Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล IEP เซเนด้า

แผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล IEP เซเนด้า

Published by kaew.xxxxxx, 2021-07-08 01:37:29

Description: IEP/IIP เซเนด้า

Keywords: IEP/IIP เซเนด้า

Search

Read the Text Version

โดยผูส อนพาผูเรียนไปปฏบิ ัติกิจกรรมจริงนอกหองเรยี น ผูสอนใหผ ูเรียนชี้บอกวา ส่งิ ใดเปน ของตนเอง และสงิ่ ใดทเ่ี ปนของคนอ่นื ไดแก กระเปา 4. เมือ่ ผูเรียนไมสามารถปฏบิ ัตไิ ด ผูสอนใหความชว ยเหลือ หรือกระตนุ เตือนดวยวาจา หรอื ชแ้ี นะในการปฏิบัติกจิ กรรม 5. ในกรณีที่ผเู รียนปฏิบตั ไิ ดดว ยตนเอง ผูสอนลดความชว ยเหลือและกระตุน เตอื น 6. ผูสอนกลาวคำชมเชย วา เกงมาก พรอ มกบั ปรบมือให และใหของบลอ็ กไม หนวยการเรียนรู เร่ือง หนูนอยนักคิด (เดือนมกราคม) 1. ผสู อนนั่งหันหนาเขาหาผูเรยี น พรอมกบั เตรียมอปุ กรณก ารสอนวางไวด า นหนา 2. ผูส อนสาธติ วิธกี ารบอกหรือชีไ้ ดว า สิ่งใดเปน ของตนเองและส่ิงใดเปนของผอู ื่น ไดแ ก กระเปา ใหผ เู รยี นดู 3. ผูเรียนฝกปฏิบตั ิกิจกรรมบอกหรือชี้ไดวา สิง่ ใดเปน ของตนเองและส่ิงใดเปนของผูอื่น ไดแก กระเปา ตามขั้นตอนท่ีผูสอนปฏิบัติใหผูเรียนดู โดยผูสอนพาผูเรียนไปปฏิบัติกิจกรรมจริง นอกหองเรียน ผูสอนใหผูเรียนชี้บอกวาสิ่งใดเปนของตนเอง และสิ่งใดที่เปนของคนอ่ืน ไดแ ก กระเปา 4. เม่ือผูเรยี นไมส ามารถปฏบิ ัติได ผูสอนใหความชว ยเหลอื หรือกระตนุ เตอื นดว ยวาจา หรือ ชีแ้ นะในการปฏบิ ัตกิ จิ กรรม 5. ในกรณที ่ีผูเรยี นปฏิบัติไดดวยตนเอง ผูสอนลดความชว ยเหลือและกระตนุ เตือน 6. ผูสอนกลา วคำชมเชย วา เกงมาก พรอมกบั ปรบมือให และใหของบลอ็ กไม หนวยการเรียนรู เร่ือง นักวิทยาศาสตรนอย (เดือนกุมภาพันธ) 1. ผูส อนนั่งหันหนาเขา หาผูเรียน พรอ มกบั เตรียมอุปกรณก ารสอนวางไวด านหนา 2. ผสู อนสาธิตวิธีการบอกหรอื ชี้ไดว า ส่ิงใดเปน ของตนเองและสิ่งใดเปนของผอู ่ืน ไดแ ก รองเทา ใหผ เู รยี นดู 3. ผูเรียนฝกปฏิบัติกิจกรรมบอกหรือชี้ไดว า สิง่ ใดเปน ของตนเองและส่ิงใดเปนของผูอ่ืน ไดแก รองเทา ตามขั้นตอนท่ีผูสอนปฏิบัติใหผูเรียนดู โดยผูสอนพาผูเรียนไปปฏิบัติกิจกรรมจริง นอกหองเรียน ผูสอนใหผูเรียนชี้บอกวาสิ่งใดเปนของตนเอง และสิ่งใดที่เปนของคนอ่ืน ไดแ ก รองเทา 4. เม่อื ผูเรยี นไมส ามารถปฏบิ ัตไิ ด ผูสอนใหค วามชว ยเหลือ หรอื กระตุนเตือนดว ยวาจา หรือ ชี้แนะในการปฏบิ ัติกิจกรรม 5. ในกรณที ่ีผเู รยี นปฏิบัติไดดวยตนเอง ผูสอนลดความชวยเหลือและกระตนุ เตือน 6. ผูสอนกลา วคำชมเชย วา เกง มาก พรอมกับปรบมือให และใหของบล็อกไม หนวยการเรียนรู เร่ือง ปลอดภัยไวกอน (เดือนมีนาคม) 1. ผูสอนนงั่ หนั หนาเขา หาผเู รยี น พรอมกับเตรียมอปุ กรณการสอนวางไวดา นหนา 2. ผูสอนสาธิตวิธีการบอกหรือชี้ไดวาสิง่ ใดเปนของตนเองและสิ่งใดเปนของผูอืน่ ไดแก ตูเก็บ ของของตวั เอง ใหผ เู รียนดู

3. ผูเรียนฝก ปฏบิ ตั กิ จิ กรรมบอกหรือชีไ้ ดวาสงิ่ ใดเปนของตนเองและส่ิงใดเปน ของผอู ่ืน ไดแก ตู เก็บของของตัวเอง ตามขั้นตอนท่ีผูสอนปฏิบัติใหผูเรียนดู โดยผูสอนพาผูเรียนไปปฏิบัติ กจิ กรรมจริงนอกหอ งเรยี น ผูสอนใหผ ูเรียนชบี้ อกวา สงิ่ ใดเปนของตนเอง และสงิ่ ใดทเี่ ปนของ คนอื่น ไดแก ตเู กบ็ ของของตวั เอง 4. เมือ่ ผูเรยี นไมสามารถปฏบิ ัติได ผูสอนใหความชว ยเหลอื หรอื กระตนุ เตอื นดวยวาจา หรอื ชแ้ี นะในการปฏบิ ัติกจิ กรรม 5. ในกรณีที่ผูเรยี นปฏบิ ัตไิ ดดว ยตนเอง ผูสอนลดความชว ยเหลอื และกระตนุ เตอื น 6. ผูสอนกลาวคำชมเชย วา เกง มาก พรอ มกบั ปรบมอื ให และใหของเลน หยอดกระดมุ ขนั้ สรุป - ผเู รียนและผูสอนรวมกันทบทวนกิจกรรม และประเมนิ ผลการเรยี นรู ส่ือ / อุปกรณ 1. เพลง “สวัสด”ี 2. เพลง “สวสั ดีคุณครทู ร่ี ัก” 3. เพลง “นบั เลข” 4. กระเปา รองเทา ตูเกบ็ ของของตวั เอง 5. วดิ ที ัศน ทอ งฟา ในเวลากลางวันกลางคนื 6. วดิ ที ัศน เรือ่ ง วงจรชวี ติ กบ https://www.youtube.com/watch?v=QjI5tmsXKNQ ส่ิงเสรมิ แรง 1. คำชมเชย เกง มาก 2. ปรบมอื 3. ของเลน บลอ็ กไม 4. ของเลน หยอดกระดมุ การวดั และประเมินผล วิธีการ การสงั เกตจากการฝกปฏิบัติ เครื่องมือ แบบประเมินผลการเรยี นรู เกณฑการวัดและประเมินผล 5 หมายถึง ทำไดด วยตนเองและเปนแบบอยา งผูอ่ืนได 4 หมายถึง ทำไดดว ยตนเอง 3 หมายถึง ทำไดโดยมกี ารชวยเหลือ ชแี้ นะจากผูอ ื่นบา งเล็กนอย 2 หมายถงึ ทำไดโ ดยมกี ารชวยเหลือ ชี้แนะ จากผูอ นื่ 1 หมายถงึ ทำไดโ ดยมีผูอ่ืนพาทำ ผลการเรียนรู 5 4 3 2 1

บนั ทกึ เพิ่มเติม ลงชือ่ (นางสาวกรแกว โอภาสสุวคนธ) ผูสอนประจำชนั้ ความเหน็ ผบู รหิ าร/ผูทีไ่ ดรับมอบหมาย  ควรปรบั ปรุง ดังนี้  เห็นควรใหใ ชส อนได ลงชื่อ.............................................. (นางสาวจฑุ ามาศ หลำคำ) หัวหนา กลมุ บรหิ ารวชิ าการ

แผนการสอนเฉพาะบุคคล ( Individual Implementation Plan : IIP ) ชือ่ -สกลุ เดก็ หญงิ เชเนดา ประเภทความพกิ าร บุคคลท่ีมีความบกพรองทางสตปิ ญญา ปการศึกษา 2564 พัฒนาการดาน การชว ยเหลือตนเองและสังคม เปา หมายระยะยาว 1 ป ภายในปการศึกษา 2564 ผเู รียนสามารถปฏิบัติกิจวัตรประจำไดดว ยตนเอง การแตง ตวั การใชหองนำ้ หอ งสว ม โดยมผี ูชว ยเหลอื แผนท่ี 1 เริ่มใชแผนวันที่ 1 มิถนุ ายน 2564 ส้นิ สุดแผนวันท่ี 31 สงิ หาคม 2564 ใชเวลาสอนคาบละ 50 นาที จดุ ประสงคเชิงพฤติกรรม ขอ ที่ 1. ภายในเดือนสิงหาคม 2564 ผเู รียนสามารถผูเรยี นสามารถแตงตวั โดยมีผู ชว ยเหลอื ไดแ ก การสวมกางเกงเอวยดื การสวมเสื้อยืดคอกลมได เนอ้ื หา การแตง ตวั โดยมผี ชู วยเหลอื ไดแ ก การสวมกางเกงเอวยืด การสวมเสอ้ื ยดื คอกลม เปนกิจกรรมที่ฝกให ผูเรียนไดพัฒนาทักษะการชวยเหลือตนเองและสังคม ซ่ึงสงเสริมใหเกิดความชำนาญและสามารถชวยเหลือ ตนเองในการดำรงชีวิตประจำวันได โดยเน้ือหาดังกลาวไดบูรณาการการจัดการเรียนรูใหเขากับหนวยการ เรียนรู ดังน้ี กจิ กรรมการเรยี นรู ขน้ั นำ หนวยการเรียนรู เรื่อง รา งกายของเรา (เดือนมิถนุ ายน) 1. ผเู รียนและผูส อนกลา วทักทายและสรา งความคุนเคยโดยรองเพลง “จับหวั จบั หู จับปากจับ ไหล” เพลง “จับหัว จบั หู จบั ปาก จับไหล” จับหวั จับหู จับปาก จับไหล แลว ตบมอื ใหพรอ มกนั 1 2 (ซ้ำ 1 รอบ) ** ฝก การสรางสรรคโดยการแปลงเน้อื /ฝก ใหเ ด็กเสนอความคิดเหน็ อยางฉับพลนั 2. ผสู อนและผเู รยี นรว มสนทนาเก่ยี วกับการดแู ลสว นตางๆ ของรา งกาย 3. ผสู อนสนทนากบั ผูเรยี นเก่ียวกับข้ันตอนการทำกจิ กรรมการฝกการรูจกั ารแตงตัวโดยมผี ู ชวยเหลอื ไดแ ก การูจ ักกางเกงเอวยดื และเสือ้ ยืดคอกลม หนว ยการเรียนรู เร่ือง ฝนจา (เดอื นกรกฎาคม) 1. ผูสอนกลา วทกั ทายผูเรยี นและสรางความคนุ เคยโดยรอ งเพลง “สวสั ด”ี เพลง “สวัสด”ี สวัสดี วันนพี้ บกนั สขุ ใจพลันฉันไดพบเธอ โอ ลัน ลา ลัน ลนั ลา ลัน ลา (ซำ้ 1 รอบ) 2. ผเู รียนและผสู อนพดู คยุ เกี่ยวกับการแตงกาย การดูแลตนเองในชวงฤดูฝน สตั วอนั ตราย ในฤดูฝน

3. ผสู อนเปดวดิ ีทัศนเกยี่ วกับฤดูฝน เรือ่ ง ฝนมาจากไหน https://www.youtube.com/watch?v=ewuMl6hLR9Q ใหผ เู รียนดู 4. ผูสอนสนทนากบั ผูเรยี นเกีย่ วกบั ขนั้ ตอนการทำกจิ กรรมการฝก การแตงตวั โดยมีผชู วยเหลอื ไดแ ก การสวมกางเกงเอวยดื หนว ยการเรยี นรู เร่อื ง หนูรกั แม (เดือนสิงหาคม) 1. ผสู อนกลาวทกั ทายผูเรยี นและสรางความคนุ เคยโดยรอ งเพลง “สวสั ดคี ุณผูสอนทีร่ ัก” เพลง “สวัสดคี ณุ ผสู อนที่รกั ” สวัสดีคุณผูสอนที่รัก หนูจะตั้งใจอานเขยี น ยามเชาเรามารโรงเรียน ยามเชา เรามาโรงเรียน หนูจะตั้งใจ ขยนั เรียนเอย (ซ้ำ 1 รอบ) 2. ผสู อนเปด เพลงท่มี ีความหมายเก่ยี วกบั แม (เพลง เรยี งความเรือ่ งแม) ใหก ับผูเ รียนฟง 3. ผสู อนสนทนากับผูเรียนเก่ยี วกบั การแสดงความรักตอแม สญั ลักษณว นั แม 4. ผสู อนสนทนากบั ผูเรยี นเก่ียวกบั ขนั้ ตอนการทำกจิ กรรมการฝก การแตงตวั โดยมีผูช ว ยเหลือ ไดแก การสวมเสอ้ื ยดื คอกลม ข้นั สอน หนวยการเรียนรู เรือ่ ง รา งกายของเรา (เดือนมิถนุ ายน) 1. ผสู อนน่ังหนั หนาเขาหาผูเรียน พรอ มกบั เตรียมอุปกรณ/กางเกงเอวยดื และเสอ้ื คอกลมมาวาง ไวดานหนา 2. ผูส อนอธบิ ายใหผ ูเรียนรจู ักกางเกงเอวยืด และเสอ้ื คอกลม จากกางเกงและเสอื้ ของผเู รยี น 3. ผูเ รียนฝก ปฏบิ ัติกิจกรรมการรูจักกางเกงเอวยืด และเสื้อคอกลม ตามขนั้ ตอนที่ผูสอนปฏิบัติ ใหผ เู รียนดู 4. เมอื่ ผูเรียนไมส ามารถปฏบิ ัติได ผูสอนใหค วามชวยเหลือ หรอื กระตนุ เตอื นดว ยวาจา หรอื ช้ีแนะในการปฏบิ ตั ิกิจกรรม 5. ในกรณีท่ีผูเ รียนปฏบิ ัติไดดว ยตนเอง ผูสอนลดความชว ยเหลอื และกระตุนเตือน 6. ผสู อนกลาวคำชมเชยวา เกงมาก พรอ มกบั ปรบมือให และใหข องเลนหยอดกระดมุ หนวยการเรยี นรู เรอ่ื ง ฝนจา (เดือนกรกฎาคม) 1. ผสู อนนง่ั หันหนา เขาหาผเู รยี น พรอ มกบั เตรียมอปุ กรณ/เสอ้ื คอกลมวางไวดา นหนา 2. ผูสอนสาธิตวิธีการสวมกางเกงเอวยืด ใหผูเรียนดู และใหผูเรยี นปฏิบัตพิ รอมกับผูสอน และ ผูสอนคอยใหการชี้แนะชว ยเหลอื 3. ผเู รยี นฝก ปฏิบัติกิจกรรมการสวมกางเกงเอวยืด โดยมผี ชู ว ยเหลือ ตามขั้นตอนทผ่ี ูส อนปฏิบัติ ใหผ เู รยี นดู 4. เมอื่ ผูเ รยี นไมสามารถปฏิบัตไิ ด ผูสอนใหค วามชว ยเหลือ หรอื กระตนุ เตอื นดวยวาจา หรือ ชีแ้ นะในการปฏบิ ตั ิกิจกรรม 5. ในกรณที ่ีผเู รยี นปฏิบัติไดดวยตนเอง ผูสอนลดความชว ยเหลอื และกระตนุ เตอื น 6. ผูสอนกลา วคำชมเชยวา เกง มาก พรอมกับปรบมอื ให และใหข องเลนรอยลูกปด

หนว ยการเรยี นรู เรอ่ื ง หนรู ักแม (เดอื นสงิ หาคม) 1. ผูสอนนง่ั หนั หนา เขา หาผูเ รยี น พรอมกับเตรียมอุปกรณ/ กางเกงเอวยดื วางไวด านหนา 2. ผูสอนสาธิตวิธีการสวมเสื้อคอกลมใหผูเรียนดู และใหผูเรียนปฏิบัติพรอมกับผูสอน และ ผสู อนคอยใหการชแี้ นะชวยเหลอื 3. ผูเรียนฝกปฏิบัติกิจกรรมการเสื้อคอกลมโดยมีผูชวยเหลือ ตามขั้นตอนที่ผูสอนปฏิบัติให ผูเ รยี นดู 4. เมื่อผูเรยี นไมสามารถปฏบิ ัติได ผูสอนใหความชว ยเหลือ หรือกระตนุ เตอื นดวยวาจา หรือ ชแี้ นะในการปฏบิ ตั ิกจิ กรรม 5. ในกรณีท่ีผเู รียนปฏิบตั ิไดดวยตนเอง ผูสอนลดความชวยเหลอื และกระตนุ เตอื น 6. ผูสอนกลา วคำชมเชยวา เกง มาก พรอมกบั ปรบมือให และใหของเลน เจดียสี ข้ันสรุป - ผูเรียนและผูสอนรวมกนั ทบทวนกิจกรรม และประเมินผลการเรียนรู สอ่ื / อปุ กรณ 1. เพลง “จับหัว จับหู จบั ปาก จับไหล” 2. เพลง “สวัสด”ี 3. วดิ ที ัศน เรอื่ ง ฝนมาจากไหน https://www.youtube.com/watch?v=ewuMl6hLR9Q 4. วิดีทัศน เพลง เรยี งความเรื่องแม 5. กางเกงเอวยดื 6. เสอ้ื ยดื คอกลม สงิ่ เสริมแรง 1. คำชมเชย เกงมาก 2. ปรบมือ 3. ของเลนรอยลกู ปด 4. เลน แท็บเล็ต 5. ของเลอนหยอดกระดมุ การวดั และประเมนิ ผล วธิ ีการ การสังเกตจากการฝกปฏิบัติ เครือ่ งมอื แบบประเมนิ ผลการเรียนรู เกณฑก ารวัดและประเมนิ ผล 5 หมายถงึ ทำไดดวยตนเองและเปน แบบอยา งผูอ่นื ได 4 หมายถงึ ทำไดด วยตนเอง 3 หมายถึง ทำไดโ ดยมีการชวยเหลอื ช้ีแนะจากผอู ืน่ บางเลก็ นอย 2 หมายถึง ทำไดโ ดยมกี ารชวยเหลือ ช้ีแนะ จากผอู ืน่ 1 หมายถึง ทำไดโ ดยมผี ูอ ่นื พาทำ

ผลการเรียนรู 5 4 3 2 1 บนั ทกึ เพิ่มเตมิ ลงชอ่ื (นางสาวกรแกว โอภาสสุวคนธ) ผูสอนประจำช้ัน ความเห็นผูบรหิ าร/ผูท่ไี ดรบั มอบหมาย  ควรปรบั ปรุง ดังนี้  เหน็ ควรใหใชสอนได ลงชอื่ .............................................. (นางสาวจุฑามาศ หลำคำ) หวั หนากลุมบริหารวิชาการ

แผนการสอนเฉพาะบุคคล ( Individual Implementation Plan : IIP ) ชือ่ -สกุล เดก็ หญิงเชเนดา ประเภทความพกิ าร บุคคลที่มีความบกพรองทางสติปญญา ปการศึกษา 2564 พฒั นาการดา น การชว ยเหลอื ตนเองและสังคม เปา หมายระยะยาว 1 ป ภายในปก ารศึกษา 2564 ผเู รยี นสามารถปฏบิ ัติกจิ วัตรประจำไดด วยตนเอง การแตงตวั การใชห องน้ำหอ งสวม โดยมีผูชวยเหลือ แผนที่ 2 เร่ิมใชแผนวนั ท่ี 1 กันยายน 2564 สนิ้ สุดแผนวนั ที่ 30 พฤศจกิ ายน 2564 ใชเ วลาสอนคาบละ 50 นาที จุดประสงคเชิงพฤติกรรม ขอ ท่ี 2. ภายในเดอื นพฤศจิกายน 2564 ผเู รยี นสามารถใชหองนำ้ หองสว ม โดยมีผชู ว ยเหลอื เน้อื หา ใชหองน้ำหองสวม โดยมีผูชวยเหลือ เปนกิจกรรมที่ฝกใหผูเรียนไดพัฒนาทักษะการชวยเหลือตนเอง และสังคม ชวงปฐมวัยเปนชวงที่เด็กสามารถเรียนรูทักษะและพฤติกรรมทางสังคมที่นำไปสูการมีวินัยใน ตนเอง ไดแก การพึ่งตนเอง ความเชื่อม่ันในตนเอง การเห็นใจ เขาใจ รวมรับรูความรูสึกของผูอ่ืน การควบคุม อารมณ การปฏิบัติตามมารยาทสังคม และการมีพฤติกรรมแบบรวมมือ ผูสอนควรจัดประสบการณการ เรียนรูเพื่อการสรางวินัยในตนเองใหแกเด็ก โดยเนื้อหาดังกลาวไดบูรณาการการจัดการเรียนรูใหเขากับ หนวย การเรียนรู ดังน้ี กิจกรรมการเรียนรู ข้ันนำ หนวยการเรยี นรู เรือ่ ง สัตวน ารู (เดือนกนั ยายน) 1. ผูส อนกลา วทกั ทายผูเรยี นและสรางความคุน เคยโดยรองเพลง “กง้ิ กือมหาสนกุ ” เพลง “ชาง” เพลง “กงิ้ กอื มหาสนุก” ฉันคอื กิ้งกอื ตวั ใหญ ตัวใหญและขาเยอะ(ยำ่ ๆ ๆ ยอ เตะ ยำ่ ๆ ๆ ยอ เตะ) เร่ืองจริงนะเช่อื ฉันเถอะ ฉันมีขาเยอะมากวาใคร ๆ (2 3 4) ซ้ำ 1 รอบ ฉนั คือกิ้งกอื ตวั ใหญ ตกใจเมื่อใครมาใกล ฉนั มีวิธีระวังภยั เมอื่ ใครมาใกล. .......จึงรบี ขดตวั เหลียวซาย แลขวา มองหาความปลอดภยั รอคอยจนมั่นใจ วา ปลอดภัย จึงคลายตวั จงึ คลายตวั จึงคลายตวั เพลง “ชา ง ชาง ชาง นองเคยเห็นชา งหรือเปลา ” ชา ง ชาง ชาง นองเคยเหน็ ชางหรอื เปลา ชางมันตวั โตไมเบา จมกู ยาวๆ เรียกวา “งวง” มเี ขยี้ วใตงวง เรยี กวา “งา” มหี ู มีตา หางยาว

2. ผูสอนเปด วดิ ีทัศน เพลง ชา ง ชาง ชา งนอ งเคยเห็นชางหรอื เปลา https://www.youtube.com/watch?v=3focu4DTjuc ใหผ ูเรยี นฟง 3. ผูสอนสนทนากับผูเรียนเกี่ยวกบั ข้ันตอนการทำกจิ กรรมการฝก การรูจกั หอ งน้ำหอ งสว มวา อยู บริเวณไหน หนวยการเรยี นรู เรือ่ ง อาชพี นารู (เดือนตลุ าคม) 1. ผูสอนกลา วทักทายผูเรยี นและสรา งความคุน เคยโดยรอ งเพลง “สวสั ดคี ณุ ครทู ร่ี ัก” เพลง “สวสั ดีคณุ ครูท่ีรกั ” สวสั ดีคณุ ครูท่รี ัก หนจู ะตงั้ ใจอา นเขยี น ยามเชาเรามารโรงเรียน ยามเชาเรามาโรงเรยี น หนจู ะตง้ั ใจขยันเรยี นเอย (ซ้ำ 1 รอบ) 2. ผูสอนเปด วดิ ีทัศน เรอื่ ง แนะนำอาชพี นา รู https://www.youtube.com/watch?v=ytx7Rym4LoQ ใหผ ูเรียนดู 4. ผูสอนสนทนากบั ผูเรยี นเกี่ยวกับขน้ั ตอนการทำกิจกรรมการฝก รจู ักอุปกรณต า งๆทใ่ี ชภ ายใน หองนำ้ หองสวม ไดแ ก ขนั ตักนำ้ สบู โถสวม กระดาษชำระ หนว ยการเรยี นรู เรอ่ื ง อาหารดีมปี ระโยชน (เดอื นพฤศจิกายน) 1. ผูส อนกลาวทักทายผูเรยี นและสรางความคนุ เคยโดยรอ งเพลง “แอปเปล มะละกอ กลว ย สม ” เพลง “แอปเปล มะละกอ กลวย สม ” แอปเปล แอปเปล แอปเปล / มะละกอ มะละกอ มะละกอ / กลว ย กลว ย กลวย/ สม สม สม / แอปเปล/ มะละกอ /กลว ย/ สม 2. ผูเ รยี นและผสู อนพดู คยุ เก่ยี วกับการรบั ประทานอาหารดมี ีประโยชนพ รอมกบั เปด วิดที ัศน เกย่ี วกบั อาหารหลัก 5 หมู ใหผูเ รยี นดู 3. เปด เพลง “กนิ ผกั กัน” https://www.youtube.com/watch?v=OnFakkw0uz0 3. ผูสอนสนทนากับผูเรียนเก่ยี วกับขน้ั ตอนการทำกจิ กรรมการฝกการใชหอ งน้ำหอ งสวม โดยมผี ู ชวยเหลือ ข้นั สอน หนว ยการเรียนรู เรอื่ ง สัตวนา รู (เดอื นกันยายน) 1. ผสู อนนงั่ หนั หนาเขา หาผเู รียน พรอ มกับเตรียมอุปกรณ/ การสอนมาวางไวด า นหนา 2. ผสู อนพาผเู รยี นไปรจู ักหองน้ำหอ งสว มวา อยบู รเิ วณไหน โดยมีผูชว ยเหลือ ในบรเิ วณโดยรอบ ศูนยฯ 3. ผูเรียนฝก ปฏบิ ตั กิ ิจกรรมการรูจักหองนำ้ หอ งสว มวา อยูบรเิ วณไหน โดยมผี ูช วยเหลือ ตาม ขนั้ ตอนทีผ่ ูส อนปฏิบัติใหผูเรียนดู 4. เมือ่ ผูเรียนไมสามารถปฏิบัติได ผูสอนใหค วามชว ยเหลือ หรือกระตุนเตือนดว ยวาจา หรือ ชแ้ี นะในการปฏบิ ตั ิกิจกรรม

5. ในกรณที ่ีผูเ รยี นปฏบิ ตั ไิ ดดว ยตนเอง ผูสอนลดความชว ยเหลอื และกระตนุ เตือน 6. ผูสอนกลาวคำชมเชยวา เกงมาก พรอ มกับปรบมือให และใหของเลนหยอดกระดุม หนวยการเรยี นรู เร่ือง อาชีพนา รู (เดือนตุลาคม) 1. ผสู อนน่งั หันหนา เขา หาผูเรียน พรอ มกับเตรียมอุปกรณ (ขันตักนำ้ สบู โถสว ม กระดาษชำระ) วางไวดานหนา 2. ผูสอนอธิบายอุปกรณตางๆที่ใชภายในหองน้ำหอ งสว มใหผูเรียนไดรูจกั ไดแก ขันตักน้ำ สบู โถสวม กระดาษชำระ 3. ผเู รียนฝกปฏบิ ัตกิ จิ กรรมหยิบบตั รภาพอปุ กรณต า งๆ ทใ่ี ชภ ายในหอ งน้ำ ไดแ ก ขนั ตกั น้ำ สบู โถสวม กระดาษชำระ ตามท่ีผสู อนกำหนด 4. เมื่อผเู รยี นไมสามารถปฏิบัติได ผูสอนใหความชวยเหลือ หรอื กระตุน เตือนดวยวาจา หรอื ชี้แนะในการปฏิบตั กิ จิ กรรม 5. ในกรณีท่ีผูเรียนปฏบิ ัตไิ ดดว ยตนเอง ผูสอนลดความชว ยเหลอื และกระตนุ เตอื น 6. ผูสอนกลา วคำชมเชยวา เกง มาก พรอมกับปรบมือให และใหของเลนบลอ็ กไม หนว ยการเรียนรู เร่ือง อาหารดีมีประโยชน (เดอื นพฤศจกิ ายน) 1. ผูสอนน่งั หันหนา เขาหาผเู รียน พรอ มกบั เตรียมอุปกรณ/ กางเกงเอวยดื วางไวด า นหนา 2. ผสู อนสาธติ วธิ กี ารใชหองน้ำหอ งสว ม โดยมีผูชว ยเหลือ และใหผเู รยี นปฏิบัติพรอมกับผูสอน และผสู อนคอยใหการชีแ้ นะชวยเหลือ 3. ผเู รียนฝกปฏบิ ัตกิ จิ กรรมการใชห องน้ำหองสว ม โดยมผี ูชวยเหลอื ตามขัน้ ตอนทผี่ สู อนปฏิบัติ ใหผ เู รยี นดู 4. เม่ือผเู รียนไมสามารถปฏบิ ัตไิ ด ผูสอนใหความชว ยเหลือ หรือกระตนุ เตือนดว ยวาจา หรือ ชี้แนะในการปฏบิ ัติกจิ กรรม 5. ในกรณีท่ีผเู รยี นปฏิบัตไิ ดดวยตนเอง ผูสอนลดความชว ยเหลือและกระตุนเตือน 6. ผูสอนกลาวคำชมเชยวา เกงมาก พรอมกับปรบมอื ให และใหข องเลนเจดยี สี ขั้นสรปุ - ผูเรยี นและผูสอนรว มกันทบทวนกิจกรรม และประเมนิ ผลการเรยี นรู สือ่ / อปุ กรณ 1. เพลง “แอปเปล มะละกอ กลว ย สม ” 2. เพลง “สวสั ดีคุณครูท่รี กั ” 3. เพลง “ชา ง ชาง ชางนอ งเคยเหน็ ชา งหรือเปลา 4. วดิ ีทัศน เรือ่ ง แนะนำอาชีพนา รู https://www.youtube.com/watch?v=ytx7Rym4LoQ 5. เพลง “กินผักกนั ” https://www.youtube.com/watch?v=OnFakkw0uz0 6. อุปกรณตางๆที่ใชภายในหอ งน้ำหองสว ม ไดแ ก ขันตกั นำ้ สบู โถสวม กระดาษชำระ

สงิ่ เสรมิ แรง 1. คำชมเชย เกง มาก 2. ปรบมือ 3. ของเลน บล็อกไม 4. ของเลนเจดยี สี 5. ของเลอนหยอดกระดุม การวดั และประเมนิ ผล วิธีการ การสงั เกตจากการฝกปฏิบตั ิ เครื่องมอื แบบประเมินผลการเรียนรู เกณฑก ารวัดและประเมนิ ผล 5 หมายถงึ ทำไดด วยตนเองและเปนแบบอยา งผอู นื่ ได 4 หมายถงึ ทำไดด วยตนเอง 3 หมายถงึ ทำไดโ ดยมีการชวยเหลอื ชแี้ นะจากผอู น่ื บา งเล็กนอย 2 หมายถงึ ทำไดโดยมีการชวยเหลือ ชแ้ี นะ จากผูอืน่ 1 หมายถึง ทำไดโ ดยมีผูอนื่ พาทำ ผลการเรียนรู 5 4 3 2 1 บนั ทึกเพิ่มเติม ลงชื่อ (นางสาวกรแกว โอภาสสวุ คนธ) ผูสอนประจำชน้ั ความเห็นผบู ริหาร/ผูทไ่ี ดรบั มอบหมาย  ควรปรับปรงุ ดงั นี้  เห็นควรใหใชส อนได ลงชื่อ.............................................. (นางสาวจุฑามาศ หลำคำ) หวั หนากลมุ บริหารวชิ าการ

แผนการสอนเฉพาะบคุ คล ( Individual Implementation Plan : IIP ) ช่อื -สกุล เดก็ หญิงเชเนดา ประเภทความพิการ บุคคลทีม่ ีความบกพรอ งทางสตปิ ญ ญา ปการศกึ ษา 2564 พัฒนาการดา น ดา นการชว ยเหลอื ตนเองและสังคม เปาหมายระยะยาว 1 ป ภายในปการศึกษา 2564 ผูเรียนสามารถสนใจและเรยี นรูสิ่งตางๆ รอบตัว เก็บและทิ้ง ขยะไดถกู ที่โดยการชว ยเหลอื แผนท่ี 3 เริ่มใชแ ผนวนั ที่ 1 ธันวาคม 2564 สนิ้ สุดแผนวันที่ 31 มกราคม 2565 ใชเวลาสอนคาบละ 50 นาที จดุ ประสงคเ ชิงพฤติกรรม ขอที่ 3. ภายในเดอื นมกราคม 2565 ผเู รยี นสามารถเก็บและท้ิงขยะไดถกู ที่ โดยการชวยเหลือ เน้ือหา การเก็บและทิ้งขยะไดถูกที่ เปนการฝกการชวยเหลือตนเองเบื้องตนในชีวิตประจำวัน เพื่อสงเสริม พัฒนาการดานสังคมและการชวยเหลือตนเอง นอกจากนี้ยังทำใหเด็กๆรูจักการดูแลสิ่งแวดลอมตางๆ ที่อยู รอบตัวเรา รูจักการรักษาความสะอาด รูจักการเก็บขยะและทิ้งใหถูกท่ี โดยเน้ือหาดังกลาวไดบูรณาการการ จัดการเรียนรูใหเขากับหนวยการเรียนรู ดังน้ี กจิ กรรมการเรยี นรู ขน้ั นำ หนวยการเรียนรู เรื่อง ฤดูหนาวมาแลว (เดือนธันวาคม) 1. ผูสอนกลาวทักทายผูเรยี นและสรางความคนุ เคยโดยรอ งเพลง “สวัสดคี ุณครทู ีร่ ัก” เพลง “สวสั ดคี ณุ ครูท่ีรกั ” สวสั ดีคุณครูทร่ี กั หนูจะต้ังใจอา นเขียน ยามเชาเรามารโรงเรียน ยามเชาเรามาโรงเรยี น หนูจะตง้ั ใจ ขยันเรียนเอย (ซำ้ 1 รอบ) 2. ผูสอนสนทนากับผูเรียนเกยี่ วกับการแตง กายในฤดูหนาว สภาพอากาศในฤดหู นาว การ ปฏบิ ตั ติ นในฤดหู นาว และเทศกาลตางๆในฤดูหนาว 3. ผสู อนสนทนากบั ผูเรียนเกย่ี วกบั ขนั้ ตอนการทำกิจกรรมการฝก การเก็บและทิง้ ขยะไดถกู ที่ โดยการชว ยเหลอื หนวยการเรียนรู เร่ือง หนูนอยนักคิด (เดือนมกราคม) 1. ผูสอนกลาวทกั ทายผูเรยี นและสรา งความคนุ เคยโดยรอ งเพลง “นับเลข” เพลง “นบั เลข” 1 2 3 4 // 1 2 3 4 // 5 6 7 // 5 6 7 มีทง้ั 8 และ 9 10 //มีท้งั 8 และ 9 10 จำใหดี จำใหด ี (ซ้ำ 1 รอบ)

2. ผสู อนสนทนากบั ผูเรยี นเก่ียวกับขั้นตอนการทำกจิ กรรมการฝก การเก็บและท้ิงขยะไดถูกที่ โดยการชวยเหลือ ขัน้ สอน หนวยการเรียนรู เรื่อง ฤดูหนาวมาแลว (เดือนธันวาคม) 1. ผูส อนนัง่ หนั หนาเขาหาผูเรยี น พรอ มกบั เตรยี มอุปกรณการสอนวางไวด านหนา 2. ผสู อนสาธิตวิธกี ารเก็บและทิง้ ขยะไดถ กู ที่ โดยการชวยเหลอื ใหผ ูเรียนดู 3. ผูเรียนฝกปฏิบัติกิจกรรมเก็บและทิ้งขยะไดถูกที่ โดยการชวยเหลือ ตามขั้นตอนท่ีผูสอน ปฏบิ ตั ใิ หผเู รียนดู โดยผูส อนพาผูเ รยี นฝก ปฏิบัตกิ ิจกรรมจรงิ นอกหองเรยี น 4. เมอ่ื ผูเรยี นไมสามารถปฏิบัติได ผูสอนใหค วามชวยเหลือ หรือกระตนุ เตือนดวยวาจา หรอื ชแี้ นะในการปฏบิ ตั กิ ิจกรรม 5. ในกรณีที่ผเู รยี นปฏบิ ตั ิไดดว ยตนเอง ผูสอนลดความชวยเหลอื และกระตนุ เตือน 6. ผูสอนกลาวคำชมเชย วา เกง มาก พรอ มกับปรบมอื ให และใหของบลอ็ กไม หนวยการเรียนรู เรื่อง หนูนอยนักคิด (เดือนมกราคม) 1. ผสู อนนงั่ หนั หนาเขาหาผูเ รียน พรอมกบั เตรียมอปุ กรณก ารสอนวางไวด านหนา 2. ผูสอนพาผูเ รียนเดนิ สำรวจบริเวณโดยรอบศนู ยฯ เพอื่ เกบ็ และทงิ้ ขยะใหถ ูกท่ี โดยการ ชว ยเหลือ 3. ผเู รยี นฝกปฏิบตั กิ จิ กรรมเดินสำรวจบรเิ วณโดยรอบศนู ยฯ เพ่ือเก็บและท้ิงขยะใหถ ูกที่ โดย การชว ยเหลือ ตามข้นั ตอนทผี่ ูสอนปฏิบตั ใิ หผูเ รียนดู (กจิ กรรมนอกหอ งเรยี น) 4. เม่ือผูเรยี นไมสามารถปฏิบัตไิ ด ผูสอนใหค วามชวยเหลอื หรอื กระตุนเตือนดวยวาจา หรือ ช้แี นะในการปฏบิ ัตกิ จิ กรรม 5. ในกรณที ี่ผเู รียนปฏิบัตไิ ดดวยตนเอง ผูสอนลดความชว ยเหลอื และกระตุน เตอื น 6. ผูสอนกลาวคำชมเชย วา เกง มาก พรอมกับปรบมอื ให และใหของเลน เจดยี สี ข้นั สรปุ - ผูเรยี นและผูสอนรวมกนั ทบทวนกิจกรรม และประเมนิ ผลการเรียนรู ส่อื / อปุ กรณ 1. เพลง “สวัสดีคุณครทู ี่รัก” 2. เพลง “นับเลข” 3. วดิ ที ัศน เพลง นับเลข 1-10 https://www.youtube.com/watch?v=byk4ElxdVTw 4. ถังขยะ /เศษกระดาษ /เศษใบไม สง่ิ เสรมิ แรง 1. คำชมเชย เกงมาก 2. ปรบมอื 3. ของเลน บลอ็ กไม 4. ของเลนเจดยี สี

การวดั และประเมนิ ผล วิธกี าร การสังเกตจากการฝก ปฏิบตั ิ เครอ่ื งมอื แบบประเมินผลการเรียนรู เกณฑก ารวัดและประเมินผล 5 หมายถงึ ทำไดด วยตนเองและเปน แบบอยา งผูอ ่ืนได 4 หมายถงึ ทำไดด ว ยตนเอง 3 หมายถงึ ทำไดโ ดยมีการชวยเหลอื ชี้แนะจากผูอ่ืนบา งเลก็ นอย 2 หมายถงึ ทำไดโดยมีการชว ยเหลอื ชี้แนะ จากผอู ืน่ 1 หมายถงึ ทำไดโ ดยมีผอู น่ื พาทำ ผลการเรียนรู 5 4 3 2 1 บันทกึ เพม่ิ เตมิ ลงชื่อ (นางสาวกรแกว โอภาสสุวคนธ) ผูสอนประจำชนั้ ความเหน็ ผูบ รหิ าร/ผูที่ไดรับมอบหมาย  ควรปรับปรงุ ดังน้ี  เหน็ ควรใหใชสอนได ลงช่ือ.............................................. (นางสาวจุฑามาศ หลำคำ) หัวหนา กลุมบริหารวชิ าการ

แผนการสอนเฉพาะบคุ คล ( Individual Implementation Plan : IIP ) ชือ่ -สกลุ เด็กหญิงเชเนดา ประเภทความพิการ บุคคลท่ีมีความบกพรอ งทางสตปิ ญ ญา ปการศึกษา 2564 พฒั นาการดาน ดานการชวยเหลอื ตนเองและสงั คม เปาหมายระยะยาว 1 ป ภายในปก ารศึกษา 2564 ผเู รียนสามารถยอมรับความเหมือนและความแตกตางระหวาง บุคคล เลนและทำกจิ กรรมรว มกับเดก็ ทแี่ ตกตา งไปจากตนได แผนที่ 4 เร่มิ ใชแ ผนวันท่ี 1 กุมภาพันธ 2565 ส้ินสดุ แผนวันท่ี 31 มนี าคม 2565 ใชเ วลาสอนคาบละ 50 นาที จดุ ประสงคเชงิ พฤตกิ รรม ขอ ที่ 4. ภายในเดอื นมีนาคม 2565 ผูเรียนสามารถเลน หรือทำงานรว มกับเพ่ือน เปน กลมุ เนื้อหา ผเู รียนสามารถเลน หรือทำงานรวมกับเพ่ือนเปน กลุม เปน การเลน ฝก ทักษะพัฒนาการดานตางๆของเด็ก ในชีวิตประจำวัน เพื่อสงเสริมพัฒนาการดานสังคมและการชวยเหลือตนเอง การทำกิจกรรมรวมกันกับผูอ่ืน นอกจากน้ีความแตกตางระหวางบุคคลยอมมีลักษะเฉพาะที่แตกตางกันออกไป ไมวาจะเปนลักษณทางรางกาย อารมณ ปฎกิ ริ ิยาทางสงั คม ความคดิ อานและสตปิ ญญา สาเหตุสำคัญท่ที ำใหบ ุคคลแตกตางกันกค็ ือ พันธกุ รรมและ สิง่ แวดลอ ม การทำความเขา ใจและยอมรบั เร่ืองความแตกตางระหวางบุคคลใหถกู ตอง จะชว ยใหเราปรบั ตัวเขากับ คนรอบขางไดง า ยขึ้น โดยเนื้อหาดังกลาวไดบูรณาการการจัดการเรียนรูใหเขากับหนวยการเรียนรู ดังน้ี กิจกรรมการเรยี นรู ขนั้ นำ หนวยการเรียนรู เร่ือง นักวิทยาศาสตรนอย (เดือนกุมภาพันธ) 1. ผสู อนกลา วทักทายผูเรียนและสรา งความคนุ เคยโดยรองเพลง “สวัสด”ี เพลง “สวสั ดี” สวัสดี วันน้ีพบกนั สุขใจพลันฉนั ไดพ บเธอ โอ ลัน ลา ลัน ลนั ลา ลนั ลา (ซำ้ 1 รอบ) 2. ผสู อนเปดวดิ ีทัศน ทองฟา ในเวลากลางวันกลางคนื ใหผเู รียนดู https://www.youtube.com/watch?v=hme7LJO-iL4 3. ผสู อนเปดวิดีทัศน เรอ่ื ง วงจรชีวติ กบ https://www.youtube.com/watch?v=1DIXeDH6zH4 4. ผูสอนสนทนากบั ผูเรยี นเก่ยี วกบั ข้นั ตอนการทำกจิ กรรมการฝกการเลนกับเพอื่ นเปนกลุม

หนวยการเรียนรู เรื่อง ปลอดภัยไวกอน (เดือนมีนาคม) 1. ผูสอนกลาวทักทายผูเรียนและสรา งความคนุ เคยโดยรอ งเพลง “สวัสด”ี เพลง “สวสั ดี” สวสั ดี วนั นพ้ี บกัน สุขใจพลนั ฉันไดพ บเธอ โอ ลัน ลา ลนั ลัน ลา ลนั ลา (ซำ้ 1 รอบ) 2. ผเู รียนและผูสอนพูดคยุ เกยี่ วกบั ความปลอดภัยภายนอกบา น (การขามถนน สัญญาณไฟ จราจร) และเปด วิดที ัศน (สญั ญาณไฟจราจร) https://www.youtube.com/watch?v=tWWLgghXUG0 3. ผูส อนสนทนากบั ผูเรยี นเก่ียวกบั ขัน้ ตอนการทำกจิ กรรมการฝก การทำงานรว มกับเพ่อื นเปน กลุม ข้ันสอน หนวยการเรียนรู เรื่อง นักวิทยาศาสตรนอย (เดือนกุมภาพันธ) 1. ผูสอนนั่งหันหนาเขาหาผเู รียน พรอมกบั เตรยี มอปุ กรณการสอนวางไวดานหนา 2. ผูสอนสาธิตวธิ กี ารเลน กบั เพื่อนเปน กลมุ โดยผสู อนแบงกลมุ ใหผ เู รียน เพ่ือเลนเกมเปนกลมุ หรือจับคู เพื่อใหผ ูเรยี นชวยกนั ทำกจิ กรรมดว ยกัน 3. ผูเรยี นฝก ปฏิบตั ิกิจกรรมเลน กับเพื่อนเปน กลมุ โดยผูสอนแบง กลุมใหผูเรียน เพอื่ เลน เกมเปน กลมุ หรอื จับคู เพื่อใหผูเรยี นชวยกนั ทำกจิ กรรมดว ยกัน ตามขน้ั ตอนทผี่ สู อนปฏบิ ตั ิใหผ ูเรียนดู โดยผสู อนพาผเู รียนปฏิบตั ิกจิ กรรม 4. เมื่อผเู รียนไมสามารถปฏบิ ัติได ผูสอนใหค วามชว ยเหลือ หรอื กระตนุ เตอื นดว ยวาจา หรอื ช้ีแนะในการปฏิบัติกจิ กรรม 5. ในกรณที ี่ผเู รียนปฏิบตั ิไดดว ยตนเอง ผูสอนลดความชวยเหลอื และกระตุนเตือน 6. ผูสอนกลาวคำชมเชย วา เกงมาก พรอมกับปรบมือให และใหของเลนหยอดกระดมุ หนวยการเรียนรู เร่ือง ปลอดภัยไวกอน (เดือนมีนาคม) 1. ผสู อนนงั่ หันหนาเขา หาผูเรียน พรอ มกบั เตรยี มอุปกรณ/ ใบงานการสอนวางไวดานหนา 2. ผสู อนสาธติ วิธีการทำงานรว มกบั เพื่อนเปนกลุม โดยผูสอนแบงกลมุ ใหผเู รียน เพอ่ื เลนเกมเปน กลุมหรือจบั คู เพื่อใหผเู รียนชวยกนั ทำกิจกรรมดว ยกัน (บา นน้มี คี วามสามคั คี) 3. ผูเรียนฝก ปฏิบตั ิกิจกรรมการทำงานรว มกับเพ่อื นเปนกลุม โดยผูสอนแบง กลมุ ใหผ ูเรียน เพ่ือ เลนเกมเปนกลุมหรือจับคู เพื่อใหผูเรียนชวยกันทำกิจกรรมดวยกัน ตามขั้นตอนท่ีผูสอน ปฏบิ ตั ิใหผเู รียนดู โดยผูสอนพาผูเ รยี นปฏิบัติกจิ กรรม 4. เม่ือผูเรยี นไมส ามารถปฏบิ ัติได ผูสอนใหค วามชว ยเหลือ หรือกระตนุ เตอื นดว ยวาจา หรือ ชี้แนะในการปฏบิ ัติกิจกรรม 5. ในกรณที ่ีผเู รียนปฏิบัติไดดว ยตนเอง ผูสอนลดความชว ยเหลอื และกระตุน เตือน 6. ผูสอนกลา วคำชมเชย วา เกง มาก พรอ มกับปรบมอื ให และใหของเลนเจดยี สี ข้นั สรปุ - ผเู รยี นและผูสอนรวมกันทบทวนกิจกรรม และประเมินผลการเรียนรู

สื่อ / อปุ กรณ 1. เพลง “สวสั ดี” 2. วดิ ที ศั น ทอ งฟาในเวลากลางวันกลางคนื ใหผ ูเรยี นดู https://www.youtube.com/watch?v=hme7LJO-iL4 3. วดิ ที ัศน เรอ่ื ง วงจรชีวติ กบ https://www.youtube.com/watch?v=1DIXeDH6zH4 4. วดิ ีทศั น (สญั ญาณไฟจราจร) https://www.youtube.com/watch?v=tWWLgghXUG0 5. แบบฝกหัด ส่ิงเสรมิ แรง 1. คำชมเชย เกงมาก 2. ปรบมือ 3. ของเลนเจดียสี 4. หยอดกระดมุ การวัดและประเมินผล วธิ ีการ การสงั เกตจากการฝก ปฏิบตั ิ เคร่ืองมือ แบบประเมนิ ผลการเรียนรู เกณฑก ารวัดและประเมนิ ผล 5 หมายถงึ ทำไดด ว ยตนเองและเปนแบบอยา งผอู น่ื ได 4 หมายถึง ทำไดดว ยตนเอง 3 หมายถึง ทำไดโ ดยมกี ารชวยเหลือ ชแ้ี นะจากผอู ื่นบา งเล็กนอย 2 หมายถงึ ทำไดโ ดยมกี ารชวยเหลือ ช้ีแนะ จากผอู ่นื 1 หมายถงึ ทำไดโดยมผี ูอ่นื พาทำ ผลการเรียนรู 5 4 3 2 1 บนั ทึกเพิ่มเตมิ ลงชอ่ื (นางสาวกรแกว โอภาสสวุ คนธ) ผูสอนประจำช้ัน

ความเหน็ ผบู ริหาร/ผูทไี่ ดรบั มอบหมาย  ควรปรบั ปรงุ ดังน้ี  เห็นควรใหใ ชสอนได ลงช่อื .............................................. (นางสาวจฑุ ามาศ หลำคำ) หัวหนา กลมุ บริหารวิชาการ

แผนการสอนเฉพาะบคุ คล ( Individual Implementation Plan : IIP ) ชื่อ-สกลุ เดก็ หญงิ เชเนดา ประเภทความพิการ บุคคลท่ีมีความบกพรองทางสติปญ ญา ปก ารศกึ ษา 2564 พัฒนาการดา น ดา นสตปิ ญญา เปาหมายระยะยาว 1 ป ภายในปการศกึ ษา 2564 ผูเ รียนสามารถพูดเพอ่ื สื่อความหมาย พดู เปนวลสี ัน้ ได แผนท่ี 1 เริ่มใชแ ผนวนั ท่ี 1 มิถนุ ายน 2564 สิ้นสุดแผนวันท่ี 31 สงิ หาคม 2564 ใชเ วลาสอนคาบละ 50 นาที จุดประสงคเ ชิงพฤติกรรม ขอ ที่ 1. ภายในเดอื นสิงหาคม 2564 ผเู รียนสามารถพูดเปน วลีสนั้ ๆ ได ไดแ ก ซาย ขวา ตรงไป เน้ือหา ผเู รยี นสามารถพูดเปน วลีส้ันๆ ได ไดแ ก กินขาว เขาหองน้ำ กลับบาน เปนกิจกรรมที่ฝกใหผูเรียนได พัฒนาดานสติปญญาและความสามารถในการคิดรวบยอด การใชศักยภาพแหงความฉลาดที่จะรู คิด รอบคอบ สำหรับวางแผนแกไขใหบรรลุตามความตองการอยางถูกตองเหมาะสม มีปฏิภาณไหวพริบแกไข ซึ่ง เรียกวา เชาวนปญญานั่นเอง โดยเนื้อหาดังกลาวไดบูรณาการการจัดการเรียนรูใหเขากับหนวยการเรียนรู ดังนี้ กจิ กรรมการเรียนรู ข้นั นำ หนวยการเรียนรู เรื่อง รางกายของเรา (เดือนมิถุนายน) 1. ผูเรียนและผสู อนกลา วทกั ทายและสรา งความคุน เคยโดยรองเพลง“จับหวั จบั หู จบั ปากจับ ไหล” เพลง “จบั หวั จับหู จบั ปาก จับไหล” จบั หวั จบั หู จบั ปาก จับไหล แลวตบมือ ใหพรอมกนั 1 2 (ซำ้ 1 รอบ) ** ฝก การสรา งสรรคโดยการแปลงเน้อื /ฝก ใหเ ดก็ เสนอความคิดเหน็ อยา งฉบั พลนั 2. ผสู อนและผูเรยี นรวมสนทนาเก่ยี วกบั การดแู ลสวนตา งๆ ของรา งกาย 3. ผสู อนสนทนากับผูเรยี นเกยี่ วกับขั้นตอนการทำกิจกรรมการฝก การพูดเปน วลีสั้นๆ ไดแ ก ซาย หนวยการเรียนรู เร่ือง ฝนจา (เดอื นกรกฎาคม) 1. ผสู อนกลาวทกั ทายผูเรยี นและสรา งความคนุ เคยโดยรองเพลง “สวสั ด”ี เพลง “สวัสด”ี สวัสดี วนั นพ้ี บกนั สขุ ใจพลันฉนั ไดพ บเธอ โอ ลนั ลา ลนั ลัน ลา ลนั ลา (ซำ้ 1 รอบ) 2. ผเู รียนและผูสอนพดู คุยเก่ียวกับการแตง กาย การดแู ลตนเองในชวงฤดูฝน สัตวอนั ตราย ในฤดฝู นและเปดวดิ ีทัศนเ กย่ี วกบั ฤดฝู นใหผูเรยี นดู

3. ผสู อนสนทนากบั ผูเรยี นเกีย่ วกับขั้นตอนการทำกิจกรรมการฝกการพดู เปน วลสี นั้ ๆ ไดแก ขวา หนวยการเรยี นรู เรือ่ ง หนูรกั แม (เดอื นสงิ หาคม) 1. ผูส อนกลา วทกั ทายผูเรยี นและสรางความคนุ เคยโดยรองเพลง “สวัสดคี ุณครทู ร่ี กั ” เพลง “สวสั ดีคณุ ครูทีร่ กั ” สวัสดีคณุ ครูทีร่ ัก หนูจะตง้ั ใจอา นเขยี น ยามเชาเรามารโรงเรียน ยามเชาเรามาโรงเรยี น หนจู ะตงั้ ใจ ขยันเรยี นเอย (ซำ้ 1 รอบ) 2. ผูสอนเปดเพลงทม่ี ีความหมายเกย่ี วกบั แม (เรียงความเรื่องแม) ใหผเู รยี นฟง 3. ผูสอนสนทนากับผูเรยี นเกีย่ วกับการแสดงความรักตอแม สัญลักษณวันแม 4. ผสู อนสนทนากับผูเรียนเก่ียวกบั ขัน้ ตอนการทำกิจกรรมการฝก การพูดเปนวลสี ้ันๆ ไดแ ก ตรงไป ขนั้ สอน หนวยการเรียนรู เรื่อง รางกายของเรา (เดือนมิถุนายน) 1. ผูสอนน่งั หนั หนาเขา หาผูเ รียน พรอ มกับเตรียมอุปกรณ/แบบฝกหดั การสอนวางไวด า นหนา 2. ผูสอนอธบิ ายและสาธิตวิธกี ารพดู เปน วลสี ัน้ ๆ ไดแ ก ซา ย ใหผ ูเ รียนดู พรอ มกับใหผูเรยี นพูด ตามผูส อน 3. ผูเรียนฝกปฏิบัติกิจกรรมการพูดเปนวลีสั้นๆ ไดแก ซาย ตามขั้นตอนท่ีผูสอนปฏิบัติ ให ผเู รยี นดู และใหผ เู รยี นทำแบบฝกหัด 4. เมือ่ ผเู รียนไมส ามารถปฏบิ ัติได ผูสอนใหค วามชว ยเหลือ หรือกระตุนเตือนดว ยวาจา หรือ ช้แี นะในการปฏิบตั ิกจิ กรรม 5. ในกรณีท่ีผเู รยี นปฏบิ ัตไิ ดดวยตนเอง ผูสอนลดความชวยเหลือและกระตุน เตือน 6. ผูสอนกลาวคำชมเชยวา เกง มาก พรอ มกบั ปรบมือให และใหของเลนโยนบอล หนวยการเรยี นรู เร่อื ง ฝนจา (เดอื นกรกฎาคม) 1. ผสู อนนั่งหันหนา เขา หาผเู รียน พรอ มกับเตรียมอุปกรณ/ แบบฝก หัดการสอนวางไวด านหนา 2. ผูสอนอธิบายและสาธิตวิธีการดเปนวลีสั้นๆ ไดแก ขวา ใหผูเรียนดู พรอมกับใหผูเรียนพูด ตามผสู อน 3. ผเู รยี นฝก ปฏิบัติกจิ กรรมการดเปนวลีส้นั ๆ ไดแ ก ขวา ตามข้ันตอนทผี่ ูสอนปฏิบัตใิ หผูเรียนดู และใหผ เู รียนทำแบบฝกหัด 4. เมื่อผูเรยี นไมส ามารถปฏิบัตไิ ด ผูสอนใหความชวยเหลอื หรอื กระตนุ เตอื นดว ยวาจา หรอื ช้ีแนะในการปฏิบตั ิกิจกรรม 5. ในกรณที ่ีผูเรยี นปฏบิ ตั ิไดดว ยตนเอง ผูสอนลดความชว ยเหลือและกระตนุ เตือน 6. ผูสอนกลาวคำชมเชยวา เกงมาก พรอมกบั ปรบมือให และใหข องเลน บล็อกไม หนว ยการเรยี นรู เร่ือง หนูรกั แม (เดอื นสงิ หาคม) 1. ผสู อนน่งั หันหนา เขาหาผเู รยี น พรอ มกบั เตรยี มอุปกรณ/แบบฝก หัดการสอนวางไวด า นหนา 2. ผสู อนอธิบายและสาธิตวธิ กี ารดเปนวลีสั้นๆ ไดแ ก ตรงไป ใหผ เู รียนดู พรอ มกับใหผูเรียนพูด ตามผสู อน

3. ผูเรียนฝกปฏิบัติกิจกรรมการดเปนวลีสั้นๆ ไดแก ตรงไป ตามขั้นตอนท่ีผูสอนปฏิบัติให ผเู รยี นดู และใหผ ูเรียนทำแบบฝก หดั 4. เมอ่ื ผูเรยี นไมสามารถปฏบิ ัติได ผูสอนใหความชว ยเหลอื หรือกระตุนเตือนดวยวาจา หรือ ชแี้ นะในการปฏิบัติกิจกรรม 5. ในกรณีที่ผูเรยี นปฏบิ ัติไดดวยตนเอง ผูสอนลดความชวยเหลอื และกระตนุ เตอื น 6. ผูสอนกลา วคำชมเชยวา เกงมาก พรอ มกบั ปรบมอื ให และใหข องเลนบล็อกไม ขั้นสรปุ - ผเู รียนและผูสอนรวมกนั ทบทวนกจิ กรรม และประเมนิ ผลการเรียนรู สื่อ / อปุ กรณ 1. เพลง “จบั หัว จบั หู จบั ปาก จับไหล” 2. เพลง “สวัสดคี ุณครูทร่ี ัก” 3. วิดที ัศน เรอ่ื ง สัตวอ ันตรายในฤดฝู น 4. บตั รภาพสญั ลกั ษณ เลี้ยวซา ย เล้ียวขวา ตรงไป 5. แบบฝก หัด สิง่ เสริมแรง 1. คำชมเชย เกง มาก 2. ปรบมือ 3. ของเลน โยนบอล 4. ของเลนบล็อกไม การวดั และประเมนิ ผล วิธกี าร การสงั เกตจากการฝก ปฏิบตั ิ เครื่องมือ แบบประเมินผลการเรยี นรู เกณฑก ารวัดและประเมนิ ผล 5 หมายถึง ทำไดด วยตนเองและเปน แบบอยางผอู ืน่ ได 4 หมายถงึ ทำไดดว ยตนเอง 3 หมายถงึ ทำไดโ ดยมกี ารชว ยเหลือ ชี้แนะจากผูอ ่นื บา งเล็กนอย 2 หมายถงึ ทำไดโดยมีการชว ยเหลือ ชแ้ี นะ จากผอู ื่น 1 หมายถึง ทำไดโ ดยมีผอู ืน่ พาทำ ผลการเรียนรู 5 4 3 2 1

บนั ทกึ เพิ่มเติม ลงช่ือ (นางสาวกรแกว โอภาสสุวคนธ) ผูสอนประจำช้ัน ความเหน็ ผบู รหิ าร/ผูทีไ่ ดรับมอบหมาย  ควรปรับปรุง ดงั น้ี  เห็นควรใหใ ชส อนได ลงชือ่ .............................................. (นางสาวจุฑามาศ หลำคำ) หัวหนา กลุมบรหิ ารวิชาการ

แผนการสอนเฉพาะบคุ คล ( Individual Implementation Plan : IIP ) ชือ่ -สกุล เดก็ หญิงเชเนดา ประเภทความพกิ าร บุคคลท่มี ีความบกพรอ งทางสตปิ ญ ญา ปก ารศกึ ษา 2564 พัฒนาการดาน ดานสติปญญา เปาหมายระยะยาว 1 ป ภายในปก ารศึกษา 2564 .ผูเรียนสามารถอา น เขยี นภาพและสัญลกั ษณ ทำเขยี นเสน พื้นฐาน แผนที่ 2 เร่ิมใชแผนวันที่ 1 กนั ยายน 2564 สิ้นสดุ แผนวนั ที่ 31 ธนั วาคม 2564 ใชเวลาสอนคาบละ 50 นาที จุดประสงคเชิงพฤตกิ รรม ขอ ท่ี 2. ภายในเดอื นธันวาคม 2564 ผูเรียนสามารถทำเขยี นเสนพ้นื ฐาน จำนวน 4 เสนได ไดแ ก เสนน้ำไหล เสนขนึ้ เขา เสน ลงเขา เสนหลังคาบา นได เน้อื หา ทำเขยี นเสน พืน้ ฐาน จำนวน 4 เสนได ไดแ ก เสน น้ำไหล เสนขึ้นเขา เสนลงเขา เสน หลังคาบา นได เปน กิจกรรมที่ฝกใหผูเรียนไดพัฒนาดานสติปญญาและความสามารถในการคิดรวบยอด การใชศักยภาพแหง ความฉลาดที่จะรู คิดรอบคอบ สำหรับวางแผนแกไขใหบรรลุตามความตองการอยางถูกตองเหมาะสม มีปฏิภาณไหวพริบแกไข ซึ่งเรียกวา เชาวนปญญานั่นเอง โดยเน้ือหาดังกลาวไดบูรณาการการจัดการเรียนรู ใหเขากับหนวยการเรียนรู ดังนี้ กิจกรรมการเรียนรู ข้ันนำ หนว ยการเรยี นรู เรือ่ ง สัตวนารู (เดอื นกันยายน) 1. ผสู อนกลา วทักทายผูเรียนและสรางความคุนเคยโดยรองเพลง “กง้ิ กอื มหาสนกุ ” เพลง “กิง้ กือมหาสนกุ ” ฉนั คอื ก้งิ กือตัวใหญ ตัวใหญแ ละขาเยอะ(ยำ่ ๆ ๆ ยอ เตะ ยำ่ ๆ ๆ ยอ เตะ) เรอ่ื งจริงนะเชอ่ื ฉนั เถอะ ฉันมีขาเยอะมากวาใคร ๆ (2 3 4) ซำ้ 1 รอบ ฉนั คอื กงิ้ กอื ตัวใหญ ตกใจเมอื่ ใครมาใกล ฉนั มีวธิ ีระวังภยั เมอ่ื ใครมาใกล........จงึ รีบขดตวั เหลยี วซาย แลขวา มองหาความปลอดภัย รอคอยจนม่นั ใจ วา ปลอดภยั จงึ คลายตวั จงึ คลายตัว จึงคลายตวั 2. ผสู อนเปดวิดีทัศนสารคดี เรอื่ ง สตั วน้ำ https://www.youtube.com/watch?v=bx93bY6FN7Y 3. ผสู อนสนทนากับผูเรียนเกย่ี วกับขั้นตอนการทำกิจกรรมการฝกการทำเขยี นเสนพืน้ ฐาน ไดแก เสนน้ำไหล

หนว ยการเรียนรู เร่อื ง อาชพี นารู (เดอื นตลุ าคม) 1. ผูส อนกลา วทกั ทายผูเรียนและสรา งความคนุ เคยโดยรอ งเพลง “สวสั ดคี ณุ ครทู ีร่ ัก” เพลง “สวัสดีคณุ ครูทร่ี ัก” สวัสดีคุณครูท่ีรกั หนจู ะตัง้ ใจอานเขยี น ยามเชาเรามารโรงเรียน ยามเชา เรามาโรงเรยี น หนจู ะตง้ั ใจขยันเรยี นเอย (ซำ้ 1 รอบ) 2. ผูสอนเปด วดิ ีทัศน เร่ือง แนะนำอาชพี นา รู https://www.youtube.com/watch?v=ytx7Rym4LoQ ใหผ ูเรยี นดู 3. ผูสอนสนทนากบั ผูเรียนเกยี่ วกบั ขน้ั ตอนการทำกิจกรรมการฝก การทำเขียนเสน พ้ืนฐานได ไดแ ก เสนข้ึนเขา หนวยการเรียนรู เร่อื ง อาหารดีมีประโยชน (เดือนพฤศจิกายน) 1. ผสู อนกลา วทกั ทายผูเรียนและสรา งความคนุ เคยโดยรองเพลง “แอปเปล มะละกอ กลว ย สม” เพลง “แอปเปล มะละกอ กลว ย สม ” แอปเปล แอปเปล แอปเปล / มะละกอ มะละกอ มะละกอ / กลว ย กลวย กลว ย/ สม สม สม / แอปเปล / มะละกอ /กลว ย/ สม 2. ผูเ รยี นและผสู อนพูดคยุ เกยี่ วกบั การรบั ประทานอาหารดมี ีประโยชนพ รอมกบั เปดวิดีทัศน เกย่ี วกับอาหารหลัก 5 หมู ใหผูเ รียนดู 3. เปดเพลง “กนิ ผกั กนั ” https://www.youtube.com/watch?v=OnFakkw0uz0 4. ผสู อนสนทนากับผูเรยี นเกย่ี วกับข้นั ตอนการทำกจิ กรรมการฝก การทำเขียนเสน พนื้ ฐาน ไดแ ก เสนลงเขา หนวยการเรียนรู เรื่อง ฤดูหนาวมาแลว (เดือนธันวาคม) 1. ผสู อนกลา วทกั ทายผูเรียนและสรา งความคุนเคยโดยรองเพลง “สวสั ดคี ุณครทู ี่รกั ” เพลง “สวสั ดีคณุ ครูที่รกั ” สวสั ดีคณุ ครูที่รัก หนูจะต้ังใจอานเขยี น ยามเชาเรามารโรงเรียน ยามเชาเรามาโรงเรยี น หนูจะตั้งใจ ขยนั เรยี นเอย (ซำ้ 1 รอบ) 2. ผูสอนสนทนากับผูเรยี นเกย่ี วกับการแตงกายในฤดูหนาว สภาพอากาศในฤดหู นาว การ ปฏบิ ัติตนในฤดูหนาว และเทศกาลตางๆในฤดูหนาว 3. ผสู อนสนทนากบั ผูเรียนเกยี่ วกับขน้ั ตอนการทำกจิ กรรมการฝกการทำเขียนเสน พื้นฐาน ไดแก เสนหลงั คาบานได ขั้นสอน หนวยการเรยี นรู เรอื่ ง หนรู กั แม (เดือนสิงหาคม) 1. ผูสอนน่ังหันหนา เขาหาผูเรยี น พรอมกับเตรยี มอุปกรณ/แบบฝก หัดการสอนวางไวดานหนา 2. ผูส อนอธิบายและสาธิตวิธีการทำเขยี นเสน พืน้ ฐานตามรอยประ ไดแ ก เสน นำ้ ไหล ใหผเู รยี นดู 3. ผูเรียนฝกปฏิบัติกิจกรรมการทำเขียนเสนพื้นฐานตามรอยประ ไดแก เสนน้ำไหล ตาม ขน้ั ตอนทผี่ ูสอนปฏบิ ัติใหผ เู รียนดู

4. เม่อื ผูเรยี นไมสามารถปฏิบัตไิ ด ผูสอนใหความชว ยเหลือ หรอื กระตุนเตือนดวยวาจา หรือ ชแี้ นะในการปฏบิ ตั กิ ิจกรรม 5. ในกรณที ี่ผเู รียนปฏบิ ตั ไิ ดดว ยตนเอง ผูสอนลดความชวยเหลอื และกระตุนเตอื น 6. ผูสอนกลา วคำชมเชยวา เกง มาก พรอมกับปรบมือให และใหเ ลนแทบ็ เลต็ หนว ยการเรยี นรู เร่ือง สัตวน า รู (เดอื นกันยายน) 1. ผสู อนน่ังหันหนาเขาหาผเู รียน พรอมกับเตรยี มอุปกรณ/ แบบฝก หดั การสอนวางไวดานหนา 2. ผสู อนอธิบายและสาธติ วธิ กี ารทำเขียนเสนพน้ื ฐานตามรอยประ ไดแ ก เสน ขึน้ เขา ใหผูเรียน ดู 3. ผูเ รียนฝกปฏิบตั ิกจิ กรรมการทำเขียนเสนพืน้ ฐานตามรอยประ ไดแ ก เสน ข้ึนเขา ตามขนั้ ตอนทผี่ ูสอนปฏบิ ัติใหผูเรียนดู 4. เม่ือผเู รียนไมสามารถปฏบิ ัตไิ ด ผูสอนใหความชวยเหลอื หรอื กระตนุ เตือนดวยวาจา หรือ ชีแ้ นะในการปฏบิ ัตกิ จิ กรรม 5. ในกรณีท่ีผูเรียนปฏิบัตไิ ดดวยตนเอง ผูสอนลดความชวยเหลือและกระตุนเตือน 6. ผูสอนกลาวคำชมเชยวา เกง มาก พรอ มกับปรบมือให และใหเ ลน แท็บเล็ต หนว ยการเรยี นรู เรือ่ ง อาชีพนา รู (เดือนตุลาคม) 1. ผสู อนนงั่ หันหนา เขา หาผเู รียน พรอมกับเตรยี มอุปกรณ/แบบฝก หดั การสอนวางไวดา นหนา 2. ผูสอนอธบิ ายและสาธิตวธิ กี ารทำเขยี นเสน พน้ื ฐานตามรอยประ ไดแก เสนลงเขา ใหผ ูเรยี นดู 3. ผเู รยี นฝก ปฏิบัติกิจกรรมการทำเขยี นเสนพืน้ ฐานตามรอยประ ไดแก เสนลงเขา ตามขั้นตอนทผี่ สู อนปฏิบตั ใิ หผเู รียนดู 4. เม่อื ผเู รียนไมส ามารถปฏบิ ัติได ผูสอนใหความชวยเหลอื หรอื กระตุน เตือนดวยวาจา หรอื ชแ้ี นะในการปฏบิ ัตกิ จิ กรรม 5. ในกรณที ี่ผูเรยี นปฏิบตั ิไดดว ยตนเอง ผูสอนลดความชวยเหลอื และกระตนุ เตือน 6. ผูสอนกลา วคำชมเชยวา เกงมาก พรอ มกบั ปรบมอื ให และใหข องเลนหยอดกระดุม หนวยการเรียนรู เร่ือง อาหารดีมีประโยชน (เดือนพฤศจิกายน) 1. ผสู อนนั่งหันหนาเขา หาผเู รยี น พรอ มกับเตรยี มอุปกรณ/ แบบฝกหัดการสอนวางไวดานหนา 2. ผสู อนอธบิ ายและสาธิตวธิ ีการทำเขียนเสน พ้ืนฐานตามรอยประ ไดแ ก เสนหลงั คาบาน ใหผ เู รียนดู 3. ผเู รียนฝก ปฏิบัติกิจกรรมการทำเขยี นเสน พน้ื ฐานตามรอยประ ไดแก เสนหลังคาบาน ตามขั้นตอนทผ่ี สู อนปฏบิ ัติใหผูเรียนดู 4. เม่อื ผเู รียนไมสามารถปฏิบัติได ผูสอนใหค วามชว ยเหลอื หรือกระตุน เตอื นดว ยวาจา หรือ ช้ีแนะในการปฏิบัติกจิ กรรม 5. ในกรณที ่ีผเู รยี นปฏบิ ัติไดดวยตนเอง ผูสอนลดความชว ยเหลอื และกระตนุ เตอื น 6. ผูสอนกลาวคำชมเชยวา เกงมาก พรอ มกบั ปรบมอื ให และใหข องเลน หยอดกระดุม ขัน้ สรปุ - ผูเ รียนและผูสอนรวมกันทบทวนกิจกรรม และประเมนิ ผลการเรียนรู

สือ่ / อปุ กรณ 1. เพลง “จับหวั จับหู จับปาก จับไหล” 2. เพลง “สวัสดคี ุณครูท่ีรกั ” 3. วดิ ีทศั นสารคดี เรือ่ ง สัตวน ้ำ https://www.youtube.com/watch?v=bx93bY6FN7Y 4. เพลง “กง้ิ กอื มหาสนุก” 5. เพลง “แอปเปล มะละกอ กลว ย สม ” 6. เพลง “กินผกั กัน” https://www.youtube.com/watch?v=OnFakkw0uz0 7. แบบฝก หดั สิง่ เสรมิ แรง 1. คำชมเชย เกง มาก 2. ปรบมือ 3. ของเลน บลอ็ กไม 4. ของเลนโยนบอล 5. ของเลนแท็บเลต็ 6. ของเลนเจดียสี การวดั และประเมนิ ผล วธิ กี าร การสงั เกตจากการฝกปฏิบัติ เครือ่ งมือ แบบประเมนิ ผลการเรยี นรู เกณฑการวัดและประเมินผล 5 หมายถงึ ทำไดด ว ยตนเองและเปนแบบอยางผอู ื่นได 4 หมายถงึ ทำไดด วยตนเอง 3 หมายถงึ ทำไดโ ดยมีการชว ยเหลอื ชแ้ี นะจากผอู น่ื บา งเลก็ นอย 2 หมายถึง ทำไดโดยมกี ารชวยเหลอื ช้แี นะ จากผอู ื่น 1 หมายถึง ทำไดโ ดยมีผอู น่ื พาทำ ผลการเรียนรู 5 4 3 2 1 บันทึกเพม่ิ เติม ลงช่ือ (นางสาวกรแกว โอภาสสวุ คนธ) ผูสอนประจำช้ัน

ความเหน็ ผบู ริหาร/ผูทไี่ ดรบั มอบหมาย  ควรปรบั ปรงุ ดังน้ี  เห็นควรใหใ ชสอนได ลงช่อื .............................................. (นางสาวจุฑามาศ หลำคำ) หัวหนา กลมุ บริหารวิชาการ

แผนการสอนเฉพาะบุคคล ( Individual Implementation Plan : IIP ) ชื่อ-สกลุ เดก็ หญงิ เชเนดา ประเภทความพกิ าร บุคคลทม่ี ีความบกพรองทางสติปญญา ปการศกึ ษา 2564 พฒั นาการดา น ดา นสตปิ ญญา เปาหมายระยะยาว 1 ป ภายในปการศึกษา 2564 ผูเรียนมคี วามสามารถในการคิดรวบยอด บอกลักษณะ ของส่งิ ตา ง ๆ จากการสงั เกต จับคูหรอื เปรยี บเทียบสิง่ ตาง ๆ ได แผนท่ี 3 เริ่มใชแ ผนวนั ท่ี 1 พฤศจกิ ายน 2564 สิ้นสดุ แผนวันท่ี 31 มีนาคม 2565 ใชเวลาสอนคาบละ 50 นาที จุดประสงคเชิงพฤติกรรม ขอที่ 3. ภายในเดือนมีนาคม 2565 ผูเรียนสามารถจับคูหรือเปรียบ สิ่งตางๆ ที่มี ลักษณะเหมือนกันได ไดแ ก รูปสัตว สง่ิ ของ ยาพาหนะ เนอ้ื หา การจับคูหรือเปรียบ สิ่งตางๆ ที่มีลักษณะเหมือนกันได ไดแก รูปสัตว สิ่งของ เปนการฝกฝนใหเด็กรูจกั การสงั เกตลักษณะตา งๆของวัตถุส่งิ ของ และรจู ักการจบั คูที่เหมอื นกัน มคี วามสมั พนั ธกนั หรือประเภทเดียวกันเขา คกู ัน โดยเนื้อหาดังกลาวไดบูรณาการการจัดการเรียนรูใหเขากับหนวยการเรียนรู ดังนี้ กิจกรรมการเรยี นรู ขั้นนำ หนวยการเรียนรู เร่ือง หนูนอยนักคิด (เดือนมกราคม) 1. ผูสอนกลาวทกั ทายผูเรยี นและสรา งความคุน เคยโดยรอ งเพลง “นบั เลข” เพลง “นับเลข” 1 2 3 4 // 1 2 3 4 // 5 6 7 // 5 6 7 มีทัง้ 8 และ 9 10 //มีท้งั 8 และ 9 10 จำใหดี จำใหด ี (ซำ้ 1 รอบ) 2. ผูสอนสนทนากบั ผูเรียนเกยี่ วกบั ข้ันตอนการทำกจิ กรรมการฝกการจับคหู รือเปรียบ สิง่ ตางๆ ที่มีลักษณะเหมือนกนั ได ไดแ ก รูปสตั ว หนวยการเรียนรู เร่ือง นักวิทยาศาสตรนอย (เดือนกุมภาพันธ) 1. ผูสอนกลาวทกั ทายผูเรียนและสรางความคุนเคยโดยรองเพลง “สวัสด”ี เพลง “สวสั ดี” สวสั ดี วนั น้ีพบกัน สุขใจพลันฉนั ไดพบเธอ โอ ลนั ลา ลนั ลัน ลา ลัน ลา (ซำ้ 1 รอบ) 2. ผูสอนเปด วิดีทัศน ทองฟาในเวลากลางวันกลางคืนใหผูเรยี นดู https://www.youtube.com/watch?v=hme7LJO-iL4 3. ผูสอนสนทนากับผูเรยี นเก่ยี วกบั ข้นั ตอนการทำกิจกรรมการฝก การจบั คูห รอื เปรียบ สิง่ ตา งๆ ท่ีมลี ักษณะเหมอื นกันได ไดแ ก ส่งิ ของ

หนวยการเรียนรู เร่ือง ปลอดภัยไวกอน (เดือนมีนาคม) 1. ผูส อนกลาวทกั ทายผูเรียนและสรา งความคนุ เคยโดยรองเพลง “สวสั ด”ี เพลง “สวสั ด”ี สวสั ดี วันนพ้ี บกนั สุขใจพลันฉันไดพบเธอ โอ ลัน ลา ลัน ลนั ลา ลนั ลา (ซ้ำ 1 รอบ) 2. ผเู รยี นและผสู อนพดู คยุ เก่ยี วกบั ความปลอดภัยภายนอกบา น (การขา มถนน สัญญาณไฟ จราจร) และเปดวดิ ที ัศน (สญั ญาณไฟจราจร) https://www.youtube.com/watch?v=tWWLgghXUG0 3. ผูสอนสนทนากับผูเรยี นเก่ียวกบั ข้นั ตอนการทำกจิ กรรมการฝกการจับคูหรือเปรยี บ ส่ิงตา งๆ ที่มีลกั ษณะเหมอื นกนั ได ไดแ ก ยานพาหนะ ข้ันสอน หนวยการเรียนรู เรื่อง หนูนอยนักคิด (เดือนมกราคม) 1. ผูสอนนั่งหันหนาเขาหาผูเรยี น พรอ มกบั เตรยี มอุปกรณ/ การสอนวางไวด า นหนา 2. ผูสอนอธบิ ายและสาธติ วธิ ีการจบั คูหรือเปรียบ สิง่ ตา งๆ ทม่ี ลี ักษณะเหมอื นกนั ได ไดแ ก รปู สัตว ใหผูเ รยี นดูและปฏบิ ัติตาม 3. ผเู รยี นฝก ปฏบิ ัตกิ จิ กรรมการจับคูห รอื เปรยี บ สงิ่ ตางๆ ทม่ี ลี ักษณะเหมอื นกันได ไดแ ก รปู สตั ว ตามข้ันตอนท่ีผูส อนปฏิบัติใหผเู รียนดู พรอ มท้งั ใหผ เู รยี นทำกิจกรรม 4. เม่ือผูเรียนไมสามารถปฏบิ ัตไิ ด ผูสอนใหค วามชวยเหลือ หรอื กระตุน เตอื นดว ยวาจา หรือ ชแี้ นะในการปฏบิ ัตกิ จิ กรรม 5. ในกรณีท่ีผเู รยี นปฏบิ ตั ิไดดว ยตนเอง ผูสอนลดความชวยเหลอื และกระตนุ เตือน 6. ผูสอนกลาวคำชมเชยวา เกง มาก พรอ มกับปรบมอื ให และใหของเลนบลอ็ กไม หนวยการเรียนรู เร่ือง นักวิทยาศาสตรนอย (เดือนกุมภาพันธ) 1. ผสู อนนง่ั หนั หนาเขา หาผเู รียน พรอมกบั เตรียมอุปกรณ/ การสอนวางไวด า นหนา 2. ผูสอนอธิบายและสาธิตวิธีการจับคูหรือเปรียบ สิ่งตางๆ ที่มีลักษณะเหมือนกันได ไดแก ส่ิงของ ใหผ เู รียนดูและปฏิบัติตาม 3. ผูเรียนฝกปฏิบัติกิจกรรมการจับคูหรือเปรียบ สิ่งตางๆ ที่มีลักษณะเหมือนกันได ไดแก สงิ่ ของตามขั้นตอนทผ่ี สู อนปฏบิ ตั ิ ใหผ เู รยี นดู พรอมทัง้ ใหผ ูเรยี นทำกิจกรรม 4. เมอื่ ผเู รยี นไมส ามารถปฏิบัติได ผูสอนใหความชวยเหลอื หรอื กระตุน เตอื นดวยวาจา หรอื ช้ีแนะในการปฏบิ ตั ิกิจกรรม 5. ในกรณีท่ีผูเ รียนปฏบิ ตั ิไดดวยตนเอง ผูสอนลดความชวยเหลือและกระตนุ เตอื น 6. ผูสอนกลา วคำชมเชยวา เกงมาก พรอมกับปรบมือให และใหของเลนโยนบอล หนวยการเรียนรู เร่ือง ปลอดภัยไวกอน (เดือนมีนาคม) 1. ผูส อนนงั่ หันหนา เขา หาผเู รียน พรอมกบั เตรียมอปุ กรณ/ แบบฝกหัดการสอนวางไวดานหนา 2. ผูสอนอธิบายและสาธิตวิธีการจับคูหรือเปรียบ สิ่งตางๆ ที่มีลักษณะเหมือนกันได ไดแก ยานพาหนะ ใหผ เู รยี นดูและปฏิบัติตาม 3. ผูเรียนฝกปฏิบัติกิจกรรมการจับคูหรือเปรียบ สิ่งตางๆ ที่มีลักษณะเหมือนกันได ไดแก ยานพาหนะตามขนั้ ตอนทผี่ ูส อน ปฏบิ ัตใิ หผ เู รียนดู พรอ มทงั้ ใหผ ูเรียนทำกจิ กรรม

4. เมื่อผเู รียนไมสามารถปฏบิ ัตไิ ด ผูสอนใหความชว ยเหลือ หรือกระตนุ เตือนดวยวาจา หรอื ชี้แนะในการปฏิบตั ิกจิ กรรม 5. ในกรณีที่ผเู รยี นปฏบิ ัติไดดวยตนเอง ผูสอนลดความชว ยเหลือและกระตนุ เตอื น 6. ผูสอนกลาวคำชมเชยวา เกงมาก พรอมกับปรบมอื ให และใหข องเลน เจดยี ส ี ขนั้ สรุป - ผูเ รียนและผูสอนรว มกนั ทบทวนกิจกรรม และประเมนิ ผลการเรยี นรู สื่อ / อุปกรณ 1. เพลง “สวสั ดคี ุณครูที่รัก” 2. วัสดผุ ิวเรยี บ 3. วัสดุผวิ หยาบ 4. วัสดุผวิ นุม 5. วัสดุผิวแขง็ 6. วิดีทัศน ทองฟา ในเวลากลางวันกลางคืนใหผ ูเรยี นดู https://www.youtube.com/watch?v=hme7LJO-iL4 7. เปด วดิ ที ัศน (สญั ญาณไฟจราจร) https://www.youtube.com/watch?v=tWWLgghXUG0 สงิ่ เสริมแรง 1. คำชมเชย เกงมาก 2. ปรบมอื 3. เลน โยนลกู บอล 4. ของเลนบล็อกไม การวดั และประเมินผล วิธีการ การสงั เกตจากการฝก ปฏิบตั ิ เคร่อื งมือ แบบประเมนิ ผลการเรยี นรู เกณฑการวัดและประเมนิ ผล 5 หมายถึง ทำไดด ว ยตนเองและเปนแบบอยา งผูอ่ืนได 4 หมายถึง ทำไดดวยตนเอง 3 หมายถงึ ทำไดโดยมกี ารชว ยเหลือ ช้ีแนะจากผูอนื่ บางเลก็ นอ ย 2 หมายถึง ทำไดโดยมีการชวยเหลอื ช้แี นะ จากผอู นื่ 1 หมายถงึ ทำไดโดยมีผอู น่ื พาทำ ผลการเรียนรู 5 4 3 2 1

บนั ทกึ เพิ่มเติม ลงช่ือ (นางสาวกรแกว โอภาสสุวคนธ) ผูสอนประจำช้ัน ความเหน็ ผบู รหิ าร/ผูทีไ่ ดรับมอบหมาย  ควรปรับปรุง ดงั น้ี  เห็นควรใหใ ชส อนได ลงชือ่ .............................................. (นางสาวจุฑามาศ หลำคำ) หัวหนา กลุมบรหิ ารวิชาการ

แผนการสอนเฉพาะบุคคล ( Individual Implementation Plan : IIP ) ช่อื -สกุล เดก็ หญิงเชเนดา ประเภทความพกิ าร บุคคลทมี่ ีความบกพรอ งทางสติปญ ญา ปก ารศึกษา 2564 พฒั นาการดา น ทกั ษะจำเปนพิเศษ เปาหมายระยะยาว 1 ป ภายในปการศึกษา 2564 ผูเรียนสามารถมีปฏสิ ัมพันธท างสังคมกบั ผอู ืน่ อยา งเหมาะสม แผนท่ี 1 เร่ิมใชแ ผนวนั ที่ 1 มิถุนายน 2564 สน้ิ สุดแผนวันท่ี 31 ตุลาคม 2564 ใชเ วลาสอนคาบละ 50 นาที จุดประสงคเชิงพฤติกรรม ขอที่ 1. ภายในเดือนตลุ าคม 2564 ผูเรยี นสามารถมปี ฏิสัมพนั ธทางสงั คมกับผูอนื่ อยางเหมาะสม ไดแก การเลน กับเพ่อื น การแสดงความเคารพตอผูใหญ เนือ้ หา มีปฏิสัมพันธทางสังคมกับผูอื่นอยางเหมาะสม เปนกิจกรรมที่ฝกใหผูเรียนมีปฏิสัมพันธทางสังคมกับ ผูอื่นอยางเหมาะสม ทักษะการสื่อสารเบื้องตน รวมถึงทักษะการฟงและการใสใจ การสนทนา การทำตาม คำสั่ง การแสดงออกทางสีหนา ทาทาง และน้ำเสียง (nonverbal) และการทำความเขาใจสีหนาทาทางและ น้ำเสียงของผูอื่น โดยเนื้อหาดังกลาวไดบูรณาการการจัดการเรียนรูใหเขากับหนวยการเรียนรู ดังนี้ กจิ กรรมการเรยี นรู ขน้ั นำ หนวยการเรียนรู เร่ือง รางกายของเรา (เดือนมิถุนายน) 1. ผเู รยี นและผูส อนกลา วทกั ทายและสรางความคนุ เคยโดยรอ งเพลง“จบั หวั จบั หู จบั ปากจับ ไหล” เพลง “จับหวั จับหู จับปาก จับไหล” จบั หวั จับหู จับปาก จบั ไหล แลวตบมือ ใหพรอมกนั 1 2 (ซำ้ 1 รอบ) ** ฝกการสรา งสรรคโ ดยการแปลงเนื้อ/ฝก ใหเดก็ เสนอความคดิ เห็นอยางฉับพลัน 2. ผูสอนและผูเรียนรว มสนทนาเกี่ยวกบั การดูแลสว นตา งๆ ของรา งกาย 3. ผสู อนสนทนากบั ผูเรยี นเก่ียวกบั ขนั้ ตอนการทำกิจกรรมการฝกการมีปฏสิ ัมพนั ธทางสงั คมกับ ผอู น่ื อยางเหมาะสม การเลนกบั เพื่อน ไดแ ก การเลนของเลนกับเพ่อื น หนว ยการเรียนรู เรื่อง ฝนจา (เดอื นกรกฎาคม) 1. ผูสอนกลาวทักทายผูเรยี นและสรางความคนุ เคยโดยรอ งเพลง “สวสั ด”ี เพลง “สวสั ด”ี สวสั ดี วนั นพ้ี บกนั สขุ ใจพลันฉนั ไดพ บเธอ โอ ลัน ลา ลัน ลนั ลา ลนั ลา (ซ้ำ 1 รอบ) 2. ผูเรยี นและผสู อนพูดคุยเกี่ยวกับการแตงกาย การดแู ลตนเองในชวงฤดูฝน สัตวอ นั ตราย ในฤดฝู นและเปดวดิ ที ัศนเ กยี่ วกับฤดูฝนใหผเู รียนดู 3. ผูสอนสนทนากับผูเรยี นเกยี่ วกับขน้ั ตอนการทำกจิ กรรมการฝกการมปี ฏสิ มั พนั ธท างสังคมกับ ผูอ ืน่ อยางเหมาะสม การแตงกายในฤดูฝนรวมกับเพ่ือน

หนวยการเรยี นรู เรื่อง หนรู ักแม (เดือนสิงหาคม) 1. ผสู อนกลา วทักทายผูเรยี นและสรา งความคุนเคยโดยรอ งเพลง “สวสั ดคี ณุ ครทู ร่ี ัก” เพลง “สวสั ดีคุณครูท่ีรัก” สวัสดีคุณครูทร่ี ัก หนูจะต้งั ใจอา นเขยี น ยามเชาเรามารโรงเรยี น ยามเชาเรามาโรงเรียน หนูจะตงั้ ใจ ขยนั เรียนเอย (ซ้ำ 1 รอบ) 2. ผูส อนเปด เพลงท่มี ีความหมายเก่ยี วกับแม (เรียงความเรอ่ื งแม) ใหผเู รียนฟง 3. ผสู อนสนทนากับผูเรียนเกย่ี วกับการแสดงความรักตอ แม สัญลกั ษณว นั แม 4. ผูสอนสนทนากบั ผูเรยี นเกย่ี วกบั ข้ันตอนการทำกิจกรรมการฝก การมีปฏิสัมพันธท างสงั คมกบั ผอู ื่นอยางเหมาะสม ไดแก การแสดงความเคารพตอ แม หนวยการเรยี นรู เรอื่ ง สตั วน า รู (เดือนกนั ยายน) 1. ผสู อนกลา วทกั ทายผูเรียนและสรางความคุนเคยโดยรอ งเพลง “กิ้งกอื มหาสนุก” เพลง “กง้ิ กอื มหาสนุก” ฉนั คือก้งิ กือตัวใหญ ตัวใหญแ ละขาเยอะ(ยำ่ ๆ ๆ ยอ เตะ ยำ่ ๆ ๆ ยอ เตะ) เร่อื งจริงนะเช่อื ฉันเถอะ ฉนั มีขาเยอะมากวาใคร ๆ (2 3 4) ซ้ำ 1 รอบ ฉนั คอื กิ้งกอื ตวั ใหญ ตกใจเมือ่ ใครมาใกล ฉนั มวี ธิ ีระวังภยั เมอื่ ใครมาใกล. .......จงึ รีบขดตวั เหลยี วซา ย แลขวา มองหาความปลอดภัย รอคอยจนมนั่ ใจ วา ปลอดภัย จึงคลายตวั จึงคลายตัว จึงคลายตัว 2. ผูสอนสนทนากับผูเรียนเกีย่ วกบั ข้ันตอนการทำกจิ กรรมการฝก การมีปฏสิ ัมพนั ธทางสงั คมกบั ผูอ ่ืนอยา งเหมาะสม ไดแ ก การเลนกบั เพอ่ื น รจู ักแบงปน ส่ิงของใหก ับเพือ่ น หนว ยการเรยี นรู เร่อื ง อาชีพนา รู (เดือนตลุ าคม) 1. ผูสอนกลาวทกั ทายผูเรียนและสรา งความคุน เคยโดยรอ งเพลง “สวสั ดคี ณุ ครทู ร่ี ัก” เพลง “สวัสดคี ุณครูทีร่ กั ” สวัสดีคุณครูทรี่ กั หนจู ะต้ังใจอา นเขียน ยามเชาเรามารโรงเรยี น ยามเชา เรามาโรงเรียน หนจู ะตง้ั ใจขยันเรยี นเอย (ซำ้ 1 รอบ) 2. ผสู อนเปด วิดีทัศน เรอ่ื ง แนะนำอาชพี นารู https://www.youtube.com/watch?v=ytx7Rym4LoQ ใหผ ูเรียนดู 3. ผสู อนสนทนากับผูเรียนเกย่ี วกับข้ันตอนการทำกจิ กรรมการฝก การมปี ฏสิ ัมพนั ธท างสงั คมกบั ผูอ ่ืนอยางเหมาะสม ไดแ ก การแสดงความเคารพตอผใู หญ ขน้ั สอน หนว ยการเรียนรู เร่อื ง รางกายของเรา (เดือนมิถุนายน) 1. ผูส อนนั่งหนั หนาเขาหาผูเรียน พรอมกับเตรยี มอุปกรณการสอนวางไวด า นหนา 2. ผสู อนอธบิ ายวิดีทัศน(นิทานสนุกกบั กุงกิง๋ ตอน ของเลน เพ่ือนรกั ) ท่เี ปดใหผูเรียนดูเกี่ยวกับ การมีปฏิสัมพันธทางสังคมกับผูอื่นอยางเหมาะสม มีปฏิสัมพันธทางสังคมกับผูอื่นอยาง เหมาะสม การเลนกับเพ่ือน ไดแ ก การเลนของเลนกบั เพอ่ื น

3. ผูเรียนฝกปฏิบัติกิจกรรมการมีปฏิสัมพันธทางสังคมกับผูอืน่ อยางเหมาะสม โดยใหผูเรียน การเลนกับเพื่อน ตามขั้นตอนท่ีผูสอนปฏบิ ัติใหผูเรียนดู และคอยดูการปฏิบัติกิจกรรมของ ผเู รยี นพรอ มจดบนั ทกึ 4. เมอื่ ผูเรยี นไมส ามารถปฏบิ ัตไิ ด ผูสอนใหค วามชว ยเหลอื หรอื กระตุน เตือนดว ยวาจา หรอื ช้ีแนะในการปฏิบัติกิจกรรม 5. ในกรณที ี่ผูเรียนปฏบิ ัตไิ ดดว ยตนเอง ผูสอนลดความชวยเหลอื และกระตุนเตือน 6. ผูสอนกลาวคำชมเชยวา เกงมาก พรอมกบั ปรบมือให และใหเ ลนแท็บเล็ต หนว ยการเรียนรู เรอ่ื ง ฝนจา (เดือนกรกฎาคม) 1. ผสู อนนัง่ หนั หนาเขา หาผูเ รียน พรอ มกบั เตรยี มอปุ กรณก ารสอนวางไวดานหนา 2. ผูสอนอธบิ ายและสาธิตวิธีการมีปฏสิ ัมพันธทางสังคมกับผูอน่ื อยางเหมาะสม การแตงกายใน ฤดฝู นรวมกับเพือ่ น 3. ผูเรียนฝกปฏิบัตกิ ิจกรรมการมีปฏิสัมพันธทางสังคมกับผูอื่นอยา งเหมาะสม การแตงกายใน ฤดูฝนรวมกับเพอ่ื น ตามข้ันตอนทผี่ สู อนปฏิบัตใิ หผ ูเรียนดู 4. เมอ่ื ผเู รียนไมส ามารถปฏิบัติได ผูสอนใหค วามชว ยเหลือ หรอื กระตนุ เตอื นดว ยวาจา หรือ ชแี้ นะในการปฏบิ ัตกิ ิจกรรม 5. ในกรณที ี่ผูเรยี นปฏบิ ตั ไิ ดดวยตนเอง ผูสอนลดความชวยเหลอื และกระตนุ เตือน 6. ผูสอนกลา วคำชมเชยวา เกงมาก พรอ มกับปรบมอื ให และใหด นู ิทานมดกบั ต๊กั แตน หนว ยการเรยี นรู เร่ือง หนรู ักแม (เดือนสงิ หาคม) 1. ผูสอนนง่ั หนั หนาเขา หาผูเ รยี น พรอมกับเตรียมอปุ กรณการสอนวางไวดา นหนา 2. ผูสอนอธิบายและสาธติ วิธกี ารมปี ฏิสัมพนั ธท างสังคมกบั ผอู ่นื อยางเหมาะสม ไดแก การแสดง ความเคารพตอ แม 3. ผูเรียนฝกปฏิบัตกิ จิ กรรมการมปี ฏิสัมพนั ธทางสงั คมกับผูอ ่ืนอยางเหมาะสม ไดแก การ แสดงความเคารพตอแม ตามขน้ั ตอนทผี่ สู อนปฏิบัติใหผูเ รยี นดู และทำแบบฝกหัด 4. เม่อื ผูเรียนไมส ามารถปฏิบัตไิ ด ผูสอนใหค วามชว ยเหลือ หรือกระตุนเตอื นดว ยวาจา หรอื ชีแ้ นะในการปฏิบัติกิจกรรม 5. ในกรณีท่ีผูเรียนปฏิบัติไดดว ยตนเอง ผูสอนลดความชว ยเหลอื และกระตนุ เตือน 6. ผูสอนกลา วคำชมเชยวา เกงมาก พรอมกบั ปรบมอื ให และใหข องเลนเจดียส ี หนว ยการเรียนรู เรื่อง สัตวนา รู (เดือนกันยายน) 1. ผสู อนน่งั หนั หนา เขาหาผูเรยี น พรอมกบั เตรยี มอปุ กรณการสอนวางไวด า นหนา 2. ผูสอนอธิบายและสาธิตวิธีการมีปฏิสัมพันธทางสังคมกับผูอื่นอยางเหมาะสม รูจักแบงปน สิ่งของใหกับเพ่ือน 3. ผูเรียนฝกปฏิบัติกิจกรรมการมีปฏิสัมพันธทางสังคมกับผูอื่นอยางเหมาะสม รูจักแบงปน สง่ิ ของใหกับเพ่อื น ตามขัน้ ตอนทผ่ี ูส อนปฏบิ ตั ิใหผ เู รยี นดู 4. เม่ือผเู รยี นไมสามารถปฏิบัติได ผูสอนใหความชว ยเหลือ หรือกระตุน เตือนดว ยวาจา หรือ ชแี้ นะในการปฏิบตั ิกจิ กรรม 5. ในกรณีที่ผูเรียนปฏิบตั ิไดดวยตนเอง ผูสอนลดความชวยเหลอื และกระตุนเตือน 6. ผูสอนกลา วคำชมเชยวา เกง มาก พรอ มกับปรบมอื ให และใหด นู ิทาน ลกู หมูสามตัว

หนว ยการเรียนรู เรื่อง อาชพี นา รู (เดอื นตุลาคม) 1. ผสู อนน่งั หนั หนา เขา หาผเู รียน พรอมกบั เตรียมอปุ กรณการสอนวางไวดา นหนา 2. ผูสอนอธิบายและสาธติ วธิ กี ารมีปฏสิ ัมพันธทางสงั คมกบั ผูอ ื่นอยา งเหมาะสม ไดแ ก การแสดง ความเคารพตอผใู หญ 3. ผูเรยี นฝก ปฏิบัตกิ ิจกรรมการมีปฏิสมั พันธทางสงั คมกับผูอื่นอยางเหมาะสม ไดแ ก การแสดง ความเคารพตอ ผใู หญ ตามขั้นตอนทผ่ี สู อนปฏิบัติใหผ เู รยี นดู และทำแบบฝก หัด 4. เมอ่ื ผูเรยี นไมส ามารถปฏบิ ัติได ผูสอนใหค วามชวยเหลอื หรอื กระตนุ เตือนดวยวาจา หรือ ชแี้ นะในการปฏิบตั กิ ิจกรรม 5. ในกรณที ่ีผูเ รียนปฏิบัตไิ ดดวยตนเอง ผูสอนลดความชวยเหลือและกระตนุ เตอื น 6. ผูสอนกลาวคำชมเชยวา เกง มาก พรอ มกบั ปรบมือให และใหข องเลนบล็อกไม ข้นั สรปุ - ผเู รยี นและผูสอนรว มกันทบทวนกิจกรรม และประเมินผลการเรยี นรู สอ่ื / อปุ กรณ 1. เพลง “จับหวั จบั หู จับปาก จับไหล” 2. เพลง “สวัสดี” 3. เพลง “สวสั ดคี ุณครูท่ีรัก” 4. เพลง “กิง้ กอื มหาสนุก” 5. นิทานสนุกกับกงุ กง๋ิ ตอน ของเลนเพือ่ นรกั https://www.youtube.com/watch?v=ReyvcNe_3ZQ 6. เคร่อื งแตงกายในฤดูฝน ไดแ ก เสื้อกนั ฝน รม รองเทาบูท 7. แบบฝก หัด ส่ิงเสริมแรง 1. คำชมเชย เกงมาก 2. ปรบมือ 3. นทิ าน ลกู หมูสามตวั / นทิ านมดกบั ต๊ักแจน 4. เลน แท็บเล็ต 5. ของเลนเจดียสี 6. ของเลนบลอ็ กไม การวดั และประเมนิ ผล วิธกี าร การสังเกตจากการฝกปฏิบัติ เครื่องมอื แบบประเมินผลการเรียนรู เกณฑการวัดและประเมินผล 5 หมายถึง ทำไดด วยตนเองและเปนแบบอยา งผูอืน่ ได 4 หมายถึง ทำไดด ว ยตนเอง 3 หมายถงึ ทำไดโดยมีการชว ยเหลอื ชีแ้ นะจากผูอ่ืนบางเลก็ นอ ย 2 หมายถึง ทำไดโ ดยมกี ารชว ยเหลอื ชแี้ นะ จากผอู น่ื 1 หมายถึง ทำไดโ ดยมผี ูอน่ื พาทำ

ผลการเรียนรู 5 4 3 2 1 บันทกึ เพ่มิ เติม ลงชอ่ื (นางสาวกรแกว โอภาสสุวคนธ) ผูสอนประจำช้ัน ความเห็นผบู รหิ าร/ผูท่ไี ดรบั มอบหมาย  ควรปรบั ปรุง ดังนี้  เหน็ ควรใหใชสอนได ลงชอื่ .............................................. (นางสาวจุฑามาศ หลำคำ) หวั หนากลุมบริหารวิชาการ

แผนการสอนเฉพาะบคุ คล ( Individual Implementation Plan : IIP ) ชอื่ -สกุล เด็กหญงิ เชเนดา ประเภทความพิการ บุคคลทม่ี ีความบกพรอ งทางสตปิ ญญา ปการศกึ ษา 2564 พัฒนาการดาน ทักษะจำเปนพเิ ศษ เปา หมายระยะยาว 1 ป ภายในปการศึกษา 2564 ผูเ รยี นสามารถดแู ลตนเองและความปลอดภยั ในชวี ิต ประจำวนั ดแู ลตนเองและความปลอดภัยในชีวิตประจำวนั ได แผนที่ 3 เร่ิมใชแผนวนั ท่ี 1 พฤศจกิ ายน 2564 ส้ินสดุ แผนวันที่ 31 มนี าคม 2565 ใชเ วลาสอนคาบละ 50 นาที จุดประสงคเชิงพฤติกรรม ขอที่ 2. ภายในเดือนมกราคม 2565 ผูเรียนสามารถดูแลตนเองในชีวิตประจำวัน ไดแก การถอดรองเทา การดตู ัวเองกอ น-หลังการใชหองนำ้ โดยมีผชู ีแ้ นะ เนอื้ หา การดแู ลตนเองและความปลอดภัยในชวี ิตประจำวนั ไดแก การถอดรองเทา การดตู ัวเองกอ น-หลังการใช หองนำ้ โดยมผี ูชี้แนะ เปนกิจกรรมท่ีฝกใหผูเรียนสามารถดูแลตนเองและความปลอดภัยในชีวิตประจำวัน ดูแล ตนเองและความปลอดภัยในชีวิตประจำวัน โดยเน้ือหาดังกลาวไดบูรณาการการจัดการเรียนรูใหเขากับหนวย การเรียนรู ดังน้ี กจิ กรรมการเรยี นรู ขน้ั นำ หนวยการเรียนรู เร่อื ง อาหารดีมีประโยชน (เดือนพฤศจิกายน) 1. ผูสอนกลาวทักทายผูเรยี นและสรา งความคุน เคยโดยรอ งเพลง “แอปเปล มะละกอ กลว ย สม” เพลง “แอปเปล มะละกอ กลวย สม ” แอปเปล แอปเปล แอปเปล / มะละกอ มะละกอ มะละกอ / กลวย กลว ย กลวย/ สม สม สม / แอปเปล / มะละกอ /กลว ย/ สม 2. ผูเ รียนและผสู อนพูดคุยเกี่ยวกบั การรับประทานอาหารดีมปี ระโยชนพ รอมกบั เปด วิดที ัศน เกี่ยวกบั อาหารหลัก 5 หมู ใหผเู รียนดู 3. เปด เพลง “กนิ ผกั กนั ” https://www.youtube.com/watch?v=OnFakkw0uz0 4. ผสู อนสนทนากับผูเรยี นเก่ียวกับขน้ั ตอนการทำกจิ กรรมการฝก การดแู ลตนเองใน ชวี ิตประจำวัน ไดแ ก การรูจกั รองเทาของตวั เองโดยมผี ูช้แี นะ หนวยการเรียนรู เร่ือง ฤดูหนาวมาแลว (เดือนธันวาคม) 1. ผสู อนกลาวทักทายผูเรียนและสรางความคุนเคยโดยรอ งเพลง “สวัสดคี ุณผสู อนทร่ี ัก” เพลง “สวสั ดคี ณุ ผูส อนทรี่ กั ” สวัสดีคณุ ผูสอนท่ีรัก หนจู ะตั้งใจอานเขยี น ยามเชาเรามารโรงเรียน ยามเชา เรามาโรงเรียน

หนจู ะตัง้ ใจ ขยนั เรยี นเอย (ซำ้ 1 รอบ) 2. ผสู อนสนทนากบั ผูเรียนเกีย่ วกบั การแตงกายในฤดูหนาว สภาพอากาศในฤดูหนาว การ ปฏิบตั ติ นในฤดหู นาว และเทศกาลตางๆในฤดูหนาว 3. ผสู อนสนทนากบั ผูเรียนเกยี่ วกบั ขัน้ ตอนการทำกิจกรรมการฝกการดูแลตนเองใน ชวี ิตประจำวนั ไดแก การรูจ ักการถอดรองเทาของตวั เอง โดยมีผชู ี้แนะ หนวยการเรียนรู เร่ือง หนูนอยนักคิด (เดือนมกราคม) 1. ผูส อนกลาวทกั ทายผูเรยี นและสรา งความคนุ เคยโดยรองเพลง “นับเลข” เพลง “นับเลข” 1 2 3 4 // 1 2 3 4 // 5 6 7 // 5 6 7 มีทั้ง 8 และ 9 10 //มที ้ัง 8 และ 9 10 จำใหดี จำใหด ี (ซ้ำ 1 รอบ) 2. ผสู อนสนทนากับผูเรยี นเก่ียวกบั ขัน้ ตอนการทำกิจกรรมการฝกการดูแลตนเองใน ชวี ิตประจำวัน ไดแก การรจู ักนำรองเทาของตัวเองไปเกบ็ ทช่ี นั้ วางรองเทา โดยมผี ูชแ้ี นะ หนวยการเรียนรู เร่ือง นักวิทยาศาสตรนอย (เดือนกุมภาพันธ) 1. ผูสอนกลาวทกั ทายผูเรียนและสรางความคนุ เคยโดยรองเพลง “สวสั ด”ี เพลง “สวัสด”ี สวสั ดี วนั น้ีพบกัน สุขใจพลันฉนั ไดพ บเธอ โอ ลนั ลา ลนั ลนั ลา ลัน ลา (ซำ้ 1 รอบ) 2. ผูสอนเปด วิดีทัศน ทองฟา ในเวลากลางวนั กลางคืนใหผูเรียนดู https://www.youtube.com/watch?v=hme7LJO-iL4 3. ผสู อนสนทนากับผูเรยี นเกี่ยวกับขั้นตอนการทำกจิ กรรมการฝก การดูแลตนเองใน ชวี ติ ประจำวัน ไดแก การดตู ัวเองกอ น-หลังการรับประทานอาหาร โดยมีผชู ีแ้ นะ หนวยการเรียนรู เรื่อง ปลอดภัยไวกอน (เดือนมีนาคม) 1. ผสู อนกลา วทกั ทายผูเรยี นและสรางความคนุ เคยโดยรองเพลง “สวัสด”ี เพลง “สวัสดี” สวัสดี วันนพี้ บกนั สขุ ใจพลนั ฉันไดพ บเธอ โอ ลนั ลา ลัน ลัน ลา ลัน ลา (ซำ้ 1 รอบ) 2. ผเู รียนและผสู อนพูดคุยเกี่ยวกับความปลอดภยั ภายนอกบาน (การขามถนน สัญญาณไฟ จราจร) และเปดวิดีทัศน (สัญญาณไฟจราจร) https://www.youtube.com/watch?v=tWWLgghXUG0 3. ผูส อนสนทนากบั ผูเรยี นเกีย่ วกับขน้ั ตอนการทำกจิ กรรมการฝก การดูแลตนเองใน ชีวติ ประจำวนั ไดแก รจู กั นำรองเทาของตวั เองไปเกบ็ ที่ช้ันวางรองเทา โดยมีผชู ี้แนะ

ขัน้ สอน หนวยการเรียนรู เร่อื ง อาหารดีมีประโยชน (เดือนพฤศจิกายน) 1. ผูส อนน่งั หนั หนาเขาหาผูเรยี น พรอมกับเตรียมอปุ กรณการสอนวางไวดานหนา 2. ผูส อนอธบิ ายและสาธติ วิธกี ารดูแลตนเองในชีวิตประจำวัน ไดแก การรูจักรองเทา ของตวั เอง โดยมผี ชู ีแ้ นะใหผเู รียนดู 3. ผเู รยี นฝกปฏบิ ัติกิจกรรมการดูแลตนเองในชวี ิตประจำวัน ไดแก การรูจกั รองเทาของตัวเอง โดยมีผชู แี้ นะ ตามขนั้ ตอนทผี่ ูสอนปฏบิ ตั ใิ หผเู รยี นดู 4. เมื่อผูเรียนไมสามารถปฏิบัติได ผูสอนใหความชวยเหลือ หรือกระตุนเตือนดวยวาจา หรือ ช้แี นะในการปฏบิ ัติกิจกรรม 5. ในกรณที ี่ผเู รียนปฏิบัติไดดว ยตนเอง ผูส อนลดความชว ยเหลือและกระตุนเตอื น 6. ผสู อนกลา วคำชมเชยวา เกงมาก พรอ มกับปรบมือให และใหเลนแทบ็ เล็ต หนวยการเรียนรู เร่ือง ฤดูหนาวมาแลว (เดือนธันวาคม) 1. ผูสอนนั่งหนั หนา เขา หาผูเ รียน พรอ มกับเตรยี มอุปกรณการสอนวางไวดา นหนา 2. ผูสอนอธิบายและสาธิตวิธีการดูแลตนเองในชีวิตประจำวัน ไดแก การรูจักนำรองเทาของ ตวั เองไปเกบ็ ที่ช้ันวางรองเทา โดยมผี ชู ้ีแนะ ใหผูเรียนดู 3. ผูเรียนฝกปฏิบัติกิจกรรมการดูแลตนเองในชีวิตประจำวัน ไดแก การรูจักนำรองเทาของ ตวั เองไปเกบ็ ทช่ี ้ันวางรองเทา โดยมผี ูชแ้ี นะ ตามขัน้ ตอนทผ่ี สู อนปฏบิ ัตใิ หผูเรียนดู 4. เมื่อผูเรียนไมสามารถปฏิบัติได ผูสอนใหความชวยเหลือ หรือกระตุนเตือนดวยวาจา หรือ ช้ีแนะในการปฏบิ ัตกิ ิจกรรม 5. ในกรณที ี่ผเู รียนปฏิบตั ิไดดวยตนเอง ผูสอนลดความชวยเหลือและกระตนุ เตอื น 6. ผสู อนกลาวคำชมเชยวา เกง มาก พรอมกบั ปรบมอื ให และใหข องเลนบลอ็ กไม หนวยการเรียนรู เร่ือง หนูนอยนักคิด (เดือนมกราคม) 1. ผูสอนน่งั หนั หนาเขาหาผูเ รียน พรอ มกับเตรยี มอปุ กรณการสอนวางไวด า นหนา 2. ผูสอนอธิบายและสาธิตวิธีการดูแลตนเองในชีวิตประจำวัน การถอดรองเทาโดยมีผูชี้แนะ ใหผ เู รยี นดู 3. ผเู รียนฝกปฏบิ ตั กิ จิ กรรมการดูแลตนเองในชวี ติ ประจำวัน การถอดรองเทาโดยมผี ชู ีแ้ นะ ตาม ขน้ั ตอนท่ผี สู อนปฏบิ ตั ิใหผ เู รยี นดู 4. เมื่อผูเรียนไมสามารถปฏิบัติได ผูสอนใหความชวยเหลือ หรือกระตุนเตือนดวยวาจา หรือ ชแ้ี นะในการปฏบิ ัติกิจกรรม 5. ในกรณีที่ผเู รียนปฏิบตั ิไดดว ยตนเอง ผสู อนลดความชวยเหลอื และกระตุนเตือน 6. ผสู อนกลา วคำชมเชยวา เกง มาก พรอ มกับปรบมอื ให และใหเ ลนหยอดกระดมุ หนวยการเรียนรู เรื่อง นักวิทยาศาสตรนอย (เดือนกุมภาพันธ) 1. ผูสอนนงั่ หันหนา เขา หาผูเ รยี น พรอมกับเตรียมอปุ กรณการสอนวางไวด านหนา 2. ผูสอนอธิบายและสาธิตวิธีการดูตัวเองกอน-หลังการรับประทานอาหาร โดยมีผูชี้แนะ ใหผ เู รียนดู

3. ผเู รยี นฝก ปฏบิ ตั ิกจิ กรรมการการดตู ัวเองกอน-หลังการรับประทานอาหาร โดยมีผูช้ีแนะตาม ขนั้ ตอนท่ผี สู อนปฏบิ ตั ใิ หผ เู รยี นดู 4. เมื่อผูเรียนไมสามารถปฏิบัติได ผูสอนใหความชวยเหลือ หรือกระตุนเตือนดวยวาจา หรือ ชแี้ นะในการปฏบิ ัติกิจกรรม 5. ในกรณที ี่ผูเ รยี นปฏิบตั ไิ ดดว ยตนเอง ผูส อนลดความชวยเหลอื และกระตนุ เตือน 6. ผูสอนกลา วคำชมเชยวา เกง มาก พรอ มกับปรบมือให และใหของเลน บล็อกไม หนวยการเรียนรู เร่ือง ปลอดภัยไวกอน (เดือนมีนาคม) 1. ผสู อนนั่งหนั หนาเขา หาผูเ รยี น พรอ มกบั เตรยี มอปุ กรณการสอนวางไวดานหนา 2. ผูส อนสาธิตวิธีการดูแลตนเองในชีวติ ประจำวัน ไดแก รจู ักนำรองเทา ของตัวเองไปเก็บท่ีชั้น วางรองเทา โดยมผี ชู ี้แนะ ใหผ เู รยี นดู 3. ผูเรียนฝกปฏิบัติกิจกรรมการการดูแลตนเองในชีวิตประจำวัน ไดแก รูจักนำรองเทาของ ตวั เองไปเก็บที่ชน้ั วางรองเทา โดยมีผชู ้ีแนะ ตามขั้นตอนทผ่ี สู อนปฏบิ ตั ใิ หผูเรียนดู 4. เมื่อผูเรียนไมสามารถปฏิบัติได ผูสอนใหความชวยเหลือ หรือกระตุนเตือนดวยวาจา หรือ ชแ้ี นะในการปฏบิ ตั กิ ิจกรรม 5. ในกรณที ี่ผูเรยี นปฏิบตั ไิ ดดว ยตนเอง ผูสอนลดความชว ยเหลอื และกระตุน เตอื น 6. ผูสอนกลา วคำชมเชยวา เกงมาก พรอมกบั ปรบมือให และใหของเลน บล็อกไม ขั้นสรุป - ผูเรียนและผูสอนรวมกันทบทวนกิจกรรม และประเมนิ ผลการเรียนรู สื่อ / อปุ กรณ 1. เพลง “แอปเปล มะละกอ กลว ย สม ” 2. เพลง “สวสั ด”ี 3. เพลง “นับเลข” 4. วิดีทศั น ทอ งฟา ในเวลากลางวันกลางคนื ใหผ ูเรยี นดู https://www.youtube.com/watch?v=hme7LJO-iL4 5. รองเทา 6. ชนั้ วางรองเทา 7. วดิ ที ัศน (สัญญาณไฟจราจร) https://www.youtube.com/watch?v=tWWLgghXUG0 สิ่งเสริมแรง 1. คำชมเชย เกงมาก 2. ปรบมอื 3. เลนแท็บเล็ต 4. ของเลนบล็อกไม 5. ของเลน หยอดกระดุม

การวดั และประเมนิ ผล วิธกี าร การสังเกตจากการฝก ปฏิบตั ิ เครอ่ื งมอื แบบประเมินผลการเรียนรู เกณฑก ารวัดและประเมินผล 5 หมายถงึ ทำไดด ว ยตนเองและเปน แบบอยางผูอ ่ืนได 4 หมายถงึ ทำไดด ว ยตนเอง 3 หมายถงึ ทำไดโ ดยมกี ารชว ยเหลือ ชแี้ นะจากผูอ่ืนบา งเลก็ นอย 2 หมายถงึ ทำไดโดยมีการชวยเหลอื ช้ีแนะ จากผอู นื่ 1 หมายถงึ ทำไดโ ดยมผี ูอ่นื พาทำ ผลการเรียนรู 5 4 3 2 1 บันทกึ เพม่ิ เตมิ ลงชอื่ (นางสาวกรแกว โอภาสสุวคนธ) ผูสอนประจำชนั้ ความเหน็ ผูบ รหิ าร/ผูที่ไดรับมอบหมาย  ควรปรับปรงุ ดังนี้  เหน็ ควรใหใชสอนได ลงช่อื .............................................. (นางสาวจุฑามาศ หลำคำ) หัวหนา กลุมบรหิ ารวชิ าการ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook