Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ทฤษฎี

ทฤษฎี

Published by Nitchanan Yathipeng, 2021-10-31 14:00:23

Description: ทฤษฎี

Search

Read the Text Version

1 ท ฤ ษ ฎี แ ล ะ จิ ต วิ ท ย า ก า ร เ รี ย น ร ้ ู MINIMALIST PRESENTATION

2 ค ว า ม ห ม า ย ข อ ง ก า ร เ รีย น รู้ คมิ เบิล ( Kimble , 1964 ) \"การเรียนรู้ เปน็ การเปลี่ยนแปลงคอ่ นขา้ งถาวรใน Mission 2 พฤติกรรม อันเป็นผลมาจากการฝMกึ iทssีไ่ ดioร้ nับก1ารเสริมแรง\" ฮิลการ์ด และ เบาเวอร์ (Hilgard & Bower, 1981) \"การเรียนรู้ เป็น กระบวนการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม อันเป็นผลมาจากประสบการณ์และการฝึก ท้ังนี้ไม่รวมถึงการเปล่ียนแปลงของพฤติกรรมท่ีเกิดจากการตอบสนองตาม สัญชาตญาณ ฤทธิ์ของยา หรือสารเคมี หรือปฏิกริยาสะท้อนตามธรรมชาติของ มนุษย์ \" คอนบาค ( Cronbach ) \"การเรียนรู้ เป็นการแสดงให้เห็นถึงพฤติกรรมที่มีการ เปลีย่ นแปลง อันเปน็ ผลเน่อื งมาจากประสบการณท์ ่แี ต่ละบุคคลประสบมา \" พจนานุกรมของเวบสเตอร์ (Webster 's Third New International Dictionary) \"การเรยี นรู้ คือ กระบวนการเพม่ิ พนู และปรงุ แต่งระบบความรู้ ทักษะ นิสัย หรือการแสดงออกต่างๆ อันมีผลมาจากส่ิงกระตุ้นอินทรีย์โดยผ่าน ประสบการณ์ การปฏิบตั ิ หรือการฝึกฝน\"

พฤติกรรมการเรียนรู้ตามจุดมุ่งหมายของนัก 3 การศึกษาซึง่ กาหนดโดย บลูม และคณะ (Bloom and Others ) ม่งุ พฒั นาผูเ้ รยี นใน 3 ดา้ น ดังน้ี 1.ด้านพุทธพิ ิสัย (Cognitive Domain) คือ ผลของการ เรียนรู้ที่เป็นความสามารถทางสมอง ครอบคลุม พฤติกรรมประเภท ความจา ความเข้าใจ การนาไปใช้ การวเิ คราะห์ การสังเคราะห์และประเมนิ ผล 2.ด้านเจตพิสยั (Affective Domain ) คือ ผลของการ จุ ด มุ่ ง ห ม า ย ข อ ง ก า ร เ รี ย น รู ้ เรียนรู้ที่เปล่ียนแปลงด้านความรู้สึก ครอบคลุม พฤติกรรมประเภท ความรู้สึก ความสนใจ ทัศนคติ การ BE THE BEST AGENCY ประเมนิ ค่าและคา่ นยิ ม 3.ด้านทักษะพิสยั (Psychomotor Domain) คอื ผล ของการเรียนรู้ท่ีเป็นความสามารถด้านการปฏิบัติ ครอบคลุมพฤติกรรมประเภท การเคลื่อนไหว การ กระทา การปฏบิ ตั งิ าน การมีทกั ษะและความชานาญ

4 อ ง ค์ ป ร ะ ก อ บ สำ คั ญ ข อ ง ก ำ ร เ รี ย น รู้ ดอลลารด์ และมลิ เลอร์ (Dallard and Miller) เสนอว่าการเรียนรู้ มอี งค์ประกอบสาคญั 4 ประการ คอื 1.แรงขับ (Drive) เป็นความตอ้ งการทีเ่ กิดขึ้นภายในตวั บุคคล เป็นความพรอ้ มที่จะเรยี นรขู้ องบุคคลท้งั สมอง ระบบ ประสาทสัมผัสและกล้ามเน้ือ แรงขับและความพร้อมเหล่านจ้ี ะก่อใหเ้ กิดปฏิกิริยา หรือพฤตกิ รรมท่ีจะชักนาไปสู่การ เรียนรตู้ อ่ ไป 2.ส่ิงเร้า (Stimulus) เป็นสิ่งแวดล้อมท่ีเกิดข้ึนในสถานการณ์ต่างๆ ซ่ึงเป็นตัวการท่ีทาให้บุคคลมีปฏิกิริยา หรือ พฤติกรรมตอบสนองออกมา ในสภาพการเรียนการสอน ส่ิงเร้าจะหมายถึงครู กิจกรรมการสอน และอุปกรณ์การ สอนต่างๆ ทคี่ รนู ามาใช้ 3.การตอบสนอง (Response) เป็นปฏิกิรยิ า หรือพฤติกรรมต่างๆ ท่ีแสดงออกมาเมื่อบุคคลได้รบั การกระตุ้นจากส่ิง เร้า ท้ังส่วนที่สังเกตเห็นได้และส่วนที่ไม่สามารถสังเกตเห็นได้ เช่น การเคลื่อนไหว ท่าทาง คาพูด การคิด การรับรู้ ความสนใจ และความร้สู ึก เปน็ ต้น 4.การเสริมแรง (Reinforcement) เป็นการให้ส่ิงท่ีมีอิทธิพลต่อบุคคลอันมีผลในการเพ่ิมพลังให้เกิดการเช่ือมโยง ระหว่างส่ิงเร้ากับการตอบสนองเพ่ิมขึ้น การเสริมแรงมีท้ังทางบวกและทางลบ ซึ่งมีผลต่อการเรียนรู้ของบุคคลเป็น อันมาก

ทฤษฎีการเรียนรู้ 5

6 ท ฤ ษ ฎี ก า ร เรี ย น รู้ ที่ สา คั ญ แบ่ ง อ อ ก ไ ด้ ๒ ก ลุ่ ม ใ ห ญ่ ๆ คื อ ทฤษฎกี ลมุ่ สัมพันธ์ตอ่ เนื่อง ทฤษฎีกลุ่มความร้คู วามเข้าใจ (Associative Theories) (Cognitive Theories)

ทฤษฎกี ลุ่มสัมพันธต์ ่อเน่ื อง 7 (Associative Theories) ทฤษฎีน้ีเห็นว่าการเรียนรู้เกิดจากการเชื่อมโยงระหว่างส่ิงเร้า (Stimulus) และการตอบสนอง (Response) ปัจจุบันเรียกนักทฤษฎีกลุ่มน้ีว่า \"พฤติกรรมนิยม\" (Behaviorism) ซ่ึงเน้นเก่ียวกับกระบวนการเปล่ียนแปลง พฤติกรรมท่ีมองเห็นและสังเกตได้มากกว่ากระบวนการคิด และปฏิกิริยาภายใน ของผู้เรยี น ทฤษฎกี ารเรยี นรกู้ ลมุ่ นแ้ี บง่ เป็นกลุม่ ยอ่ ยได้ ดังน้ี 1. ทฤษฎกี ารวางเงื่อนไข (Conditioning Theories) 1.1 ทฤษฎกี ารวางเงอ่ื นไขแบบคลาสสคิ (Classical Conditioning Theories) 1.2 ทฤษฎีการวางเง่อื นไขแบบการกระท า (Operant Conditioning Theory) 2. ทฤษฎีสมั พนั ธ์เชอื่ มโยง (Connectionism Theories) 2.1 ทฤษฎสี มั พันธเ์ ชือ่ มโยง (Connectionism Theory) 2.2 ทฤษฎีสมั พันธต์ อ่ เนือ่ ง (S-R Contiguity Theory)

ทฤษฎกี ลุ่มความรูค้ วามเข้าใจ8 (Cognitive Theories) ทฤษฎีการเรียนรู้ที่มองเห็นความสาคัญของกระบวนการคิดซึ่งเกิดข้ึน ภายในตัวบุคคลในระหว่างการเรียนรู้มากกว่าส่ิงเร้าและการตอบสนอง นักทฤษฎี กลุ่มน้ีเช่ือว่า พฤติกรรมหรือการตอบสนองใดๆ ท่ีบุคคลแสดงออกมานั้นต้องผ่าน กระบวนการคิดที่เกิดข้ึนระหว่างท่ีมีส่ิงเร้าและการตอบสนอง ซ่ึงหมายถึงการหย่ัง เห็น (Insight) คือ ความรู้ความเข้าใจในการแก้ปัญหา โดยการจัดระบบการรับรู้ แล้วเช่ือมโยงกบั ประสบการณ์เดมิ ทฤษฎีการเรยี นรกู้ ลมุ่ นีย้ งั แบง่ ย่อยได้อีกดงั นี้ 1. ทฤษฎีกลุ่มเกสตลั ท์ (Gestalt's Theory) 2. ทฤษฎสี นามของเลวิน ( Lewin's Field Theory)


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook