Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การเขียนโครงร่างรายงานวิจัย

การเขียนโครงร่างรายงานวิจัย

Published by รณชัย อินรัง, 2022-05-16 07:14:04

Description: IS โครงการ

Search

Read the Text Version

โครงร่างวจิ ัยการศกึ ษาการถ่ายโอนอิเลก็ ตรอนระหวา่ งข้ัวโลหะ กับสารจากธรรมชาตทิ ม่ี ีสมบตั ิเป็นสารอเิ ลก็ โทรไลต์ โดย 1. นางสาวขนษิ ฐา เจือ้ จ๋ิว เลขที่ 7 2. นางสาวมยุรีรตั น์ โพทะ เลขที่ 9 3. นางสาวสุวรรณา ปงกนั คา เลขท่ี 10 4. นางสาวสุณิสา ครองสวุ รรณ เลขท่ี 15 5. นางสาวอินทิรา อุชาติ เลขท่ี 18 นกั เรียนชั้นมัธยมศึกษาปที ี่ 6/1 เสนอตอ่ นายรณชัย อนิ รงั ครผู ู้สอนรายวชิ าเคมเี พม่ิ เติม 5 รายงานการคน้ ควา้ อิสระฉบับนเ้ี ปน็ สว่ นหนึ่งของการศกึ ษาตามหลกั สูตรวิชาเคมเี พ่ิมเติม 5 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2559 กล่มุ สาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์ โรงเรียนสรอยเสรวี ิทยา

1. ช่ืองานวิจัย การศึกษาการถ่ายโอนอิเล็กตรอนระหว่างข้ัวโลหะกับสารจากธรรมชาติที่มีสมบัติเป็นสาร อิเลก็ โทรไลต์ 2. ความสาคัญและความเป็นมาของปัญหา ไฟฟ้าเคมี เปน็ ศาสตรข์ องปฏกิ ิริยาท่ผี ิวหน้าสมั ผัสของ วัสดุตวั นาอิเล็กโทรนิก (Conductormaterial) ซ่ึงเป็นอิเล็กโทรด (Electrode) ท่ีอาจเป็นโลหะ หรือสารก่ึงตัวนาอย่างกราไฟต์ (Graphite) และไอออนิก คอนดักเตอร์อิเล็กโทรไลต์ (Electrolyte) ( วิกิพีเดีย, 2559) โดยมีความสัมพันธ์เกี่ยวกับปฏิกิริยาท่ีทาให้เกิด กระแสไฟฟ้าและการผ่านกระแสไฟฟ้าเข้าไปในสารเคมีเพื่อทาให้เกิดปฏิกิริยาเคมี ซึ่งเซลล์ไฟฟ้าเคมีนั้นแบ่ง ออกได้เป็น 2 ชนิด คือ เซลล์กัลวานิก และเซลล์อิเล็กโทรไลต์ โดยในที่น้ีจะกล่าวถึงเซลล์ไฟฟ้าเคมีประเภท เซลล์กัลวานิก ซึ่งเป็นเซลล์ไฟฟ้าเคมีหรือระบบที่ทาหน้าที่เปลี่ยนพลังงานเคมีเป็นพลังงานไฟฟ้า โดย ภายในซลล์เกิดการถ่ายโอนอเิ ล็กตรอนจากสารหน่ึงไปอีกสารหน่ึง ทาให้เกิดการไหลของอิเล็กตรอนผ่านตัวนา อยา่ งต่อเนอื่ ง จงึ เกดิ กระแสไฟฟา้ ไหลในวงจร (สาราญ พฤกษ์สนุ ทร, 2551) สารอิเล็กโทรไลต์คือสารท่ีสามารถแตกตัวเป็นไอออนอิสระเมื่อละลายน้าหรือหลอมเหลว ทาให้ สามารถนาไฟฟ้าได้ เนื่องจากโดยท่ัวไปสารละลายนั้นจะประกอบไปด้วยไอออนจึงมักเรียกกันว่า สารละลาย ไอออนกิ โดยปกติแลว้ อเิ ลก็ โทรไลต์จะอยใู่ นรปู ของกรด เบส หรอื เกลือ (วิกพิ ีเดีย, 2559) ในรูปของสารละลาย กรดการนาไฟฟา้ ของสารละลายมีความสัมพันธ์กับจานวนไอออนในสารละลาย ซึ่งส่วนหนึ่งมาจากการแตกตัว ของตัวละลาย โดยการที่สารละลายนาไฟฟ้าได้ดีแสดงว่าตัวละลายแตกตัวเป็นไอออนได้มาก ซึ่งในธรรมชาติ ของเรามีผกั และผลไม้ท่ีมีสมบัติเป็นสารละลายอิเล็กโทรไลต์จานวนมาก เช่น ต้นกล้วย มะนาว ส้มเป็นต้น ซ่ึง ผักและผลไม้ดังกล่าวข้างต้นท่ีมีสมบัติเป็นกรดได้แก่ มะนาว และส้ม ส่วนสารละลายท่ีมีสมบัติเป็นเบสได้แก่ ต้นกล้วย ซ่ึงสามารถแตกตัวเป็นไอออนเพื่อรับหรือให้อิเล็กตรอนกับโลหะได้ ทาให้เกิดกระแสไฟฟ้าได้ (วิชาการ.คอม, 2559) ใน กลุ่ มของข้าพเจ้ าส น ใจ ท่ีจ ะศึกษาเกี่ย ว กับเซล ล์ กัล ว า นิกโ ดย ใช้ส าร ล ะล าย อิเล็ กโ ทร ไล ต์จ าก ธรรมชาติ โดยมสี มบัติเป็นกรดและเบส ซ่ึงสามารถเกิดกระแสไฟฟ้าได้ โดยพบในผักและผลไม้หลายชนิด เช่น ต้นกล้วย มะนาว และส้ม ซึ่งสามารถหาได้ง่ายตามธรรมชาติ เพื่อศึกษาการถ่ายโอนอิเล็กตรอนระหว่างโลหะ กับไอออนของสารทีม่ สี มบัตเิ ปน็ อิเล็กโทรไลต์ 3. จุดมุ่งหมาย 3.1 เพื่อศึกษาความสามารถในการถา่ ยโอนอิเล็กตรอนระหว่างข้วั โลหะกับสารจากธรรมชาตทิ ่ีมสี มบตั ิ เป็นสารอิเล็กโทรไลต์ 3.2 เพอื่ ศึกษาศกั ยไ์ ฟฟ้าทเี่ กิดขึน้ เพื่อนาไปสู่การเปรยี บเทียบขอ้ มลู สมบัติความเปน็ สารอเิ ล็กโทรไลต์ ของสารจากธรรมชาติทน่ี ามาศึกษา 3.3 เพื่อนาองคค์ วามรูใ้ นศาสตร์วชิ าเคมี และ ฟสิ ิกส์ ตลอดจนทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตรม์ า ปรับใช้ในรายงานการสืบคน้ ในคร้งั นี้

4. ขอบเขตของงานวจิ ยั 4.1 ขอบเขตของกลมุ่ ตัวอยา่ งผลไม้ที่ใชใ้ นการศึกษา ใช้สารสกัดจากส้ม มะนาว ต้นกล้วย มะกรูด มะยม บอระเพ็ด ว่านหางจระเข้ และ น้าส้มสายชู 5% 4.2 ระยะเวลาในการศกึ ษา ระหว่างวนั ที่ 20 ตลุ าคม 2559 ถงึ 19 กุมภาพันธ์ 2560 4.3 ขอบเขตของงาน ศกึ ษาสมบตั คิ วามเปน็ อเิ ลก็ โทรไลตข์ องสารจากธรรมชาติ โดยศกึ ษาจากค่าศักยไ์ ฟฟ้าที่ เกิดขึ้นจากการถ่ายโอนอิเล็กตรอนของข้ัวไฟฟ้าแคโทด และแอโนด และอ่านค่าศักย์ท่ีเกิดข้ึนจาก เคร่อื งโวลตม์ ิเตอร์ 5. สมมตฐิ าน สารจากธรรมชาติ ได้แก่ ส้ม มะนาว มะยม ต้นกล้วย มะกรูด และน้าส้มสายชู 5% เป็นวัสดุชีวมวลที่ มีรสเปร้ียวมีสภาพความเป็นกรดอ่อน ส่วน บอระเพ็ด และว่านหางจระเข้ เป็นวัสดุชีวมวลท่ีมีรสฝาดมีสภาพ ความเป็นเบสอ่อน ซึ่งหากนามาประกอบกับโลหะบางชนิดมีความเป็นไปได้ที่จะใช้เป็นสารละลาย อเิ ล็กโทรไลตซ์ ่ึงอาจจะทาใหเ้ กดิ การถา่ ยโอนอิเลก็ ตรอนระหว่างโลหะกับไอออนของโลหะ โดยจะเกิดปฏิกิริยา เคมแี ลว้ ทาให้เกดิ ไฟฟา้ ได้ ตวั แปรตน้ : ชนดิ ของผลไม้ ตัวแปรตาม : ความสามารถในการถ่ายโอนอิเล็กตรอนระหว่างโลหะกับไอออนของโลหะในสารท่ีมีสมบัติเป็น สารอิเล็กโทรไลต์ ตัวแปรควบคุม : ปริมาตรของสารละลายท่ีใช้ , สภาวะท่ีใช้ในการทดลอง เช่น ความเข้มข้นของสารละลาย ตัวอยา่ ง 6. ข้อตกลงเบื้องตน้ 6.1 การศึกษาในคร้ังนี้เป็นการศึกษาค่าศักย์ไฟฟ้าที่เกิดข้ึนระหว่างความต่างศักย์ของขั้วแคโทดและ แอโนด โดยการใช้สารอเิ ลก็ โทรไลตจ์ ากธรรมชาติ 6.2 ขั้วแคโทดใชโ้ ลหะทองแดงเปน็ ขั้วไฟฟ้า และ แอโนดใชโ้ ลหะสงั กะสเี ป็นขว้ั ไฟฟา้ ตลอดการศกึ ษา 7. ประโยชน์ของการวจิ ยั 7.1 ได้ศึกษาความสามารถในการถ่ายโอนอิเล็กตรอนระหว่างขั้วโลหะกับสารจากธรรมชาติท่ีมีสมบัติ เปน็ สารอเิ ลก็ โทรไลต์ 7.2 ได้ศึกษาศักย์ไฟฟ้าท่ีเกิดขึ้น เพื่อนาไปสู่การเปรียบเทียบข้อมูลสมบัติความเป็นสารอิเล็กโทรไลต์ ของสารจากธรรมชาติท่นี ามาศึกษา

7.3 ไดน้ าองค์ความรู้ในศาสตร์วชิ าเคมี และ ฟสิ ิกส์ ตลอดจนทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์มา ปรับใชใ้ นรายงานการสบื คน้ ในครง้ั น้ี 8. สถานทท่ี าการวจิ ัย ห้องปฏบิ ตั ิการทางวทิ ยาศาสตร์ อาคาร 3 ชั้น 1 โรงเรียนสรอยเสรีวิทยา ต.สรอย อ.วังชนิ้ จ.แพร่ 9. ระยะเวลาทาการวจิ ัย ระยะเวลา 2559 2560 งาน ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. 1. ศกึ ษาเอกสารงานวจิ ัย ที่เกี่ยวข้อง 2. รวบรวมข้อมูลเอกสาร ทเ่ี กีย่ วข้อง 3. สร้างข้อมูล ลองใช้ แกไ้ ข 4. สุม่ ตวั อยา่ ง 5. วเิ คราะหข์ อ้ มลู และ แปรผล 6. เขียนต้นฉบบั รายงาน ผลการวจิ ยั 7. พมิ พ์รายงานการวจิ ยั และเข้าเลม่ 8. เสนอรายงานการวิจัย 10. เอกสารและงานวิจยั ทเี่ กี่ยวข้อง 10.1 ดารณี ไชยเวช. การถา่ ยโอนอเิ ล็กตรอนในเซลลก์ ัลวานิก. 2557 เซลล์กัลวานิก (Galvanic cell) หรือเซลล์โวลตาอิก (Voltaic cell) เป็นเซลล์ไฟฟ้าเคมีท่ีทาหน้าท่ี เปล่ียนพลังงานเคมีเป็นพลังงานไฟฟ้า เกิดจากปฏิกิริยาการถ่ายโอนอิเล็กตรอนจากสารหนึ่งไปยังอีกสารหน่ึง (เกิดปฏิกิริยารีดอกซ์) โดยสารตั้งต้นไม่ได้สัมผัสกันโดยตรง ทาให้เกิดการไหลของอิเล็กตรอนผ่านตัวนาอย่าง ต่อเนื่องจงึ เกดิ กระแสไฟฟา้ ไหลในวงจร

การทดลองนี้มีวัตถุประสงค์เพ่ือศึกษาการถ่ายโอนของอิเล็กตรอนในสารละลายอิเล็กโทรไลต์ เมื่อนา ครึ่งเซลล์ 2 ครงึ่ เซลล์ท่ปี ระกอบด้วยแผน่ ทองแดง (Cu) จุ่มในสารละลายคอปเปอร์(II)ซัลเฟต (CuSO4) กับครึ่ง เซลล์ท่ีประกอบด้วยแผ่นสังกะสี (Zn) จุ่มในสารละลายซิงค์ซัลเฟต (ZnSO4) มาต่อให้ครบวงจรด้วยสะพาน ไอออนทม่ี ีโซเดยี มซลั เฟตอ่มิ ตัว (NaSO4) และใชล้ วดตัวนาตอ่ จากขัว้ สังกะสีผา่ นโวลตม์ เิ ตอร์ไปยงั ข้วั ทองแดง ในขณะท่ีท่ีมีกระแสไฟฟ้าไหลในวงจร ครึ่งเซลล์หน่ึงจะเกิดปฏิกิริยาออกซิเดชัน โดยแท่งโลหะหรือ สารในขั้วไฟฟ้าจะเสียอิเล็กตรอน กลายเป็นโลหะไอออน ข้ัวไฟฟ้าของคร่ึงเซลล์ที่เกิดปฏิกิริยาออกซิเดชัน เรียกว่าขั้วแอโนด (Anode) เป็นข้ัวลบ คร่ึงเซลล์หนึ่งจะเกิดปฏิกิริยารีดักชัน โดยโลหะไอออนหรือไอออนใน สารละลายจะรับอิเล็กตรอนจากขัว้ แอโนด แล้วกลายเป็นโลหะเกาะบนขั้วโลหะน้ัน หรืออาจเกิดแก๊สไปเกาะที่ ขั้วเฉอื่ ย ขั้วไฟฟา้ ของคร่งึ เซลล์ทเี่ กดิ ปฏกิ ิริยารดี กั ชนั เรียกวา่ ขัว้ แคโทด (Cathode) และเปน็ ขว้ั บวก จากการทดลองพบว่าเข็มของโวลต์มิเตอร์เบนจากขั้วสังกะสีไปทางข้ัวทองแดง เมื่อเวลาผ่านไปจะ สังเกตเห็นขั้วสงั กะสผี ุกรอ่ น และขัว้ ทองแดงหนาขน้ึ (มีทองแดงมาเกาะ) แสดงว่าสังกะสีเสียอิเล็กตรอน ดังนั้น สังกะสีเป็นขั้วแอโนด เกิดปฏิกิริยาออกซิเดชัน อิเล็กตรอนท่ีเคลื่อนจากข้ัวสังกะสีไปทางขั้วทองแดง ซ่ึง คอปเปอร์(II)ไอออน (Cu2+) ในสารละลายจะรับอิเล็กตรอน เกิดปฏิกิริยารีดักชัน แล้วกลายเป็นทองแดง (Cu) ไปเกาะท่ีขั้วทองแดง ดังน้ันทองแดงเป็นข้ัวแคโทด ปฏิกิริยารีดักชัน ขณะที่ Zn สึกกร่อนเกิด Zn2+ ลงใน สารละลายปริมาณมากข้ึน ทาให้เกิดการสะสมประจุบวก สะพานไอออนจะเคลื่อนไอออนลบ (SO42- ) ลงใน สารละลายเพ่ือดุลประจุ และเม่ือ Cu2+ รับอิเล็กตรอนเป็นโลหะ Cu , Cu2+ ในสารละลายมีปริมาณลดลง ซ่ึง เดิมมีไอออนลบ (SO42-) และไอออนบวก (Cu2+ ) สมดุลกันอยู่ เป็นผลให้เกิดการสะสมประจุลบ (SO42-) สะพานไอออนจะเคลื่อนไอออนบวก (Na+ ) ลงในสารละลาย เพ่ือรักษาสมดุลของประจุ จึงทาให้อิเล็กตรอน ไหลในวงจรได้ตลอด 10.2 ยุวลั ย์ดา ธีรโพธพิ ันธ์. พลงั งานไฟฟา้ จากวสั ดุชวี ภาพท่มี กี รด. 2558 แบตเตอรรน่ี า้ ทน่ี ิยมใชใ้ นรถยนต์มแี ผ่นธาตบุ วกที่ทาจากตะกั่วเปอร์ออกไซด์ (PbO2) และแผ่นธาตุลบ จากตะกั่ว (Pb) โดยน้ายาอิเล็กโทรไลต์ทาจากกรดกามะถันเจือจางคือจะมีกรดกามะถัน (H2SO4) ประมาณ 38 % มีหนา้ ทใ่ี ห้แผน่ ธาตุลบเกดิ ปฏิกริ ยิ าทางเคมจี นเกดิ กระแสไฟฟ้าและแรงเคล่ือนไฟฟ้าขึ้นมาได้ ดังน้ันจึงมี แนวความคดิ เปลี่ยนแผน่ ธาตบุ วกเป็นแผน่ ทองแดงและแผ่นธาตุลบทาจากแผ่นสงั กะสซี ึง่ หาได้ง่ายในท้องตลาด ทั่วไป โดยใช้วัสดุชีวมวลที่มีความเปรี้ยวซึ่งมีสภาพเป็นกรด เช่น มะนาว มะกรูดและน้าส้มสายชูเป็น น้ายา อเิ ล็กโทรไลตแ์ ทน เน่ืองจากมะนาว มะกรูดและน้าส้มสายชู เป็นวัสดุชีวมวลที่รสเปรี้ยว มีสภาพความเป็นกรดอ่อน โดยเฉพาะน้าส้มสายชูท่ีเกิดจากการหมักมีความเป็นกรดชนิดเจือจางประมาณ 5% ซึ่งหากมาประกอบกับ โลหะบางชนิดจะมีความเป็นไปไดท้ จ่ี ะเกิดปฏกิ ริ ิยาเคมีขน้ึ แลว้ เกิดไฟฟา้ ได้ เมอื่ ได้ทาการทดลองโดยใช้สารอิเล็กโทรไลต์จากมะนาว มะกรูดและน้าส้มสายชู พบว่าเม่ือทาการต่อ 3 เซลล์ของ น้า ส้มสายชูแล้วทา การวัด แรงดันไฟฟ้าอ่านได้ 2.75 โวลต์ และที่ขั้วของแผ่น สังกะสีมี ฟองอากาศบางๆ พอสังเกตุได้ อยู่บริเวณแผ่น สังกะสีที่สัมผัสน้า ส้มสายชู ลองเอาหลอด LED ต่อแทน

มัลติมิเตอร์ ปรากฏว่า LED ติดสว่างเทียบเท่ากับความสว่างของแบตเตอร่ีมะนาวต่ออนุกรมกัน 6 ลูก ต่อมา ลองวัดแรงดันไฟฟ้าขณะที่ LED กาลังติดสว่าง (มัลติมิเตอร์ต่อขนานกับ LED) พบว่าแรงดันไฟฟ้าลดลงเหลือ 1.53 โวลต์ แบตเตอร่ีชวี มวลจากนา้ ส้มสายชูใหก้ าลงั ไฟฟา้ มากกว่า มะนาว และ มะกรูด วัดจากการใช้จานวน เซลล์ท่ีน้อยกว่า (3 เซลล์) หรือ 50% ทั้งนี้อาจเร่ืองจาก น้าส้มสายชูมีความเป็นกรดมากกว่า มะนาว และ มะกรดู 11. วธิ ดี าเนนิ การวจิ ัย 11.1 สารตวั อยา่ ง เครอื่ งมอื หรอื อุปกรณ์ สารเคมี ทีใ่ ชใ้ นการทดลอง 11.1.1 สารตวั อย่าง (Sample) 1) สารสกดั จากส้ม 2) สารสกัดจากมะนาว 3) สารสกัดจากตน้ กลว้ ย 4) สารสกดั จากมะกรูด 5) สารสกัดจากมะยม 6) สารสกัดจากวา่ นหางจระเข้ 7) สารสกัดจากบอระเพ็ด 8) นา้ สม้ สายชู 5% 11.1.2 เครือ่ งมอื หรืออุปกรณ์ (Tools or equipment) 1) หลอด LED (Light Emitting Diode) 2) หลอดทดลอง (Test tube) 3) เครือ่ งช่ัง (Digital scale) 4) บีกเกอร์ (Beaker) 5) หลอดหยดสาร (Dropper) 6) ปิเปต (Pipet) 7) ขวดปรับปริมาตร (Volumetric flask) 8) กรวยกรอง (Funel) 9) ช้อนตกั สาร (Spatula) 10) แทง่ แก้วคนสาร (Stirring Rod) 11) กระดาษกรอง (Filter paper) 12) ขวดนา้ กล่นั (Wash bottle) 13) เคร่อื งปนั่ (Blender) 14) โวลตม์ ิเตอร์ (Voltmeter)

11.1.3 สารเคมี (Chemicals) 1) นา้ กลน่ั (Distillate Water) 2) แผน่ สังกะสี (Zn (s)) 3) แผน่ โลหะทองแดง (Cu (s)) 4) สารละลายกรดไฮโดรคลอริก (HCl) 5) สารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์ (NaOH) 12. วิธีการทดลอง ตอนที่ 1 : ศกึ ษาสมบัตขิ องสารละลายอเิ ล็กโทรไลตแ์ ละสารละลายนอนอิเล็กโทรไลต์ V แผ่นโลหะสงั กะสี แผน่ โลหะทองแดง กรดไฮโดรคลอริก (HCl) -หมายเหตุ ทาการทดลองซ้า เปล่ียนสารละลายอิเล็กโทรไลต์จากสารละลายกรดไฮโดรคลอริก (HCl) เป็นสารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์ (NaOH) กรดซัลฟิวริก (H2SO4) กรดแอซิติก (CH3COOH) กรด ไนตรกิ (HNO3) สารละลายแอมโมเนีย (NH3) น้า นา้ มันพชื และกลูโคส

ตอนที่ 2 : ศึกษาผลของความเข้มข้นของสารละลายอิเล็กโทรไลต์ในห้องปฏิบัติการทดลองต่อค่า ศกั ยไ์ ฟฟา้ V แผ่นโลหะสังกะสี แผ่นโลหะทองแดง HCl ความเข้มขน้ 0.01 M -หมายเหตุ ทาการทดลองซ้า เปล่ียนสารละลายอิเล็กโทรไลต์จากสารละลายกรดไฮโดรคลอริก (HCl) ท่ีความเข้มข้น 0.01 M เป็นความเข้มข้น 0.1, 1, 2 และเปลี่ยนเป็นสารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์ (NaOH) ความเข้มข้น 0.01, 0.1, 1 และ 2 ตามลาดับ

ตอนท่ี 2 : การศึกษาการถ่ายโอนอิเล็กตรอนระหว่างข้ัวโลหะกับสารจากธรรมชาติท่ีมีสมบัติเป็น สารละลายอเิ ลก็ โทรไลต์ V แผน่ โลหะสงั กะสี แผ่นโลหะทองแดง สารสกัดจากนา้ มะนาว -หมายเหตุ ทาการทดลองซ้า เปล่ียนสารละลายอิเล็กโทรไลต์จากสารสกัดจากมะนาวเป็นสารสกัด จากส้ม ตน้ กล้วย มะกรดู มะยม บอระเพด็ วา่ นหางจระเข้ และนา้ สม้ สายชู 5% ตามลาดับ

ตอนที่ 3 : ศึกษาไฟฟ้าแบตเตอร่จี ากสารธรรมชาติโดยใช้มะนาว หลอด LED ตอนท่ี 4 : ศึกษาไฟฟา้ แบตเตอรีจ่ ากสารธรรมชาตโิ ดยใช้ต้นกลว้ ย หลอด LED สารสกัดจากหยวกกลว้ ย ท่ีหมกั ไว้เป็นเวลา 14 วนั

12.2 วิธีรวบรวมขอ้ มลู จากการทดลอง การทดลอง ผลการเล่ยี นแปลง ค่าศกั ย์ไฟฟ้า (V) สารละลายอิเลก็ โทรไลต์ ขวั้ ไฟฟ้า สารสกัดจากมะนาว แผ่นโลหะสงั กะสี แผ่นโลหะทองแดง สารสกดั จากส้ม แผน่ โลหะสังกะสี แผ่นโลหะทองแดง สารสกดั จากตน้ กลว้ ย แผ่นโลหะสังกะสี แผน่ โลหะทองแดง สารสกัดจากมะกรดู แผน่ โลหะสังกะสี แผน่ โลหะทองแดง สารสกัดจากมะยม แผน่ โลหะสังกะสี แผ่นโลหะทองแดง สารสกดั จากบอระเพ็ด แผ่นโลหะสงั กะสี แผ่นโลหะทองแดง สารสกัดจากวา่ นหางจระเข้ แผ่นโลหะสังกะสี แผน่ โลหะทองแดง น้าส้มสายชู 5% แผน่ โลหะสงั กะสี แผน่ โลหะทองแดง

13. เอกสารอ้างอิง 1) Dek-d. (ม.ป.ป.). สารละลายอิเล็กโทรไลต์จากธรรมชาต.ิ [ออนไลน์]เข้าถงึ ได้จาก: https://writer.dek-d.com/amulet_n/story/viewlongc.php?id=164024&chapter=37. (2559,พฤศจิกายน 20). 2) Nakhamwit. (ม.ป.ป.). พลงั งานจากตน้ กลว้ ย. [ออนไลน์]เขา้ ถึงได้จาก: http://www.nakhamwit.ac.th/pingpong_web/Elec_Chem.htm (2559,พฤศจิกายน 20). 3) จารสั อินสม. (2553). Modern compact. กรุงเทพฯ : แม็ค. 4) ตวิ เตอรพ์ อยท.์ (2556). สรปุ เคมีมัธยมปลาย. กรงุ เทพฯ : สถาบันกวดวิชาติวเตอร์พอยท์. 5) มหิดล. (ม.ป.ป.). การถา่ ยโอนอเิ ล็กตรอน. [ออนไลน์]เข้าถงึ ได้จาก: http://www.il.mahidol.ac.th/e-media/ap-chemistry1/chemical_bonding/ionic.htm (2559,พฤศจิกายน 20). 6) วิกิพเี ดยี . (2559,ตลุ าคม 3). ไฟฟ้าเคมี. [ออนไลน์]เข้าถึงไดจ้ าก: https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%AD%6578585867857E0%B8%B4%E0%B9%80%E0%B8 %A5%E0%B9%87%E0%B8%81%E0%B9%82%E0%B8%97%E0%B8%A3%E0%B9%84%E0%B8% A5%E0%B8%95%E0%B9%8C (2559,พฤศจิกายน 20). 7) วิกพิ ีเดีย. (2559,ตลุ าคม 3). เซลล์กัลวานกิ . [ออนไลน์]เขา้ ถึงไดจ้ าก: https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%AD%E0%B8%B4%E0%B9%80%E0%B8%A5%E0%B9%8 7%E0%B8%81%E0%B9%82%E0%B8%94357%E0%B8%A3%E0%B9%84%E0%B8%A5%E0%B8 %95%E0%B9%8C (2559,พฤศจิกายน 20). 8) วกิ ิพเี ดีย. (2559,ตุลาคม 10). กรด-เบส. [ออนไลน์]เข้าถึงได้จาก: https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%34878AD%E0%B8%B4%E0%B9%80%E0%B8%A5%E0% B9%87%E0%B8%81%E0%B9%82%E0%B8%94357%E0%B8%A3%E0%B9%84%E0%B8%A5%E0 %B8%95%E0%B9%8C (2559,พฤศจกิ ายน 20). 9) วกิ ิพีเดยี . (2559,ตุลาคม 5). สารละลายอิเล็กโทรไลต์. [ออนไลน์]เขา้ ถึงไดจ้ าก: https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%AD%E0%B8%B4%E0%B9%80%E0%B8%A5%E0%B9%8 7%E0%B8%81%E0%B9%82%E0%B8%97%E0%B8%A3%E0%B9%84%E0%B8%A5%E0%B8%95 %E0%B9%8C (2559,พฤศจกิ ายน 20). 10) สุรชัย ธชีพนั ธ.์ (2554). ไฟฟา้ เคม.ี กรุงเทพฯ : แบรนด์. 11) สถาบันส่งการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลย.ี (2554). เคมี เพิ่มเตมิ 4. กรงุ เทพฯ : สกสค. ลาดพร้าว. 12) สาราญ พฤกษส์ ุนทร. (2547). เคมีเพ่ิมเติม. กรงุ เทพฯ : พ.ศ. พฒั นา.

14. งบประมาณ 500 บาท - คา่ พิมพ์ 100 บาท - คา่ เขา้ เล่ม 600 บาท รวม ช่อื ผู้เสนอโครงร่างวิจยั ………………………………………………………………………….. ( นางสาวขนิษฐา เจื้อจ๋วิ ) ชอ่ื ผูเ้ สนอโครงร่างวิจัย………………………………………………………………………….. ( นางสาวมยรุ ีรตั น์ โพทะ ) ชื่อผเู้ สนอโครงร่างวิจยั ………………………………………………………………………….. ( นางสาวสวุ รรณา ปงกันคา ) ชื่อผเู้ สนอโครงร่างวิจยั ………………………………………………………………………….. ( นางสาวสณุ สิ า ครองสุวรรณ ) ชื่อผู้เสนอโครงรา่ งวิจยั ………………………………………………………………………….. ( นางสาวอนิ ทริ า อุชาติ ) ชอ่ื อาจารย์ท่ปี รึกษา…..………………………………………………………………………….. ( นายรณชยั อินรงั ) ชือ่ หัวหนา้ กลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์………………….………………………….. ( นายรณชัย อินรงั )


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook