Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore full chapter69

full chapter69

Published by Pannawat Lertkomenkul, 2021-01-07 03:28:51

Description: full chapter69

Search

Read the Text Version

1 บทที่ 1 บทนำ ทมี่ าและความสำคัญของปญั หา โลกของเรามีการใชว้ สั ดุและพลงั งานปรมิ าณมหาศาลสง่ ผลให้เกดิ ขยะจำนวนมาก วิธีทนี่ ิยมใช้ ในการจำกดั ขยะคอื การฝงั กลบ (landfill) แต่มขี อ้ จำกัดในเรือ่ งพื้นทฝ่ี ังกลบซง่ึ มนี ้อยและราคาทีด่ นิ สงู ข้นึ ทำให้เกิดการแปรรปู เพ่อื นำกลับมาใชใ้ หม่ หรือรีไซเคลิ (recycling) และการหมักขยะอนิ ทรีย์ เพื่อใหเ้ กดิ การยอ่ ยสลาย (composting) ขยะท่ีพบในประเทศไทย 20 % เป็นขยะพลาสตกิ ซงึ่ มีบทบาทสำคญั ตอ่ วงการอตุ สากรรมโดยเฉพาะบรรจภุ ัณฑ์พลาสตกิ ถกู นำมาใช้ในอุตสาหกรรมอาหาร ซึ่งมกี ารใช้หลากหลายรปู แบบท้งั ถุงพลาสตกิ ถว้ ยพลาสติก กล่องพลาสติก รวมถงึ กล่องโฟมพลาสติก เปน็ วสั ดทุ ีย่ อ่ ยสลายได้ยาก วธิ ีการท่ีเหมาะสมคอื การรีไซเคลิ แตบ่ รรจุภณั ฑ์พลาสตกิ บางประเภท ไม่นิยมนำกลับมารไี ซเคลิ ใหม่เพราะไม่คมุ้ ค่าในการลงทุน เชน่ หลอดบรรจุยาสฟี ัน ขวดพลาสตกิ ที่ใชใ้ นการแพทยเ์ พราะถือว่าเปน็ ขยะทต่ี ิดเชอื้ กลอ่ งโฟมบรรจุอาหารท่ีมกี ารปนเปื้อนสูง หรือถุงพลาสตกิ ท่มี สี ่วนประกอบหลายช้ัน เช่น ถงุ ขนมขบเข้ียว รวมถึงถุงพลาสตกิ ทม่ี ีการพมิ พล์ วดลายตา่ งๆ ซ่ึงส่วนใหญ่ เราใช้วิธกี ำจดั โดยการฝังกลบหรอื การเผา ปัจจุบันภาชนะสำหรับบรรจอุ าหารชนิด “ ใช้แล้วท้งิ ” สว่ นใหญ่ผลิตมาจากวัสดุโฟมหรือ พลาสติกสังเคราะหซ์ ึ่งไมส่ ามารถยอ่ ยสลายได้เองตามธรรมชาติหรอื ถา้ สลายไดอ้ าจตอ้ งใชเ้ วลาหลายรอ้ ยปี ก่อเกดิ ปัญหาขยะพลาสติก จงึ มแี นวคดิ ท่จี ะนำเปลอื กสม้ โอและแกลบข้าวซึ่งตา่ งเปน็ วสั ดเุ หลือทงิ้ ซึง่ เป็นพอลิเมอรท์ ี่ย่อยสลายได้มาเป็นวตั ถดุ บิ ในการสรา้ งบรรจุภณั ฑ์ชีวภาพท่ีเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมขนึ้ สามารถกำจัดโดยวิธีการหมกั ไปพร้อมขยะอินทรีย์ต่าง ๆ ทำให้ปริมาณขยะลดลงและได้ผลติ ภัณฑ์ ซึง่ เปน็ ป๋ยุ หมักท่นี ำไปใช้ปรับปรงุ คุณภาพดนิ ต่อไป วัตถุประสงค์ของโครงงาน 1. เพอื่ ศกึ ษากรรมวธิ ใี นการผลติ บรรจภุ ณั ฑช์ วี ภาพจากเปลือกขาวส้มโอและแกลบข้าวโดยใช้ แปง้ มนั สำปะหลังเปน็ ตวั ประสาน 2. เพื่อศึกษาสูตรและอตั ราส่วนที่เหมาะสมในการข้ึนรปู บรรจุภณั ฑ์ชวี ภาพจากเปลอื กขาว ส้มโอ และแกลบข้าว 3. เพือ่ ศึกษาสมบัติทางกายภาพของบรรจุภัณฑช์ วี ภาพจากเปลอื กขาวสม้ โอและแกลบขา้ ว

2 ขอบเขตของการศกึ ษา 1. ศึกษากรรมวธิ ีในการผลิตบรรจุภัณฑช์ วี ภาพจากเปลอื กขาวสม้ โอและแกลบขา้ ว 2. ศกึ ษาอตั ราส่วนของแป้งมนั สำปะหลังทเี่ หมาะสมในการขึ้นรปู บรรจุภัณฑ์ชวี ภาพจาก เปลือกขาวสม้ โอและแกลบข้าว 3. ศกึ ษาชนิดของตัวประสานทีม่ ผี ลต่อลกั ษณะของบรรจุภัณฑช์ วี ภาพจากเปลือกขาวส้มโอ และแกลบขา้ ว 4. ศึกษาระยะเวลาท่ีใชใ้ นการขน้ึ รูปทมี่ ผี ลต่อสขี องบรรจุภัณฑช์ วี ภาพจากเปลือกขาวส้มโอ และแกลบข้าว 5. ศึกษาสมบตั ทิ างกายภาพของบรรจภุ ัณฑ์ชีวภาพจากเปลอื กขาวสม้ โอและแกลบขา้ ว สมมตฐิ าน บรรจภุ ัณฑช์ วี ภาพจากเปลอื กขาวสม้ โอและแกลบข้าวมสี มบัติทางกายภาพเหมาะสมสำหรบั ใช้ เป็นบรรจุภณั ฑไ์ ด้ ตวั แปรทศ่ี กึ ษา ตวั แปรต้น : บรรจุภณั ฑ์ชวี ภาพจากเปลือกขาวส้มโอและแกลบข้าว ตวั แปรตาม : สมบตั ิทางกายภาพของบรรจุภณั ฑ์ชีวภาพจากเปลอื กขาวสม้ โอและแกลบ ขา้ ว ตวั แปรควบคมุ : ขนาดของแม่แบบใสบ่ รรจุภณั ฑ์ ปริมาณนำ้ กลน่ั อณุ หภมู ทิ ใ่ี ชใ้ นการอบ ด้วยเตาอบลมร้อน ชว่ งเวลาในการบันทึกผลการทดลอง ระยะเวลาในการทำโครงงาน กรกฎาคม ถงึ ตุลาคม พ.ศ. 2562 ประโยชน์ทีค่ าดวา่ จะได้รับ 1. ไดก้ รรมวธิ ใี นการผลติ บรรจภุ ัณฑ์ชวี ภาพ 2. นำวัตถดุ บิ จากภาคการเกษตรกรรมมาเพม่ิ มลู คา่ และนำไปใช้ใหเ้ กิดประโยชนส์ ูงสุด 3. ไดบ้ รรจภุ ณั ฑ์ที่เป็นมติ รกับสิ่งแวดลอ้ ม 100 %

3 4. ไดบ้ รรจภุ ัณฑช์ วี ภาพทีเ่ ปน็ Zero waste 5. ไดบ้ รรจภุ ณั ฑช์ ีวภาพท่สี ามารถแก้ปัญหาขยะในชมุ ชนอย่างยั่งยนื บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวขอ้ ง โครงงานวิทยาศาสตร์ เรอื่ ง การศกึ ษาอตั ราสว่ นท่เี หมาะสมในการขน้ึ รูปบรรจุภณั ฑช์ วี ภาพ จากเปลือกสม้ โอและแกลบขา้ ว ซึง่ มีเอกสารและงานวจิ ยั ท่เี กย่ี วขอ้ ง ดงั น้ี 1. บรรจุภัณฑ์ชวี ภาพ เปน็ บรรจุภัณฑท์ ี่ออกแบบและประดษิ ฐม์ าเพือ่ วัตถุประสงคใ์ นการอนุรกั ษ์สง่ิ แวดลอ้ มโดยช่วย ลดปรมิ าณขยะและย่อยสลายไดต้ ามธรรมชาตจิ งึ ไมเ่ ปน็ อนั ตรายตอ่ สงิ่ แวดลอ้ มนอกจากนยี้ งั ประหยัด ค่าใช้จ่าย เม่ือเลอื กใช้วสั ดุธรรมชาติที่มีมากในท้องถิน่ ของตนเองหรอื วัสดทุ ีส่ ามารถนำกลับมาใช้ใหมไ่ ด้ วัสดุท่ใี ช้ทำบรรจภุ ัณฑ์จากวัสดธุ รรมชาติ วัสดุธรรมชาติที่นำมาใชท้ ำบรรจุภัณฑไ์ ด้ มดี งั น้ี วสั ดุธรรมชาติประเภทเสน้ ใย เช่นกลว้ ย หวาย เตยปาหนัน กก กระจูด ผกั ตยชวา หญ้าแฝก หญา้ สามเหลยี่ ม เถาวัลย์ ย่าลเิ ภา ปอสา ปา่ นศรนารายณ์ โดยวสั ดเุ หลา่ นีบ้ างชนดิ ต้องนำมาแปรสภาพก่อนเชน่ ผักตบชวา เตยปาหนนั กระจดู กลว้ ย ตอ้ งนำมาตากแห้ง ฟอกขาว อบกำมะถัน ฟนั่ เกลยี วกอ่ นสานขน้ึ รปู เปน็ ตะกร้าใสส่ นิ ค้า ส่วนเสน้ ใยไหม ฝ้ายตอ้ งนำมาทอกอ่ นแลว้ จงึ นำไปตดั เยบ็ เปน็ ถงุ ผา้ การออกแบบบรรจุภณั ฑจ์ ากวัสดุธรรมชาติ โครงสร้างของบรรจุภณั ฑโ์ ดยทว่ั ไปจะแบง่ ชั้นของบรรจุภณั ฑท์ ี่หอ่ หุ้มหรอื ปกปดิ ตัวสินคา้ ไว้ 3 ชั้นดังน้ี 1. บรรจุภัณฑช์ น้ั ใน ซงึ่ อย่ชู ิดกับตัวสนิ คา้ 2. บรรจภุ ณั ฑช์ ั้นท่ีสอง ซง่ึ ห่อหุม้ บรรจภุ ัณฑ์ชนั้ ใน 3. บรรจภุ ณั ฑ์ชัน้ นอก ซงึ่ รวบรวมสนิ ค้าหรอื ผลติ ภัณฑท์ ้งั หมดเพอื่ การขนสง่ การออกแบบบรรจุภณั ฑจ์ ากวสั ดธุ รรมชาติต้องออกแบบ โครงสร้างบรรจภุ ัณฑ์ทงั้ 3 ช้ัน และภาพบนบรรจภุ ัณฑ์โดยมีขอ้ คำนึงถงึ ดงั นี้ 1. บรรจุภัณฑ์ควรมเี อกลักษณ์โดดเด่นและสอ่ื ความหมายได้ โดยต้องใชค้ วามคิดสร้างสรรค์ และความรทู้ างศลิ ปะเกี่ยวกับสี รปู ทรง ความสมดลุ ย์ ผวิ สัมผัส และขนาดของภาพหรอื ตวั อกั ษรมาประยุกตใ์ ช้ร่วมกนั เพ่อื ให้บรรจภุ ณั ฑ์แตกตา่ งจากทเี่ คยมมี า และดึงดูดใจให้ผู้บรโิ ภคตดั สินใจเลือกซอื้ รวมถงึ มคี วามสอดคลอ้ งกับชน้ิ งานหรอื ผลติ ภณั ฑด์ า้ นใน

4 1.1 บรรจุภณั ฑน์ ้ำผลไม้ทมี่ ภี าพพมิ พ์แสดงถึงผลไม้ที่นำมาผลติ เป็นนำ้ ผลไมส้ ่อื ให้เห็นถึง ความสด น่าดม่ื 1.2 บรรจภุ ัณฑ์ของสบไู่ ข่ ทำจากกระดาษมีรปู ทรงและผิวสมั ผัสหยาบเหมอื นถาดใสไ่ ข่ จึงมคี วามหมายวา่ ผลติ ภัณฑ์ด้านในมรี ปู รา่ งเหมือนไข่ 2. บรรจภุ ณั ฑค์ วรสะดวกต่อการใชง้ านและแข็งแรงทนทาน โดยโครงสร้างของบรรจุภณั ฑ์ ต้องสมสว่ น มีรูปทรงกะทัดรัดสะดวกต่อการจดั เรยี งซอ้ นกนั และขนสง่ รอรับน้ำหนักได้ ทนทานตอ่ แรงกระแทก น้ำหนักเหมาะสมกบั ตวั ผลติ ภณั ฑ์ มีหูจบั ถือในบางผลติ ภัณฑ์ 2.1 บรรจภุ ณั ฑ์สำหรบั ใสด่ นิ สอทำจากกระดาษแขง็ มโี ครงสร้างสมสว่ นรูปทรงกระทดั รัด สะดวกตอ่ การเรยี งซอ้ นกนั และสะดวกตอ่ การขนสง่ 2.2 บรรจุภัณฑข์ นมอบทำจากกระดาษแขง็ มหี จู ับสะดวกต่อการจับถือและเคล่ือน ย้าย 3. บรรจุภัณฑ์ควรเป็นมติ รกบั สิ่งแวดล้อม คอื ยอ่ ยสลายได้งา่ ย ทำลายได้งา่ ย ไมก่ อ่ ใหเ้ กิด ปญั หาขยะมูลฝอย และไมก่ ่อให้เกดิ มลพษิ ซ่งึ แนวทางในการสรา้ งบรรจภุ ณั ฑ์ท่เี ป็นมติ รต่อส่งิ แวดลอ้ ม สามารถปฏิบตั ไิ ด้ดงั น้ี 3.1 ใช้วัสดุธรรมชาตใิ นการบรรจภุ ัณฑ์ เพราะยอ่ ยสลายได้ตามธรรมชาติ 3.2 ลดส่วนประกอบทีเ่ กนิ ความจำเป็นในการบรรจภุ ณั ฑ์ เชน่ บรรจภุ ัณฑห์ ลายช้นิ ลดการใช้โบ เชือก ป้ายหอ้ ย 3.3 ลดความหนาและความสูงของบรรจภุ ัณฑแ์ ละออกแบบโครงสร้างบรรจภุ ัณฑ์ให้ใช้ วสั ดนุ ้อยท่ีสุด 3.4 นำวสั ดุธรรมชาติ เชน่ กระดาษ ไม้ ผา้ เคร่ืองป้นั ดินเผาและวสั ดสุ งั เคราะห์ เช่น พลาสติกบางชนดิ ซึ่งสามารถนำมาดัดแปลงใช้ซ้ำหรอื แปรรูปกลับมาใชใ้ หมม่ าประดษิ ฐ์เป็นบรรจุภณั ฑ์เพอ่ื ลดปริมาณขยะลด ค่าใช้จา่ ยในการหำจัดหลังใช้งานและปอ้ งกันการเกดิ มลพษิ การเผาไหมห้ รือฝังกลบ 2. ส้มโอ เปลือกหนาประมาณ 1.5-2 เซนตเิ มตร แบ่งออกเปน็ 3 ชนั้ ประกอบด้วยช้นั นอกสุด เรยี กวา่ flavedo มีสีเขียวอมเหลือง มีต่อมนำ้ มนั จำนวนมาก ช้ันตอ่ มา เรียกว่า albedo เป็นส่วนทีเ่ ป็นเนื้อเย่ือออ่ นนุม่ สขี าวทม่ี คี วามหนามาก และชัน้ ที่สามเปน็ เนอ้ื เยือ่ ของพทู ี่หุ้มรอบเนอื้ ผล ส่วนเน้ือผลแบ่งออกเป็นกลีบๆเรยี งติดกนั เปน็ วงกลม แต่แกะแยกออกจากกนั ง่าย เรยี กลีบเน้ือผลว่า juice sac ภายในกลีบจะฉ่ำด้วยน้ำทใี่ หร้ สหวานหรือหวานอมเปรย้ี ว สารสำคัญที่พบในเปลือกส้มโอ (ทัง้ ส่วนท่เี ขยี วและสีขาว) ส่วนใหญจ่ ะเป็นสารกล่มุ ของน้ำมันหอมระเหย และสารกล่มุ flavonoids เชน่

5 naringenin, hesperetin, hesperidin, apigenin, poncirin และ eriocitin และยงั พบสาร acridone, acronycine, anthranilate, bergamottin, camphor, citral, limonene, limonin, linalool, myricetin, nerol, nomilin, pinene, quercetin, rutin, scopoletin, umbelliferone และยงั พบสารขมในเปลอื กชอ่ื naringin และจากการวิเคราะหอ์ งค์ประกอบทางเคมีของนำ้ มนั หอมระเหย จากเปลอื กส้มโอทสี่ กัดไดจ้ ากวธิ ี TLC และ GC-MS พบวา่ มี limonene เป็นองค์ประกอบหลกั และสารกลุ่ม monoterpene อนื่ ๆ ปรมิ าณเล็กนอ้ ยไดแ้ ก่ alpha-pinene, sabinene, beta-pinene, beta-myrcene, alpha-phellandrene, trans-carveol, cis-carveol และ carvone การศกึ ษาทางเภสัชวิทยาวา่ มฤี ทธิต์ ้านเชอ้ื จุลชพี มีงานวิจยั หนงึ่ ระบุวา่ นำ้ มันสกัดจากส้มโออาจช่วยต้าน เช้ืออโี คไล (E. Coli) หรอื เช้อื ซาลโมเนลลา (Salmonella) ที่มกั ปนเปือ้ นในอาหารจนทำใหเ้ กิด ภาวะอาหารเป็นพิษได้ เชน่ เดียวกับอีกงานวจิ ยั ทีท่ ดลองใชน้ ำ้ มนั หอมระเหยสกัดเยน็ จากสม้ โอและ เกรปฟรุต โดยพบว่าน้ำมนั หอมระเหยดังกล่าวอาจมีฤทธต์ิ า้ นเชอื้ จุลชพี ได้เชน่ กนั ทัง้ ยงั ช่วยต้าน อนุมลู อสิ ระได้อย่างปลอดภยั 3. แกลบข้าว เปน็ ของเหลอื ท้ิงทางการเกษตร ซง่ึ ไดจ้ ากกระบวนการสขี ้าว ในปีหนงึ่ ๆ มปี รมิ าณแกลบสงู ถงึ ประมาณ 5,878.14 พนั ตนั จากการสำรวจ โดยสำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร กระทรวงเกษตร และสหกรณ์ ในปี 2540 ของเหลอื ท้ิงเหลา่ นี้บางสว่ น ถูกนำไปใชป้ ระโยชน์เป็นปุย๋ วัสดุปรู องนอน ในโรงเรือนเล้ยี งเปด็ เลยี้ งไก่ และในยุคท่ีประเทศ มคี วามตอ้ งการพลังงานสูง แกลบถกู นำมาเปน็ เช้ือเพลงิ ทดแทนพลงั งานจากนำ้ มนั ดิบ จากสถติ กิ ารใช้พลงั งานในประเทศไทย ในรายงานพลังงานของประเทศไทย ปี 2539 โดยกรมพฒั นาและส่งเสรมิ พลงั งาน พบวา่ ทดแทนพลงั งานได้เทยี บเท่านำ้ มนั ดิบ 0.63 ลา้ นตนั นอกจากน้ขี เ้ี ถา้ ที่ไดจ้ ากการเผาไหมข้ องแกลบ ยงั สามารถสง่ ออกขายต่างประเทศไดอ้ กี ในราคากโิ ลกรัมละ 3-4 บาท ซง่ึ นับว่าเป็นผลพลอยได้ นอกเหนอื จากการใช้เปน็ แหลง่ พลงั งานทดแทน จากการศกึ ษาค้นควา้ ทั้งในและต่างประเทศ พบว่าในแกลบและขเี้ ถา้ แกลบ มสี ารประกอบซิลิคา เปน็ สารประกอบหลกั อย่ถู งึ ร้อยละ 95 นบั ว่าเป็นแหลง่ วตั ถุดิบทสี่ ำคญั อีกแหลง่ หนง่ึ ที่นับวนั แต่จะมเี พมิ่ ขึน้ และมวี ัฏจักรการผลิตส้ัน ซิลคิ าเปน็ สารประกอบอนินทรีย์ ประกอบด้วยธาตซุ ิลิคอน และออกซเิ จน มีช่อื เรยี กทางเคมีวา่ ซลิ ิคอนไดออกไซด์ สารประกอบชนิดน้ีมีสมบัติเป็นฉนวน ไมน่ ำไฟฟ้าและความร้อน ทนตอ่ การกดั กรอ่ นจากสารเคมี พบไดท้ ่ัวไป ในแหลง่ แร่ธรรมชาติ ทรายจดั เป็นแหล่งซิลิคาสำคัญทนี่ ำมาใช้ในอุตสาหกรรม โดยเฉพาะอตุ สาหกรรมแกว้ เซรามกิ และอิฐทนไฟ นอกจากน้ี ซิลิคามคี วามสามารถในการดดู ซบั ความชน้ื และสารเคมไี ด้ดี จึงนยิ มใชเ้ ปน็ สารดูดความชนื้ ซ่งึ ใช้มากในอตุ สาหกรรมอาหารและยา ใชเ้ ปน็ สารช่วยเพ่มิ แรงตงึ ผวิ ช่วยในการกระจายตัวของยาชนดิ ท่ีเปน็ ของเหลว ใช้เป็นสารเพม่ิ ความแข็งแรง ในอุตสาหกรรม การผลิตยางรถยนต์ ใชเ้ ปน็ ตัวทำใหส้ ารบรสิ ทุ ธิ์ (refining agent) ในอตุ สาหกรรมปิโตรเลียมและปิโตรเคมี

6 ใช้เปน็ ตัวเร่งปฏกิ ริ ยิ าและตวั ตรึง สารช่วยเร่งปฏกิ ิรยิ าในอุตสาหกรรมเคมี ใช้ผลติ สารซิลคิ อนบรสิ ุทธิ์ เพ่อื ผลิตชิน้ ส่วนอเิ ล็กทรอนกิ สไ์ ดอ้ ีกดว้ ย จะเห็นได้วา่ ซลิ ิคามีประโยชน์มากมาย ในเชิงอตุ สาหกรรม ดังน้นั เราควรไดม้ กี ารศึกษาพัฒนา กระบวนการผลิตซลิ ิคาจากแกลบ ทม่ี อี ยู่เปน็ จำนวนมากในประเทศ มาใช้ประโยชน์ เพื่อทดแทนการนำเขา้ จากต่างประเทศ 4. แปง้ มนั สำปะหลงั แป้งมนั สำปะหลัง เป็นแปง้ ทีไ่ ดจ้ ากมันสำปะหลงั ลักษณะของแป้งมสี ีขาว เน้อื เนยี น ล่นื เป็นมนั เมอ่ื ทำให้สุกดว้ ยการกวนกบั นำ้ ไฟออ่ นปานกลาง แปง้ จะละลายง่าย สกุ งา่ ย แป้งเหนียวตดิ ภาชนะ หนดื ขน้ ขนึ้ เรอ่ื ยๆ ไมม่ ีการรวมตัวเป็นก้อน เหนียวเปน็ ใย ติดกนั หมด เน้อื แปง้ ใสเปน็ เงา พอเย็นแล้วจะตดิ กันเปน็ ก้อนเหนยี ว ติดภาชนะ แปง้ มนั สำปะหลงั สามารถนำไปใช้ ในหลากหลายอุตสาหกรรม ไมว่ า่ จะเป็นอตุ สาหกรรมกระดาษ หรอื อตุ สาหกรรมอาหาร ฯลฯ โดยหน้าทีแ่ ล้วแป้งมันสำปะหลังจะช่วยรกั ษาความคงตวั ของผลิตภัณฑ์, ใส, ไม่มกี ลิ่น, การทำเปน็ แผน่ Film และ กาวได้ดี 5. แปง้ ขา้ วเหนยี ว เปน็ แปง้ ทีท่ ำมาจากเมล็ดขา้ วเหนยี ว จะมลี ักษณะผิวสมั ผัสที่หยาบนอ้ ยกวา่ แปง้ ข้าวเจ้า เม่ือไดร้ ับความรอ้ นตัวแปง้ จะมสี ีขาวขุ่น ขน้ และเหนยี ว จึงเหมาะแกก่ ารนำไปทำอาหารที่ตอ้ งการ ความเหนียวน่มุ 6. แปง้ ข้าวเจา้ เปน็ แปง้ ทีท่ ำมาจากเมลด็ ขา้ วเจ้าเม่อื ใชม้ ือสมั ผสั แปง้ จะพบว่าเน้ือสัมผัสมีความหยาบเล็กนอ้ ย เมื่อไดร้ ับความรอ้ นตัวแป้งจะมสี ขี าวขุ่นและรวมตัวกันเปน็ ก้อนแตไ่ ม่มีความเหนยี ว

7 บทท่ี 3 อุปกรณ์และวิธกี ารทดลอง การศกึ ษาอัตราส่วนทีเ่ หมาะสมในการขนึ้ รูปบรรจุภัณฑ์ชีวภาพจากเปลือกสม้ โอและแกลบข้าว มวี สั ดุที่ใช้ในการทดลอง สารเคมีและอุปกรณ์ในการทดลอง ตลอดจนวิธีการทดลอง ดงั น้ี วัสดทุ ใี่ ช้ในการทดลอง 1. ผงเปลอื กขาวส้มโอ 2. แกลบข้าว 3. แปง้ มนั สำปะหลัง

8 4. แป้งข้าวเหนยี ว 5. แป้งขา้ วเจ้า 6. ดินพร้อมปลกู ตรามดเขียว 7. น้ำกลัน่ อุปกรณท์ ีใ่ ช้ในการทดลอง 1. เครือ่ งปนั่ นำ้ ผลไม้ 2. เครื่องทำวาฟเฟลิ ถว้ ย 3. เครื่องผสมอาหารแบบมอื จบั 4. เครื่องอบลมรอ้ น 5. เครือ่ งชั่งดิจติ อล 6. กระบอกตวง ขนาด 250 ml 7. บีกเกอร์ ขนาด 600 ml 8. บกี เกอร์ ขนาด 60 ml 9. ชุดทดสอบการย่อยสลายในดิน 10. ชดุ ทดสอบการยอ่ ยสลายในนำ้ 11. กล้องจลุ ทรรศนแ์ บบใช้แสง (Sterio Optical Microscope) 12. เวอรเ์ นยี ร์ วิธกี ารทดลอง ข้นั ท่ี 1 ศึกษาสตู รและอตั ราส่วนที่เหมาะสมในการขนึ้ รปู บรรจภุ ณั ฑ์ชวี ภาพจากเปลอื กขาวสม้ โอ และแกลบข้าว 1.1 การเตรียมวัตถุดิบ ● การเตรียมผงเปลือกขาวสม้ โอ

9 ● การเตรยี มแกลบขา้ ว 1.2 ศกึ ษากรรมวธิ ใี นการผลิตบรรจภุ ัณฑช์ ีวภาพจากเปลือกขาวสม้ โอและแกลบขา้ วโดยใช้ แป้งมนั สำปะหลงั เป็นตัวประสาน 1. การทำบรรจภุ ณั ฑช์ วี ภาพจากเปลือกขาวส้มโอและแกลบ มี 6 สูตร ควบคมุ ปริมาณแป้งมนั สำปะหลงั จำนวน 100 กรัม และน้ำกล่ัน 135 มลิ ลลิ ิตร ในทกุ สตู ร และใชอ้ ตั ราส่วนของผงเปลอื กส้มโอขาวต่อแกลบข้าว ได้แก่ สตู ร A (ผงเปลอื กสม้ โอขาว 15 กรมั ตอ่ แกลบขา้ วละเอยี ด 5 กรัม)

10 สูตร B (ผงเปลอื กสม้ โอขาว 10 กรัม ตอ่ แกลบข้าวละเอียด 10 กรัม) สูตร C (ผงเปลือกส้มโอขาว 5 กรัม ต่อ แกลบข้าวละเอยี ด 15 กรัม) สตู ร D (ผงเปลอื กสม้ โอขาว 15 กรัม ตอ่ แกลบข้าวหยาบ 5 กรัม) สตู ร E (ผงเปลอื กสม้ โอขาว 10 กรมั ตอ่ แกลบขา้ วหยาบ 10 กรัม) สูตร F (ผงเปลอื กส้มโอขาว 5 กรมั ตอ่ แกลบขา้ วหยาบ 15 กรมั ) 2. ปั่นสว่ นผสมด้วยเครือ่ งผสมอาหารแบบมือจบั ในแต่ละสูตรให้เขา้ กนั แล้วเทลงในเครอ่ื ง ทำวาฟเฟลิ ถว้ ย ครั้งละ 60 กรัม เปน็ เวลา 12 นาที จำนวน 5 ชิน้ ในทกุ สตู ร 3. เมอ่ื ครบตามเวลาทก่ี ำหนด ใหน้ ำชิน้ บรรจภุ ณั ฑช์ วี ภาพจากเปลอื กขาวสม้ โอ และ แกลบข้าวออกจากเคร่ืองวาฟเฟิลแบบถ้วยแล้วนำไปอบท่เี ครือ่ งอบลมรอ้ น ต้งั อณุ หภูมอิ บแห้งที่ 180 องศาเซลเซียส เวลา 30 นาที แลว้ ทำการสงั เกตและบันทกึ ผลการทดลอง 1.3 ศึกษาอัตราสว่ นของแปง้ มันสำปะหลังท่เี หมาะสมในการขึน้ รปู บรรจภุ ัณฑ์ชวี ภาพจาก เปลอื กขาวส้มโอและแกลบขา้ ว 1. นำสตู รทีเ่ หมาะสมจากผลการทดลองที่ 2.1 มาหาอตั ราสว่ นทีเ่ หมาะสมของแป้งมัน สำปะหลงั โดยการปรับลดแป้งลง มที ้ังหมด 6 อตั ราส่วน ทุกอตั ราสว่ น ควบคมุ ปริมาณผงเปลอื กส้มโอขาว 10 กรัม , แกลบหยาบ 10 กรัม และ นำ้ กล่ัน 135 มิลลลิ ติ ร ไดแ้ ก่ สตู ร E100 (แป้งมนั สำปะหลัง 100 กรมั ) สูตร E90 (แป้งมันสำปะหลงั 90 กรัม) สูตร E80 (แปง้ มันสำปะหลัง 80 กรมั ) สตู ร E70 (แป้งมันสำปะหลงั 60 กรัม) สตู ร E60 (แป้งมันสำปะหลัง 70 กรัม) สตู ร E50 (แปง้ มันสำปะหลงั 50 กรัม) 2. ป่ันสว่ นผสมดว้ ยเครือ่ งผสมอาหารแบบมือจบั ในแตล่ ะสตู รให้เขา้ กนั แลว้ เทลงในเครอื่ ง ทำวาฟเฟลิ ถ้วย ครงั้ ละ 60 กรมั เปน็ เวลา 12 นาที จำนวน 5 ช้ิน ในทุกสูตร 3. เมื่อครบตามเวลาทก่ี ำหนด ใหน้ ำชน้ิ บรรจภุ ัณฑ์ชวี ภาพ จากเปลอื กขาวส้มโอ และ แกลบข้าวออกจากเครอ่ื งวาฟเฟลิ แบบถ้วยแล้วนำไปอบที่ตูอ้ บลมร้อน ตั้งอณุ หภูมอิ บแหง้ ท่ี 180 องศาเซลเซยี ส เวลา 30 นาที แลว้ ทำการสังเกตและบันทึกผลการทดลอง 1.4 ศกึ ษาชนดิ ของตัวประสานท่ีมผี ลตอ่ ลักษณะของบรรจภุ ัณฑช์ วี ภาพจากเปลอื กขาวส้มโอ และแกลบข้าว 1. นำ สูตร E100 จากผลการทดลองท่ี 2.2 มาศกึ ษาลักษณะของบรรจุภัณฑช์ ึวภาพ

11 จากเปลอื กส้มโอขาวและแกลบข้าวเมอ่ื ใช้ตัวประสานตา่ งขนดิ กนั ทงั้ หมด 6 อตั ราส่วน โดยทุกอัตราส่วน ควบคมุ ปริมาณผงเปลือกส้มโอขาว 10 กรมั ผงแกลบหยาบ 10 กรมั น้ำกลั่น 135 มิลลิลิตร ได้แก่ สูตร E1 แป้งมันสำปะหลงั 100 กรัม สูตร E2 แปง้ ขา้ วเหนยี ว 100 กรมั สูตร E3 แป้งขา้ วเจา้ 100 กรัม สตู ร E4 แปง้ มนั สำปะหลงั 50 กรมั + แป้งข้าวเหนียว 50 กรัม สูตร E5 แปง้ ข้าวเหนียว 50 กรัม + แปง้ ขา้ วเจา้ 50 กรมั สตู ร E6 แป้งมนั สำปะหลงั 50 กรัม + แปง้ ข้าวเจ้า 50 กรัม 2. ป่นั ส่วนผสมดว้ ยเครอ่ื งผสมอาหารแบบมือจบั ในแตล่ ะสตู รใหเ้ ข้ากันแล้วเทลงในเครื่อง ทำวาฟเฟลิ ถว้ ย ครง้ั ละ 60 กรัม เปน็ เวลา 12 นาที จำนวน 5 ชน้ิ ในทกุ สตู ร 3. เมือ่ ครบตามเวลาท่ีกำหนด ใหน้ ำชิน้ บรรจภุ ัณฑ์ชีวภาพจากเปลอื กขาวสม้ โอและ แกลบขา้ วออกจากเครื่องวาฟเฟิลแบบถ้วยแลว้ นำไปอบท่ตี ู้อบลมร้อน ตั้งอุณหภมู ิอบแห้งที่ 180 องศาเซลเซียส เวลา 30 นาที แลว้ ทำการสังเกตและบันทึกผลการทดลอง 1.5 ศกึ ษาระยะเวลาที่ใชใ้ นการขน้ึ รูปท่ีมผี ลตอ่ สขี องบรรจุภัณฑ์ชวี ภาพจากเปลือกขาวสม้ โอ และแกลบข้าว 1. นำสูตรทเี่ หมาะสมจากผลการทดลองที่ 2.3 มาศกึ ษาระยะเวลาทใี่ ช้ในการขน้ึ รูปท่ีมี ผลตอ่ สขี องบรรจุภณั ฑ์ชีวภาพจากเปลอื กขาวส้มโอและแกลบข้าว ทั้งหมด 7 ช่วงเวลา ไดแ้ ก่ 30 นาที , 40 นาท,ี 50 นาท,ี 60 นาท,ี 70 นาที, 80 นาท,ี และ 90 นาที 2. ชง่ั ส่วนผสมของสูตร E6 ( แปง้ มันสำปะหลัง 50 กรมั + แป้งขา้ วเจา้ 50 กรมั ) ควบคมุ ปรมิ าณผงเปลือกสม้ โอขาว 10 กรมั , แกลบหยาบ 10 กรมั และ น้ำกลัน่ 135 มิลลลิ ติ ร 3. ป่ันส่วนผสมดว้ ยเครื่องผสมอาหารแบบมือจับใหเ้ ขา้ กันแล้วเทลงในเครอ่ื งทำวาฟเฟลิ ถ้วย ครงั้ ละ 60 กรัม คร้ังละ 1 ช้นิ โดยใชร้ ะยะเวลาขึน้ รูปในเครอื่ งวาฟเฟลิ แบบถ้วย 30 นาท,ี 40 นาท,ี 50 นาที, 60 นาท,ี 70 นาที, 80 นาท,ี 90 นาที 4. เมื่อครบตามเวลาทก่ี ำหนดใหน้ ำชิน้ บรรจุภัณฑ์ชวี ภาพจากเปลอื กขาวสม้ โอ และ แกลบขา้ วออกจากเคร่อื งวาฟเฟิลแบบถว้ ยแล้วนำไปอบท่ีตู้อบลมรอ้ น ต้ังอณุ หภูมิอบแหง้ ที่ 180 องศาเซลเซยี ส เวลา 30 นาที แลว้ ทำการสังเกตและบันทึกผลการทดลอง ขั้นที่ 2 ศกึ ษาคณุ ภาพของบรรจุภณั ฑช์ วี ภาพจากเปลอื กขาวสม้ โอและแกลบข้าว

12 เป็นการศกึ ษาคุณภาพบรรจภุ ณั ฑ์ชวี ภาพจากเปลือกขาวส้มโอและแกลบข้าวจากการทดลอง มาทดสอบคุณภาพของบรรจภุ ัณฑ์ ดังน้ี 2.1 ศกึ ษาสมบัติทางกายภาพของบรรจุภณั ฑช์ วี ภาพจากเปลอื กขาวสม้ โอและแกลบขา้ ว 1. การทดสอบค่าความชื้น เปน็ วธิ กี ารชงั่ นำ้ หนกั บรรจุภัณฑ์ชีวภาพจากเปลอื กขาวสม้ โอและแกลบขา้ ว แลว้ บนั ทึก นำ้ หนกั กอ่ นการอบและน้ำหนกั ตวั อย่างหลังจากอบแห้ง แล้วทำการคำนวณหาร้อยละความชน้ื จากสูตร คอื ร้อยละความชื้น = น้ำหนักทีห่ ายไป (กรมั ) × 100 น้ำหนักตัวอย่าง (กรมั ) 2. การศึกษาสณั ฐานวิทยา การศึกษาลกั ษณะทางกายภาพในส่วนของสณั ฐานวิทยาของบรรจุภัณฑ์ชีวภาพจากเปลอื ก ขาวสม้ โอและแกลบขา้ ว เป็นการศกึ ษาดว้ ยกลอ้ งจุลทรรศน์แบบใช้แสง (Stereo Optical Microscope) แล้วทำการสงั เกต ถา่ ยภาพและบันทึกผลการทดลอง 3. การย่อยสลาย การศกึ ษาลกั ษณะทางกายภาพในสว่ นของการยอ่ ยสลายตัวของบรรจภุ ัณฑช์ วี ภาพจากเปลอื กขาวสม้ โอ และแกลบขา้ ว มกี ารทดสอบ 2 วธิ ี ได้แก่ ● การยอ่ ยสลายในนำ้ การศึกษาลกั ษณะทางกายภาพในสว่ นของการยอ่ ยสลายตวั ในน้ำ โดยการนำบรรจุภณั ฑ์ ชีวภาพจากเปลือกขาวสม้ โอและแกลบข้าว แชน่ ำ้ ไว้ทีอ่ ณุ หภูมิ 27 องศาเซลเซียส สงั เกตการเปล่ยี นแปลงแล้วบนั ทึกผลการทดลอง ● การย่อยสลายในดิน การศกึ ษาลักษณะทางกายภาพในสว่ นของการยอ่ ยสลายตัวในดิน โดยการนำบรรจภุ ัณฑ์ ชวี ภาพจากเปลือกขาวส้มโอและแกลบข้าว ฝังในดนิ ทีอ่ ุณหภูมิ 27 องศาเซลเซียส สังเกตการเปล่ยี นแปลงแล้วบนั ทกึ ผลการทดลอง

13 บทที่ 4 ผลการทดลอง จากการศึกษาบรรจภุ ัณฑช์ ีวภาพจากเปลอื กขาวสม้ โอและแกลบข้าว ปรากฎผลการทดลอง ดงั นี้ ขัน้ ท่ี 1 ศึกษาสูตรและอตั ราส่วนทีเ่ หมาะสมในการขึน้ รปู บรรจุภัณฑ์ชวี ภาพจากเปลือกขาวส้มโอและ แกลบขา้ ว 4.1 ศกึ ษากรรมวิธใี นการผลติ บรรจภุ ัณฑ์ชวี ภาพจากเปลอื กขาวสม้ โอและแกลบข้าวโดยใช้ แปง้ มนั สำปะหลงั เปน็ ตวั ประสาน จากการศกึ ษาสตู รที่เหมาะสมระหว่างเปลอื กขาวส้มโอและแกลบข้าวในการขึ้นรปู บรรจภุ ัณฑ์ ชีวภาพ 6 สูตร ไดแ้ ก่ สตู ร A สูตร B สตู ร C สตู ร D สตู ร E สตู ร F ไดค้ วบคมุ ปริมาณแป้งมนั สำปะหลงั จำนวน 100 กรัม และน้ำกลัน่ 135 มิลลลิ ิตรในทุกสตู ร แล้วป่นั ส่วนผสม ดว้ ยเคร่ืองผสมอาหารแบบมือจับในแตล่ ะสตู รให้เข้ากนั แลว้ นำไปเทลงในเครอ่ื งทำวาฟเฟิลถ้วย คร้งั ละ 60 กรมั เปน็ เวลา 15 นาที จำนวน 5 ช้ิน ในทุกอตั ราส่วน เม่อื ครบตามเวลาทกี่ ำหนด ได้นำช้นิ บรรจภุ ัณฑช์ ีวภาพจากเปลือกขาวสม้ โอ และแกลบข้าวออกจากเคร่ืองอบลมร้อน ซง่ึ มีผลการทดลอง ดงั ตารางท่ี 1 ตารางท่ี 1 ผลการศกึ ษากรรมวิธใี นการผลิตบรรจภุ ณั ฑช์ วี ภาพจากเปลอื กขาวส้มโอและแกลบขา้ วโดยใช้แปง้ มัน สำปะหลงั เป็นตวั ประสาน ตัวแปรควบคมุ ปริมาณนำ้ กลน่ั , แปง้ มันสำปะหลัง , เวลาขน้ึ รปู , เวลาอบแห้ง ตัวแปรอสิ ระ ปริมาณอตั ราส่วนของผงเปลือกขาวส้มโอ แกลบละเอยี ด แกลบหยาบ ตัวแปรตาม สี กล่นิ ลกั ษณะผิว ความคงรูป และความชื้น คุณสมบตั ิทต่ี ้องการ 1. แขง็ แรง คงรูป 2. ความช้ืนตำ่ 3. บรรจุผลิตภณั ฑไ์ ด้ ส่วนผสม 1. แป้งมนั สำปะหลัง ตราปลามงั กร โรงงานแปง้ มนั ไทยทำชลบรุ ี 2. แกลบขา้ วขาวดอกมะลิ 105 (ข้าวหอมมะลิ105) 3. ผงเปลือกขาวสม้ โอพนั ธ์ขุ าวนำ้ ผ้ึง

14 สว่ นผสมทใี่ ช้(กรมั ) ข่ือสูตร นำ้ กลนั่ แปง้ มนั สำปะหลงั ผงเปลือกขาวสม้ โอ แกลบข้าว ละเอยี ด หยาบ A 135.0 100.0 15.0 5.0 - B 135.0 100.0 10.0 10.0 - C 135.0 100.0 5.0 15.0 - D 135.0 100.0 15.0 - 5.0 E 135.0 100.0 10.0 - 10.0 F 135.0 100.0 5.0 - 15.0

15 จากตารางที่ 1 ผลการทดลองหาอตั ราสว่ นท่ีเหมาะสมทใี่ ชผ้ ลิตบรรจุภัณฑ์ พบว่า อตั ราส่วนทีเ่ หมาะสม ที่จะสามารถขน้ึ รูปไดม้ ี 6 สูตร คอื สูตร A , B, C , D , E และ F เนื่องจากเนือ้ ของส่วนผสมที่ได้ สามารถนำไปอดั ข้นึ รูปได้ ดังตารางที่ 2 ตารางท่ี 2 ผลการศึกษาอตั ราสว่ นของแปง้ มนั สำปะหลังท่ีเหมาะสมในการขน้ึ รปู บรรจภุ ัณฑช์ วี ภาพ จากเปลอื กขาวส้มโอและแกลบขา้ ว ลกั ษณะผิวท่ีสงั เกตได้ ความ คงรูป สูตร สี กล่นิ คง ไม่คง ภาพบรรจภุ ัณฑ์ รปู รปู แขง็ เรยี บ มันเงา A ครีม แป้งมัน กึ่งแข็ง เรียบบาง ไม่ / อ่อน สำปะหลัง ส่วน มนั เงา

16 B ครีม แป้งมนั ก่งึ แข็ง เรยี บบาง ไม่ / ออ่ น สำปะหลงั สว่ น มันเงา C ครีม ไม่มีกลิ่น กง่ึ แข็ง เรียบบาง ไม่ / ออ่ น ส่วน มันเงา D ครีม ไมม่ ีกลิ่น ก่ึงแข็ง ค่อนข้าง ไม่ / เรยี บ มันเงา E ครมี ไมม่ ีกลน่ิ แข็ง เรยี บ ไม่ / มนั เงา F ครีม ไม่มกี ลน่ิ แข็ง เรยี บ ไม่ / เปราะ มนั เงา 4.2 ศึกษาอัตราส่วนของแป้งมันสำปะหลังท่ีเหมาะสมในการข้นึ รูปบรรจภุ ัณฑ์ชีวภาพจาก เปลือกขาวส้มโอและแกลบขา้ ว จากการนำ สตู ร E จากผลการทดลองท่ี 1.2 มาหาอัตราสว่ นท่ีเหมาะสมของแปง้ มันสำปะหลัง โดยการปรับลดแป้งลง มที ง้ั หมด 6 อตั ราส่วน ทกุ อตั ราสว่ น ควบคมุ ปรมิ าณผงเปลือกสม้ โอขาว 10 กรมั ผงแกลบหยาบ 10 กรัม น้ำกลั่น 135 มิลลิลิตร ได้แก่ สูตร E100 (แป้งมันสำปะหลัง 100 กรัม), สูตร E90 (แป้งมันสำปะหลงั 90 กรัม), สูตร E80 (แป้งมนั สำปะหลงั 80 กรมั ), สตู ร E70 (แป้งมันสำปะหลัง 60 กรัม), สูตร E60 (แปง้ มันสำปะหลงั 70 กรัม), สูตร E50 (แป้งมันสำปะหลัง 50 กรัม) แลว้ ปัน่ ส่วนผสมดว้ ยเครือ่ งผสมอาหารแบบมอื จับในแต่ละสตู รให้เขา้ กันแล้วเทลงในเครอื่ งทำวาฟเฟลิ ถ้วย ครัง้ ละ 60 กรมั เป็นเวลา 12 นาที จำนวน 5 ชิ้น ในทุกสตู ร เม่อื ครบตามเวลา

17 ทก่ี ำหนดได้นำชิ้นบรรจุภัณฑ์ชวี ภาพ จากเปลอื กขาวส้มโอและแกลบขา้ วออกจากเคร่อื งอบลมร้อน ซึ่งมผี ลการทดลอง ดงั ตารางที่ 3 และ ตารางที่ 4 ตารางที่ 3 แสดงผลการทดลองหาอัตราส่วนของแปง้ มันสำปะหลงั ท่ีเหมาะสมในการขนึ้ รปู บรรจุภณั ฑช์ ีวภาพ จากเปลือกขาวส้มโอและแกลบขา้ ว ตัวแปรควบคุม ปริมาณน้ำกลัน่ , ผงเปลอื กสม้ โอ , แกลบหยาบ , เวลาขึน้ รูป , เวลาอบแหง้ ตัวแปรอสิ ระ ปรมิ าณอัตราส่วนของแปง้ มันสำปะหลงั ตวั แปรตาม สี กล่นิ ลกั ษณะผิว ความคงรปู และความชืน้ สว่ นผสมทใี่ ช้(กรัม) ขือ่ สูตร น้ำกลน่ั แปง้ มนั สำปะหลงั ผงเปลือกขาวสม้ โอ แกลบหยาบ E100 135.0 100.0 10.0 10.0 E90 135.0 90.0 10.0 10.0 E80 135.0 80.0 10.0 10.0 E70 135.0 70.0 10.0 10.0 E60 135.0 60.0 10.0 10.0 E50 135.0 50.0 10.0 10.0

18 ตารางท่ี 4 แสดงผลการทดลองทไี่ ดเ้ มื่อข้นึ รูปบรรจุภณั ฑ์ตามแต่ละชนดิ แป้งและอตั ราสว่ นของแปง้ สตู ร สี กลิ่น ลกั ษณะผิวทสี่ งั เกตได้ ความคงรปู E100 ครมี มกี ลิ่น แข็ง เรียบ ไม่มนั เงา / E90 ครมี มีกลิ่น กึ่งแข็ง เรยี บ ไมม่ นั เงา / E80 ครีม มีกลนิ่ ก่งึ แขง็ ไมเ่ รยี บ ไม่มนั เงา / E70 ครมี ไม่มกี ลิ่น กึ่งแขง็ ไมเ่ รียบ ไม่มันเงา / E60 ครีม ไมม่ กี ลน่ิ กง่ึ แข็ง ไม่เรียบ ไม่มนั เงา / E50 ครีม ไมม่ ีกล่ิน ก่งึ แข็ง ไมเ่ รยี บ ไมม่ ันเงา /

19 4.3 ศกึ ษาชนดิ ของตวั ประสานทีม่ ผี ลต่อลกั ษณะของบรรจุภัณฑช์ วี ภาพจากเปลือกขาวสม้ โอ และแกลบข้าว จากการนำ สตู ร E100 จากผลการทดลองที่ 1.3 มาศกึ ษาลักษณะของบรรจภุ ณั ฑ์ชวี ภาพ จาก เปลอื กส้มโอขาวและแกลบขา้ วเม่อื ใช้ตัวประสานต่างขนิดกนั ท้ังหมด 6 อตั ราส่วน โดยทกุ อตั ราสว่ น ควบคมุ ปริมาณผงเปลอื กสม้ โอขาว 10 กรัม ผงแกลบหยาบ 10 กรัม นำ้ กลั่น 135 มิลลิลติ ร ไดแ้ ก่ สูตร E1 (แป้งมนั สำปะหลัง 100 กรัม) , สูตร E2 (แป้งข้าวเหนียว 100 กรมั ) , สูตร E3 (แปง้ ข้าวเจ้า 100 กรัม), สูตร E4 (แป้งมนั สำปะหลงั 50 กรมั + แป้งขา้ วเหนยี ว 50 กรมั ), สูตร E5 (แปง้ ข้าวเหนียว 50 กรัม + แปง้ ขา้ วเจ้า 50 กรัม), สูตร E6 (แป้งมนั สำปะหลัง 50 กรัม + แป้งข้าวเจ้า 50 กรัม) แลว้ ปนั่ สว่ นผสมด้วยเคร่ืองผสมอาหารแบบมือจับในแต่ละสูตรใหเ้ ขา้ กนั แล้วเทลงในเคร่อื งทำวาฟเฟลิ ถว้ ย ครั้งละ 60 กรัม เป็นเวลา 12 นาที จำนวน 5 ชิ้น ในทกุ สตู ร เมอ่ื ครบตามเวลาที่กำหนด ไดน้ ำชน้ิ บรรจุภัณฑช์ ีวภาพจากเปลือกขาวส้มโอและแกลบข้าวออกจากเครอ่ื งอบลมร้อน ซึง่ มผี ลการทดลอง ดงั ตารางที่ 5 และ ตารางท่ี 6 ตารางที่ 5 ผลการศกึ ษาชนิดของตวั ประสานทมี่ ีผลตอ่ ลักษณะของบรรจุภณั ฑ์ชีวภาพจากเปลือกขาว ส้มโอและแกลบขา้ ว สว่ นผสมทใี่ ช(้ กรมั ) ข่ือสูตร น้ำกลนั่ แปง้ ขา้ วเ แปง้ ข้าวเหนี แป้งมนั สำปะ ผงเปลอื กขาวส้ม แกลบหยาบ จ้า ยว หลัง โอ E1 135.0 - - 100.0 10.0 10.0 E2 135.0 - 100.0 - 10.0 10.0 E3 135.0 100.0 - - 10.0 10.0 E4 135.0 - 50.0 50.0 10.0 10.0 E5 135.0 50.0 50.0 - 10.0 10.0 E6 135.0 50.0 - 50.0 10.0 10.0

20 ตารางที่ 6 แสดงผลการทดลองท่ีไดเ้ ม่ือขนึ้ รูปบรรจุภัณฑ์ตามแตล่ ะชนิดแป้งและอัตราสว่ นของแป้ง สตู ร สี กลิ่น ลกั ษณะผิวทีส่ งั เกตได้ ความคงรูป ภาพบรรจภุ ัณฑ์ แข็ง เรยี บ มนั เงา คงรปู ไมค่ งรูป E1 ครีม ไม่มกี ลิ่น แขง็ เรยี บ ไมม่ ันเงา / E2 ครมี แป้งขา้ ว กงึ่ แขง็ เรยี บ มันเงาบ / เหนยี ว างส่วน E3 ครีม แปง้ ข้าว กึง่ แขง็ เรยี บ ค่อนขา้ ง / เจ้า มันเงา

21 E4 ครมี แป้งขา้ กึง่ แขง็ เรยี บบ คอ่ นขา้ ง / เหนียว างสว่ น มนั เงา E5 ครมี แปง้ ข้าว ก่ึงแขง็ เรยี บ ค่อนขา้ ง / เหนียว มันเงา เล็กน้อย แป้งข้าว E6 ครีม เจ้าเล็ก แข็ง เรียบ มนั เงา / นอ้ ย 4.4 ศกึ ษาระยะเวลาที่ใชใ้ นการขึ้นรปู ที่มีผลต่อสีของบรรจภุ ัณฑ์ชวี ภาพจากเปลือกขาวส้มโอ และแกลบขา้ ว จากการนำ สูตร E6 จากผลการทดลองที่ 1.4 มาศึกษาระยะเวลาท่ีใชใ้ นการข้ึนรูปที่มผี ลต่อสี ของบรรจภุ ณั ฑ์ชวี ภาพจากเปลอื กขาวสม้ โอและแกลบขา้ ว ทัง้ หมด 7 ช่วงเวลา ไดแ้ ก่ 30 นาที , 40 นาท,ี 50 นาท,ี 60 นาที, 70 นาที, 80 นาที, 90 นาที จากนัน้ ชง่ั สว่ นผสมของสูตร E6 (แปง้ มันสำปะหลงั 50 กรัม + แปง้ ขา้ วเจ้า 50 กรมั ) ควบคุมปริมาณผงเปลือกสม้ โอขาว 10 กรัม ผงแกลบหยาบ 10 กรมั นำ้ กลั่น 135 มลิ ลิลติ ร แลว้ ปนั่ ส่วนผสมด้วยเครือ่ งผสมอาหารแบบมอื จับให้เขา้ กันแล้วเทลงในเครอ่ื งทำวาฟเฟลิ ถ้วย ครั้งละ 60 กรมั คร้งั ละ 1 ช้ิน โดยใชร้ ะยะเวลาข้นึ รูปในเคร่ืองวาฟเฟลิ แบบถ้วย 30 นาท,ี 40 นาท,ี 50 นาท,ี 60 นาท,ี 70 นาที, 80 นาท,ี 90 นาที เมอื่ ครบตามเวลาทีก่ ำหนดใหน้ ำชนิ้ บรรจุภณั ฑช์ ีวภาพจากเปลือกขาวส้มโอและแกลบข้าวออกจากเครอ่ื งว าฟเฟลิ แบบถว้ ยแลว้ นำไปอบท่เี ครือ่ งอบ ลมร้อน ตั้งอณุ หภมู ิอบแหง้ ที่ 180 องศาเซลเซยี ส เวลา 30 นาที ซ่ึงมผี ลการทดลอง ดังตารางท่ี 7 และ ตารางที่ 8 ตารางที่ 7 แสดงผลการทดลองทีไ่ ด้เมือ่ บรรจุภัณฑ์ใชเ้ วลาขน้ึ รูปตา่ งกนั ตวั แปรควบคมุ สูตร E6 : น้ำกล่นั 135 g + แป้งข้าวเจา้ 50 g + แปง้ มนั สำปะหลัง 50 g + แกลบข้าว10.0 g + ผงเปลอื กขาวส้มโอ 10.0 g เวลาในการอบแหง้ 30 นาที อุณหภมู อิ บแห้ง 180 องศาเซลเซยี ส ตัวแปรอิสระ เวลาในการขึน้ รูป ตวั แปรตาม ร้อยละความชื้น , สี , ความแขง็ , กลน่ิ , ลกั ษณะผิว

22 คุณสมบัติทต่ี ้องการ สีสันของบรรจุภัณฑท์ เ่ี กดิ ตามธรรมชาติ เวลาในการ รอ้ ยละของค ลกั ษณะท่สี ังเกตได้ ขน้ึ รปู วามชื้น ช้ินที่ สี ความแขง็ กล่นิ ลักษณะพนื้ ผิว เรยี บ/ไม่เรยี บ มันเงา/ไม่มนั เงา 1 30นาที 23.6 ครมี แข็ง กล่นิ เลก็ นอ้ ย เรยี บ มันเงา 2 40นาที 17.25 ครีมเขม้ แขง็ ไม่มีกลิ่น เรียบกว่าชน้ิ ท่ี 1 มันเงากวา่ ชนิ้ ท่ี 1 3 50นาที 3.59 เข้มกวา่ ช้ินท่ี 2 แข็ง ไมม่ กี ลิ่น เรยี บกวา่ ช้ินที่ 2 มันเงากว่าชน้ิ ท่ี 2 4 60นาที 3.06 เขม้ กวา่ ชิ้นที่ 3 แขง็ ไมม่ ีกลิ่น เรยี บกวา่ ชิน้ ท่ี 3 มนั เงากวา่ ชนิ้ ที่ 3 5 70นาที 2.17 เขม้ กว่าชิ้นที่ 4 แขง็ ไม่มีกลน่ิ เรยี บกวา่ ชน้ิ ที่ 4 มนั เงากว่าชิน้ ที่ 4 6 80นาที 0.64 เข้มกว่าชน้ิ ที่ 5 แขง็ เปราะ ไม่มกี ลิ่น เรียบกวา่ ชน้ิ ที่ 5 มนั เงากวา่ ชิ้นที่ 5 7 90นาที 0.20 เข้มกวา่ ช้ินที่ 6 แข็งเปราะ ไมม่ กี ล่นิ เรียบกว่าชน้ิ ท่ี 6 มนั เงากว่าชน้ิ ท่ี 6 ตารางที่ 8 แสดงผลการทดลองทไ่ี ด้เมอ่ื บรรจภุ ณั ฑ์ใช้เวลาขึ้นรปู ต่างกัน ตวั แปรควบคมุ สตู รE6 : น้ำกลน่ั 135 g + แปง้ ข้าวเจ้า 50 g + แป้งมันสำปะหลงั 50 g + แกลบข้าว10.0 g + ผงเปลอื กขาวสม้ โอ 10.0 g เวลาในการอบแหง้ 30 นาที อณุ หภมู อิ บแหง้ 180 องศาเซลเซียส ตัวแปรอสิ ระ เวลาในการข้นึ รปู ตัวแปรตาม ร้อยละความชื้น , สี , ความแขง็ , กลิ่น , ลักษณะผวิ คุณสมบัติท่ตี อ้ งการ สสี ันของบรรจภุ ณั ฑท์ ี่เกิดตามธรรมชาติ

ช้ินท่ี เวลาในการข้นึ รปู 23 1 30นาที 2 40นาที ภาพบรรจภุ ณั ฑ์ 3 50นาที 4 60นาที 5 70นาที 6 80นาที

24 7 90นาที ขัน้ ท่ี 2 ศกึ ษาสมบตั ทิ างกายภาพของบรรจุภณั ฑ์ชีวภาพจากเปลอื กขาวส้มโอและแกลบขา้ ว 2.1 การทดสอบคา่ ความชนื้ จากการช่งั นำ้ หนกั บรรจุภัณฑช์ ีวภาพจากเปลอื กขาวสม้ โอและแกลบข้าวแลว้ บนั ทกึ น้ำหนกั ก่อนการอบและน้ำหนกั ตัวอย่างหลังจากอบแห้งแลว้ ทำการคำนวณหาร้อยละความชนื้ ซึง่ มีผลการทดลอง ดังตารางที่ 9 ตารางท่ี 9 แสดงผลการหาคา่ ความชื้นของบรรจภุ ณั ฑ์ อุปกรณท์ ่ใี ช้อบแหง้ ตู้อบลมร้อน อุณหภมู อิ บแห้งท่ี 180 องศาเซลเซยี ส รอบละ 30 นาที จนกว่านำ้ หนักจะคงท่ี หาคา่ เฉลีย่ จากจำนวนบรรจุภัณฑ์ สูตรละ 5 ชน้ิ สตู รที่ ชน้ิ ท่ี นำ้ หนักก่อนอบแห้ง นำ้ หนักหลงั อบแห้ง น้ำหนักความชนื้ ร้อยละความชื้น เฉลย่ี ร้อยละความช้ืน 1 27.18 26.00 0.045 4.52 2 46.78 37.25 0.256 25.58 E1 3 34.05 22.34 0.524 52.42 24.65 4 26.20 20.10 0.303 30.35 5 40.00 36.24 0.104 10.38 1 30.70 21.80 0.408 40.83 2 41.20 30.10 0.369 36.88 37.99 E2 3 32.10 23.10 0.390 38.96 29.11 21.14 0.377 37.70 4 27.12 20.00 0.356 35.60 5 1 48.30 41.60 0.161 16.11 2 49.40 42.60 0.160 15.96 E3 3 47.18 41.60 0.134 13.41 12.83 4 46.30 42.40 0.092 9.20 5 45.00 41.10 0.095 9.49

1 44.18 32.01 0.380 38.02 25 2 38.34 27.50 0.394 39.42 E4 3 50.32 37.32 0.348 34.83 36.08 4 41.87 30.67 0.365 36.52 28.67 35.34 0.316 31.64 23.74 5 46.52 34.30 0.268 26.82 1 43.50 35.60 0.258 25.84 2 44.80 33.50 0.286 28.57 E5 3 43.07 34.22 0.248 24.81 4 42.71 31.58 0.373 37.30 5 43.36 38.04 0.274 27.44 1 48.48 29.17 0.276 27.60 2 37.22 32.76 0.164 16.36 E6 3 38.12 33.21 0.254 25.44 4 41.66 28.41 0.219 21.86 5 34.62

26 2.2 การศกึ ษาสัณฐานวิทยา จากการศกึ ษาลักษณะทางกายภาพในสว่ นของสณั ฐานวทิ ยาของบรรจุภัณฑ์ชีวภาพจากเปลอื ก ขาวสม้ โอและแกลบขา้ ว เปน็ การศึกษาด้วยกล้องจลุ ทรรศนแ์ บบใช้แสง (Stereo Optical Microscope) ผลปรากฏ ดงั ตารางท่ี 10 ตารางที่ 10 ศกึ ษาสณั ฐานวิทยาของบรรจุภัณฑ์ ตำแหนง่ ที่ศึกษา ส่วนที่บางท่สี ดุ (บรเิ วณก้นบรรจุภณั ฑ์) ขอ้ มูลทสี่ งั เกต ลักษณะสีและผิวของบรรจุภณั ฑ์ ขอ่ื สตู ร บรเิ วณกน้ ในของบรรจภุ ัณฑ์ บรเิ วณก้นนอกของบรรจุภัณฑ์ E1 E2 E3 E4

27 E5 E6 2.3 การย่อยสลาย ● การยอ่ ยสลายในนำ้ จากการศึกษาลักษณะทางกายภาพในส่วนของการยอ่ ยสลายตัวในนำ้ โดยการนำบรรจภุ ัณฑ์ ชวี ภาพจากเปลอื กขาวส้มโอและแกลบข้าว แชน่ ้ำไวท้ ่ีอณุ หภูมิ 27 องศาเซลเซียส ซึ่งมีผลการทดลอง ดงั ตารางที่ 11 ตารางที่ 11 ศึกษาความสามารถในการย่อยสลายในน้ำของบรรจุภณั ฑ์ สูตรบรรจุภัณฑ์ สตู รE6 : น้ำกล่นั 135 g + แปง้ ขา้ วเจ้า 50 g + แป้งมนั สำปะหลงั 50 g + แกลบขา้ ว10.0 g + ผงเปลือกขาวสม้ โอ 10.0 g ระยะเวลาทศ่ี กึ ษา 3 วนั น้ำท่ใี ช้ทดลอง น้ำประปา ณ อณุ หภูมิห้อง บรรจกุ ล่องพลาสติกปดิ ฝา อณุ หภูมิสง่ิ แวดลอ้ มโดยเฉลยี่ 27 องศาเซลเซยี ส ชิน้ ที่ สภาพบรรจภุ ัณฑ์ ผา่ นไป 1 วนั ผา่ นไป 2 วนั ผ่านไป 3 วัน เรม่ิ ต้น ชิ้นที่ เริ่มพองตัวเล็กนอ้ ย พองตวั มาก เปือยยยุ่ แตกตัว สซี ดี ลง บางสว่ นแตกตัว ลอยข้ึนทผี่ ิวน้ำ 1 สีขาวขนุ่ จมน้ำ คงรูป ผิวเรียบแขง็ สีครมี

28 ลอยนำ้ สภาพน้ำใส ลอยในน้ำ น้ำเร่มิ ขนุ่ น้ำข่นุ สนี ำ้ ตาลอ่อน น้ำขุน่ ข้นึ แตไ่ มม่ ีกลน่ิ ไม่มกี ลนิ่ คา่ pH6 ไม่มกี ลิน่ ค่าpH6 ไม่มกี ลน่ิ ค่าpH6 มีฟองเลก็ น้อย ค่าpH6 ช้ินที่ เริม่ พองตวั มาก พองตัวมาก เปอื ยยยุ่ แตกตัว 2 คงรปู ผวิ เรยี บแขง็ สซี ดี ลง บางส่วนแตกตวั ลอยขึน้ ท่ผี วิ น้ำ สีขาวขนุ่ จมนำ้ สีครมี น้ำขุ่นขึ้นแตไ่ ม่มีกลิ่น มฟี องเลก็ นอ้ ย คา่ pH6 ลอยนำ้ สภาพน้ำใส ลอยในนำ้ นำ้ เร่ิมขุ่น น้ำข่นุ สีน้ำตาลอ่อน ไมม่ ีกลิ่น ค่าpH6 ไมม่ กี ล่นิ ค่าpH6 ไม่มกี ล่นิ คา่ pH6 ชิ้นที่ เริ่มพองตวั เล็กน้อย พองตวั มาก เปือยยุ่ย แตกตัว 3 คงรูป ผวิ เรียบแขง็ สีซดี ลง บางสว่ นแตกตัว ลอยขึ้นที่ผิวนำ้ สขี าวขนุ่ จมน้ำ สคี รมี น้ำขุ่นขึ้นแตไ่ มม่ ีกลิน่ มีฟองเล็กนอ้ ย ค่าpH6 ลอยน้ำ สภาพน้ำใส ลอยในนำ้ น้ำเริ่มขนุ่ นำ้ ขนุ่ สีน้ำตาลออ่ น ไม่มกี ลนิ่ ค่าpH6 ไม่มีกลิ่น คา่ pH6 ไม่มกี ล่นิ คา่ pH6

29 ชน้ิ ที่ พองตัวมาก เปือยยุ่ย แตกตวั 4 คงรปู ผิวเรียบแข็ง พองตวั มาก บางสว่ นแตกตัว ลอยขนึ้ ที่ผวิ น้ำ สขี าวขุน่ จมน้ำ สคี รมี เปลย่ี นรูปทรง สซี ีดลง ลอยนำ้ สภาพนำ้ ใส ลอยในนำ้ นำ้ เรมิ่ ขนุ่ นำ้ ขนุ่ สีนำ้ ตาลอ่อน น้ำขุ่นข้ึนแตไ่ ม่มีกล่ิน ไม่มีกลนิ่ คา่ pH6 ไม่มกี ลิ่น ค่าpH6 ไม่มีกลนิ่ คา่ pH6 มฟี องเล็กนอ้ ย คา่ pH6 ช้ินที่ เรม่ิ พองตัวเล็กน้อย พองตวั มาก เปอื ยย่ยุ แตกตวั 5 สซี ดี ลง บางสว่ นแตกตัว ลอยขนึ้ ทผี่ วิ นำ้ สขี าวขนุ่ จมน้ำ คงรูป ผวิ เรียบแข็ง นำ้ ขุน่ ข้นึ แตไ่ มม่ กี ลิน่ สีครีม มีฟองเลก็ นอ้ ย คา่ pH6 ลอยนำ้ สภาพน้ำใส ลอยในนำ้ นำ้ เริ่มข่นุ น้ำขนุ่ สีนำ้ ตาลอ่อน ไม่มกี ลน่ิ ค่าpH6 ไม่มีกลิน่ ค่าpH6 ไมม่ ีกลนิ่ ค่าpH6 ● การย่อยสลายในดนิ จากการศกึ ษาลกั ษณะทางกายภาพในส่วนของการย่อยสลายตัวในดิน โดยการนำบรรจภุ ณั ฑ์ชวี ภาพจากเปลือกขาวส้มโอและแกลบข้าว ฝังในดนิ ท่ีอณุ หภูมิ 27 องศาเซลเซยี ส สงั เกตการเปล่ียนแปลงแล้วบันทึกผลการทดลอง ดงั ตารางที่ 12

30 ตารางที่ 12 ศึกษาความสามารถในการย่อยสลายในดนิ ของบรรจุภัณฑ์ สูตรบรรจภุ ัณฑ์ สูตรE6 : นำ้ กลั่น 135 g + แป้งขา้ วเจ้า 50 g + แป้งมนั สำปะหลงั 50 g + แกลบข้าว10.0 g + ผงเปลือกขาวส้มโอ 10.0 g ดนิ ที่ใชฝ้ ังกลบ ดินเหนียวผสมเศษใบออ้ ย ตรามดเขยี ว บรษิ ทั ดนิ ทอง คอรป์ อเรชนั่ จำกดั ความชื้นดนิ เปน็ ดนิ ที่มีความชนื้ ตำ่ ระยะเวลาท่ศี ึกษา 7 วัน อุณหภูมสิ ิง่ แวดลอ้ มโดยเฉลยี่ 27 องศาเซลเซยี ส ชน้ิ ที่ สภาพบรรจุภณั ฑ์เรม่ิ ตน้ สภาพบรรจภุ ณั ฑใ์ นวนั ที่ 7 ช้นิ ท่ี 1 มลี ักษณะนุ่มลง เล็กนอ้ ย ชิ้นที่ 2 มลี กั ษณะนมุ่ ลง เลก็ นอ้ ย ชน้ิ ท่ี 3 มลี กั ษณะนมุ่ ลงเล็กนอ้ ย ชิน้ ท่ี 4 มีลกั ษณะนมุ่ ลงเลก็ น้อ ย

31 ชิน้ ที่ 5 มีลักษณะนุ่มลงเล็กน้อ ย บทที่ 5 สรุปผล อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ สรปุ ผลการทดลอง

32 โครงงานวทิ ยาศาสตร์ เรอ่ื ง การศึกษาอัตราสว่ นที่เหมาะสมในการข้ึนรูปบรรจุภัณฑ์ชวี ภาพ จากเปลือกขาวส้มโอและแกลบขา้ ว ได้แบ่งหัวขอ้ ของการศึกษาออกเปน็ 2 ขนั้ โดยมผี ลการทดลอง ดงั นี้ ข้ันที่ 1 สูตรและอตั ราสว่ นทีเ่ หมาะสมในการขึ้นรูปบรรจุภณั ฑ์ชวี ภาพจากเปลอื กส้มโอและแกลบขา้ ว สรุปผลการทดลองคือสตู รและอตั ราส่วนท่ีเหมาะสมในการขน้ึ รปู บรรจภุ ัณฑช์ ีวภาพจากเปลอื กขาวสม้ โอแ ละแกลบข้าวน้ันทดี่ ีทสี่ ดุ คืออตั ราสว่ น นำ้ 135 กรมั แปง้ 100 กรมั ผงขาวเปลอื กส้มโอ 10 กรัมและแกลบขา้ วแบบหยาบ 5 กรมั อัตราส่วนอื่นเมอ่ื ไดล้ องขึน้ รปู และเข้าอบด้วยเครื่องอบลมรอ้ นแล้วนน้ั ภาชนะ ไมค่ งรปู อุณหภูมทิ เ่ี ราใช้ในการทดลองขั้นนี้ เครอื่ งอัดวาฟเฟลิ 90 องศาเซลเซยี สและอณุ หภูมิเตาอบ ลมรอ้ น 180 องศาเซลเซียส หลังจากน้นั ทำการปรับลดอัตราสว่ นแป้งมนั สำปะหลังลง ปรากฎว่า สตู ร E100 มอี ัตราส่วนที่เหมาะสมในการข้ึนรูปมากทส่ี ุด แต่เนอื้ สมั ผัสยงั ไมเ่ รียบเงา จงึ ศกึ ษาชนิดของแปง้ ที่มีผลต่อคุณลกั ษณะของบรรจุภัณฑ์ ผลการทดลองปรากฎว่า สตู ร E6 ซงึ่ มีอตั ราสว่ นแปง้ มนั สำปะหลังต่อแป้งขา้ วเจา้ (50: 50) นำ้ 135 กรัมแกลบขา้ วกง่ึ ละเอียด 10 กรมั และผงขาวส้มโอ 10 กรมั เป็นสตู รท่เี หมาะสมทีส่ ดุ มผี ิวเรียบ มันเงา ข้นั ท่ี 2 ศกึ ษาสมบัติทางกายภาพของบรรจภุ ัณฑ์ชวี ภาพจากเปลือกขาวส้มโอและแกลบขา้ ว ดังนี้ การทดสอบคา่ ความช้นื การศกึ ษาสัณฐานวิทยา พบว่า E6 เป็นสตู รทม่ี คี วามชื้นเหมาะสมในการขน้ึ รปู มเี นือ้ สัมผสั ท่ลี ะเอียด มนั เงา การย่อยสลายผา่ นดนิ โดยไดใ้ ช้ดินพรอ้ มปลูกตรามดเขยี วใส่ลงในกล่องพลาสตกิ และนำงานของเราสูตร E6 ลงไปฝังเป็นเวลา 7 วนั ผลปรากฏว่านุ่มขึน้ และมเี ชอ้ื รามาเกาะบรเิ วณขอบเล็กน้อย การยอ่ ยสลายผ่านน้ำ ใสล่ งไปในน้ำ 1.5 ลิตรแลว้ วนั ตอ่ มาชน้ิ งานกลายเปน็ ชิน้ เล็กๆแตกแยกออกมาในการทดสอบประสิทธิภาพ วธิ ตี ่อไปคือการทดสอบการกระแทก ผลคือการปล่อยงานของเราจากช้นั 2 งานของเราไม่แตกแตพ่ อเราปลอ่ ยจากชั้น 3 และ 4 มรี อยถลอก เลก็ น้อย อภิปรายผลการทดลอง จากผลการทดลองพบวา่ บรรจภุ ัณฑช์ ีวภาพจากผงเปลอื กขาวส้มโอและแกลบข้าว มคี วามแขง็ แรงเนื่องจากแกลบข้าวทแ่ี ขง็ แรงเพราะประกอบดว้ ยเสน้ ใยเซลลโู ลสและนำ้ หนักเบา มแี ปง้ มนั สำปะหลังและแป้งขา้ วเจา้ เป็นตัวประสาน มผี งเปลอื กขาวสม้ โอซึง่ มีคณุ สมบัตอิ อกฤทธิต์ า้ นเชือ้ จุลลินทรยี ์ มีงานวิจยั หนึง่ ระบุวา่ นำ้ มันสกัดจากสม้ โออาจช่วยต้านเชอ้ื อโี คไล หรอื เชื้อซาลโมเนลล่าทม่ี กั ปนเปอ้ื นในอาหาร จะทำให้เกิดอาหารเปน็ พษิ ได้ ดงั นัน้ บรรจุภัณฑช์ ีวภาพของเราจึงเปน็ ถ้วยทปี่ ลอดเชื้อโรคท่ีแขง็ แรงและไมเ่ ป็นพิษต่อสง่ิ แวดลอ้ ม

33 ข้อเสนอแนะ 1.ศึกษาพฒั นาบรรจภุ ัณฑช์ ีวภาพจากเปลอื กสม้ โอขาวและแกลบให้สามารถใชซ้ ำ้ เทยี บเท่า เมลานนี 2.ศึกษารูปแบบของบรรจุภัณฑเพ่อื การใชง้ านทีห่ ลากหลายมากข้ึน

34 บรรณานุกรม กลา้ ณรงค์ ศรรี อด, เกอื้ กลู ปยิ ะจอมขวญั . เทคโนโลยขี องแป้ง. พมิ พค์ ร้งั ที่ 4 กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพม์ หาวิทยาลัยเกษตรศาสตร,์ 2550. บรรจภุ ณั ฑ์ชีวภาพ ท่มี า http://mail.thaigoodview.com/node/17034?page=0%2C1

35 แกลบขา้ วขาวดอกมะลิ 105 (ขา้ วหอมมะลิ105) ผงเปลือกขาวส้มโอพันธ์ขุ าวนำ้ ผ้ึง แป้งมนั สำปะหลัง ตราปลามังกร โรงงานแป้งมันไทยทำชลบุรี

36 แกลบข้าวหยาบ เคร่อื งผสมอาหารแบบมอื จับ เครอ่ื งชง่ั ดิจิตอล เครอื่ งทำวาฟเฟลิ ถ้วย

37 ตู้อบลมร้อน เครอื่ งปนั่ น้ำผลไม้ แปง้ ข้าวเหนยี ว ตราชา้ งสามเศยี ร แปง้ ข้าวเจา้ ตราช้างสามเศียร

38 ข้ันตอนการสรา้ งบรรจุภณั ฑ์ 4. นำขึน้ จากเตาข้นึ รปู 1. นำสว่ นผสมปน่ั รวมกัน 2. นำไปเทลงในเตาขนึ้ รปู 5. นำเข้าเตาอบลมรอ้ น 30 นาที 3. ปดิ ฝาและตั้งท้งิ ไว้ 30 นาที 6. ได้บรรจภุ ัณฑ์ท่ีมคี ุณภาพ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook