหินตะกอนที่มีเนื้อละเอียด มีสารประกอบอินทรีย์ เปน็ ของแขง็ และเหนยี ว มีสีน้าตาลไหม้ถึงดา แทรกอยู่ สามารถนาไปกลั่นน้ามันเพื่อใช้เป็นเชื้อเพลิง ได้ หินน้ามันจัดเป้นต้นกาเนิดของปิโตรเลียม โดยเกิด ติดไฟง่าย มเี นอ้ื ละเอียด จากการสะสมตัวของซากพืชซากสัตว์ร่วมกับตะกอน ขนาดเล็กในแอ่งตะกอน และถูกทับถมภายใต้ความ กดดันและอุณหภมู ิสงู เป็นเวลานาน “ แหล่งหนิ น้ามันทีส่ าคัญในประเทศไทยอยูใ่ นพื้นที่ “ “ จงั หวดั ตาก ลาพูน และกระบ่ี “ เคอโรเจนแทรกอยรู่ ะหวา่ งหินตะกอนคล้ายกับหินทเ่ี ป็นแหล่งกาเนดิ ปโิ ตรเลียม
กระบวนการเกดิ หินนา้ มัน ซากพชื จาพวกสาหรา่ ยและสัตวเ์ ลก็ ๆ จะจมลงสใู่ ต้แหล่งนา้ และสะสมพอกตวั เปน็ ชั้นอยใู่ นแหลง่ น้าซ่ึงมีปรมิ าณออกซิเจนนอ้ ย เมอ่ื เวลาผ่านไป เปลอื กโลกเกิดการเปล่ียนแปลงทรุดตวั ลง ซากพืชและซากสัตว์รวมไปถงึ แร่ธาตทุ ่ีผพุ ังมาจาก ช้นั หินซ่งึ เปน็ สารอนนิ ทรยี จ์ ะถูกทับถมลงไปลึกมากขึน้ เมอ่ื เวลาผา่ นไป น้าที่อยูภ่ ายในซากพชื ซากสตั วจ์ ะระเหยออกไปจนหมด สารอนิทรยี ท์ อี่ ยใู่ นซากพืชและซากสตั ว์ จะเปลี่ยนไปในรูปแบบของเคอโรเจน สารประกอบเคอโรเจนเมื่อผสมกับตะกอนดนิ ทถ่ี ูกอัดแนน่ จะกลายเปน็ หนิ นา้ มัน
แบบฝกึ หัดที่ 4.1 หน้า 65 หนิ น้ามนั สารประกอบเคอโรเจนเมื่อผสมกับตะกอนดินที่ถูกอัดแน่นจะกลายเป็นหินน้ามัน ซึ่งมี ลกั ษณะเป็นเนอ้ื ละเอียด สีนา้ ตาลไหม้ เม่อื เวลาผา่ นไป ภายใตค้ วามรอ้ นและความกดดันที่สูงข้นึ นา้ ที่อยู่ภายในซากพชื ซากสัตว์ จะระเหยออกไปจนหมด สารอนิ ทรีย์ในซากพืชและซากสตั วจ์ ะเปลยี่ นไปอยใู่ นรูปของสาร ประกอบเคอโรเจน ซากพืชและซากสัตว์จะจมลงสู้ใต้แหล่งน้าและสะสมพอกตัวเป็นชั้นอยู่ในแหล่งน้าที่มี ปริมาณออกซเิ จนนอ้ ย เมื่อเวลาผ่านไปหลายล้านปี เปลือกโลกเกิดจากการทรุดตัวลง ซากพืชซากสัตว์รวมไปถึงแร่ ธาตทุ ผ่ี พุ งั จากชน้ั หนิ จะถกู ทบั ถมลกึ ลงไปมากขน้ึ
สว่ นประกอบในหินน้ามัน มี 2 ประเภท 1. สารประกอบอนินทรีย์ ได้แก่แร่ธาตุต่าง ๆ ที่ผุพังมาจากชั้นหินโดยกระบวนการทางกายภาพและ ทางเคมี ประกอบดว้ ยแร่ธาตุท่ีสาคัญ 2 กลุม่ ใหญ่ ๆ คือ > กลมุ่ แรซ่ ลิ ิเกต ได้แก่ ควอทซ์ เฟลสปาร์ เคลย์ > กลุม่ แร่คารบ์ อเนต ได้แก่ แคลไซต์ โดโลไมต์
ส่วนประกอบในหนิ นา้ มัน 2 สารประกอบอนิ ทรีย์ ประกอบดว้ ยบิทูเมน และเคอโรเจน > บทิ เู มน ละลายไดใ้ นเบนซนี เฮกเซน และตวั ทาละลายอนิ ทรยี ์อน่ื ๆ จงึ แยกออกจากหนิ นา้ มนั ไดง้ า่ ย > เคอโรเจน ไม่ละลายในตัวทาละลาย หินนา้ มนั ที่มสี ารอินทรยี ล์ ะลายอย่ใู น ปริมาณสูงจัดเปน็ หินนา้ มนั คุณภาพดี
ประโยชนข์ องหนิ น้ามนั
หนิ น้ามนั
“ ปโิ ตรเลียม (Pertroleum)“ ปิโตรเลียม มาจากคาในภาษาละติน 2 คา คือ เพตรา (Petra) แปลว่าหิน และโอเลียม (Oleum) ซึ่งแปลว่า น้ามัน รวมความแล้ว หมายถึง น้ามันที่ได้ จากหิน สามารถแบ่งตามสถานะที่สาคัญได้ 2 ชนิด คือ น้ามันดิบ(Oil) และแก๊สธรรมชาติ (Natural Gaese)
“ ปิโตรเลยี ม (Pertroleum)“ สารไฮโดรคาร์บอน (CH) ที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ มีธาตุที่เป็นองค์ประกอบหลัก 2 ชนิด คือ คาร์บอน (C) และ ไฮโดรเจน (H) โดยอาจมธี าตุอโลหะชนดิ อื่น เช่น กามะถนั ออกซิเจน ไนโตรเจน ฯลฯ ปนอยู่ด้วย ปิโตรเลียมเป็นได้ทั้ง ของแข็ง ของเหลว หรือ แก๊ส ขึ้นอยู่กับองค์ประกอบของ ปิโตรเลียมเองเป็นสาคัญ นอกจากนี้ความร้อน และความกดดันของสภาพแวดล้อมที่ปิโตรเลียมนั้น ถูกกักเกบ็ ก็มีสว่ นในการกาหนดสถานะของปโิ ตรเลียม
กระบวนการเกดิ ปโิ ตรเลยี ม ซากพชื และซากสัตว์ขนาดเล็กถกู ทบั ถมด้วยตะกอนท่มี ขี นาดเล็กละเอียด ในแอ่งสะสมตะกอนในสภาวะท่ีขาดออกซิเจน ซากพืชและซากสัตว์ขนาดเลก็ ถูกทับถมลกึ ลงเรอ่ื ยๆ ภายใต้ความดนั และอุณหภมู ิสูงเปน็ เวลานานหลายล้านปี จนเกดิ เปน็ ปโิ ตรเลียม
กระบวนการเกดิ ปโิ ตรเลียม 300-400 ลา้ นปที ี่แลว้ 50-100 ลา้ นปที แ่ี ลว้ ปจั จุบนั ท่มี า : https://www.aksorn.com/
แบบฝกึ หดั ที่ 4.1 หน้า 65 ปโิ ตรเลยี ม ซากสัตว์ถูกทับถมด้วยชั้นกรวด ทราย และโคลนสลับกันเป็นชั้นๆ จนเกิดเป็นน้าหนักที่กด ทับกลายเปน็ ช้นั หนิ ต่างๆ สตั วท์ ะเลทีต่ ายเมือ่ หลายร้อยลา้ นปที แี่ ลว้ ทบั ถมอยใู่ ตม้ หาสมทุ รเป็นจานวนมาก จน กลายเป็นหินตน้ กาเนดิ แรงกดทบั จากชนั้ หนิ ต่างๆบบี ใหป้ โิ ตรเลียมข้ึนไปสะสมอยู่ในชั้นหนิ อุ้มปิโตรเลยี มและมีหินปิด ทับมาปดิ ก้ันไวก้ ลายเปน็ แหล่งกักเกบ็ ปิโตรเลยี ม เมื่อเวลาผ่านไปภายใต้ความร้อนและความดันสูง ทาให้ไขมันจากซากพืชและซากสัตว์ที่อยู่ ภายในหนิ ตน้ กาเนิดสลายตัวเปน็ นา้ มันปิโตรเลียม
ขน้ั ตอนการสารวจและแหล่งปิโตรเลยี ม ทมี่ า : https://dmf.go.th/public/petroleum/data/index/menu/992/groupid/1
ท่มี า : https://www.youtube.com/watch?v=DriKJhxpFx8
โครงสร้างแบบประทนุ ควา่ เกิดจากการหกั งอของช้ันหิน ทาใหม้ รี ปู ร่างโค้งคล้ายกระทะ โครงสร้างแบบรอยเล่อื น คว่าหรือหลังเต่า ปิโตรเลียมจะถูกกักเก็บอยู่บริเวณ จดุ สงู สุดโครงสรา้ งแบบนี้ถือวา่ มีประสิทธิภาพในการกกั เกบ็ น้ามันได้ดีที่สุด เกิดจากการหักงอของชน้ั หนิ สง่ ผลใหแ้ นวทางการเคลื่อนที่ ของชั้นหินมีทิศทางที่แตกต่างกัน ทาให้ปิโตรเลียมถูกกัก เก็บอยู่ในช่องทป่ี ิดกั้น
โครงสร้างแบบรปู โดม เกิดจากชั้นหินถูกดังให้โก่งตัวด้วยแร่เกลือจนเกิดลักษณะ โครงสร้างแบบลาดับช้นั คล้ายกับโครงสร้างกระทะคว่าอันใหญ่ ทาให้ปิโตรเลียมถูก กกั เกบ็ อยู่บรเิ วณด้านขา้ งของโดม เกิดขึ้นได้หลายรูปแบบ ขึ้นอยู่กับการเปลี่ยนแปลงของผิว โลกในอดีต ชั้นหินกักเก็บน้ามันจะถูกล้อมเป็นกระเปาะอยู่ ระหว่างชั้นหินเนื้อแน่น น้ามันและแก๊สจะเคลื่อนเข้าไป รวมตัวกันอยู่ในส่วนโค้งก้นกระทะ โดยมีชั้นหินเนื้อแน่น ปดิ ทับอยู่
ประเภทของปโิ ตรเลียม ปโิ ตรเลยี ม แกส๊ ธรรมชาติ นา้ มนั ดบิ
นา้ มันดิบ กา๊ ซธรรมชาติ เปน็ ของเหลว เปน็ แกส๊ มสี นี ้าตาลถงึ ดา แก๊สธรรมชาติบริสุทธิจ์ ะไม่มสี ี ไมก่ ลิ่น ที่มา : https://www.youtube.com/watch?v=DriKJhxpFx8 ทีม่ า : https://images.app.goo.gl/oyhva2cs2KZgtP3W8
น้ามันดบิ แท่นขดุ เจาะหรือแทน่ ผลติ โรงกล่นั นา้ มนั ดบิ
การกลัน่ น้ามนั ดบิ ถา้ มี รถ เบนซ์ น่ัง ก็ จะ ดี หลอ่ และ บี จะ พา องค์ประกอบที่มจี ดุ เดือด เต๋า และ ตอ๋ ย ไป เทย่ี ว ต่าสุดจะควบแน่นออกมา ในชน้ั บนสุดของหอกลั่น องคป์ ระกอบที่มจี ุดเดือด สงู สดุ จะควบแนน่ ออกมา ในช้นั ล่างสดุ ของหอกลนั่
การกล่ันน้ามนั ดิบ C1−4 แกส๊ ปโิ ตรเลียม แกส๊ บรรจุในกระปอ๋ ง แนฟทาหนัก C5−10 20℃ C5−9 แนฟทาเบา 70℃ C10−16 ตัวทาละลาย เช้อื เพลงิ ในรถยนต์ 120℃ C20−50 170℃ >C70 น้ามันกา๊ ด น้ามันดีเซล C14−20 270℃ น้ามนั เครื่องบิน 350℃ น้ามนั พาราฟนิ สาหรบั เคร่อื งยนต์ 600℃ น้ามันหลอ่ ลน่ื ไขน้ามันเตา C20−70 จาระบีและน้ามันเครอื่ ง เทียนไข เชื้อเพลงิ ในเรอื บิทูเมน และโรงงานอตุ สาหกรรม ยางมะตอย น้ามันดบิ ทม่ี า : https://www.aksorn.com/
การลน่ั แก๊สธรรมชาติ Hg CO2 H2S ความชน้ิ แทน่ ขุดเจาะหรอื แทน่ ผลิต โรงแยกแก๊สธรรมชาติ
การลั่นแกส๊ ธรรมชาติ เชื้อเพลงิ ผลติ กระแสไฟฟ้า เชอ้ื เพลงิ ในโรงงานอตุ สาหกรรม C1 แกส๊ ธรรมชาติสาหรับรถยนต์ (CNG) โรงแยกแกส๊ C2 , C3 วัตถดุ ิบสาหรับอตุ สาหกรรมปิโตรเคมี ธรรมชาติ C3, C4 แกส๊ ปิโตรเลียมเหลวใชเ้ ปน็ เช้อื เพลิงในครัวเรือนและยานพาหนะ C5 แกส๊ โซลีนธรรมชาตนิ าไปผสมเปน็ น้ามนั เบนซิน CO2 แกส๊ คาร์บอนไดออกไซด์ใชใ้ นอุตสาหกรรมผลิตนา้ อัดลม ที่มา : https://www.aksorn.com/
เช้อื เพลงิ ซากดึกดาบรรพ์ ก่อให้เกิดมลพิษทางอากาศ ซง่ึ การเผาไหม้เช้อื เพลิง สว่ นใหญ่ล้วนก่อให้เกดิ แก๊สคารบ์ อนไดออกไซดเ์ ปน็ หลัก ผลกระทบจากการใช้ประโยชน์ และการเผาไหม้นา้ มันกอ่ ให้เกดิ แก๊สมีเทน ซ่งึ แกส๊ เหล่าน้ี ของเชื้อเพลงิ ซากดกึ ดาบรรพ์ มีสมบัติเป็นแกส๊ เรอื นกระจก เปน็ สาเหตใุ ห้เกดิ ภาวะโลกร้อน ทมี่ า : https://www.aksorn.com/
ผลกระทบต่อมนษุ ย์และสิ่งแวดลอ้ ม NO2 ฝนุ่ CO2 ละออง ฝนุ่ SO2 CO2 SO2 CO2 ละออง SO2 NO2 SO2 NO2 CO2 CO2 SO2 NO2 ที่มา : https://images.app.goo.gl/U8Y9UMjXK7mSErFeA
ท่มี า : https://dmf.go.th/public/petroleum/data/index/menu/992/groupid/1
ความแตกต่างระหวา่ งถ่านหินกับปโิ ตรเลียม ถา่ นหนิ ปโิ ตรเลยี ม กระบวนการเกดิ เกิดจากซากพชื ซากสัตว์ทบั ถมบรเิ วณแอ่ง เกดิ จากซากพชื ซากสตั วข์ นาดเล็กทับถม น้านิ่งในสภาวะที่ขาดออกซิเจน ภายใต้ ดว้ ยจะกอนในแอง่ สะสมตะกอนในสภาวะท่ี ความดันและอุณหภมู ิสงู เปน็ เวลาหลายลา้ นปี ขาดออกซิเจนภายใต้ความดันและอณุ หภูมิ สูงเป็นเวลาหลายล้านปี สมบตั ิ มสี ถานะเปน็ ของแข็งสนี ้าตาลถงึ ดา เม่ือเผา - น้ามันดิบ มีสถานะเป็นของเหลวสี ไหม้จะใหค้ วามรอ้ นสงู นา้ ตาลถงึ ดา - แกส๊ ธรรมชาติ มีสถานะเป็นแกส๊ แก๊ส ธรรมชาติทบี่ รสิ ทุ ธิจ์ ะไมม่ ีสแี ละกลิ่น
Search