ความรู้เกยี่ วกบั เทคโนโลยดี จิ ทิ ลั
เทคโนโลยดี จิ ิทัล (Digital literacy) คืออะไร ทกั ษะความเขา้ ใจและใชเ้ ทคโนโลยดี ิจิทลั หรือ Digital literacy หมายถึง ทกั ษะใน การนาเคร่ืองมือ อุปกรณ์ และเทคโนโลยดี ิจิทลั ที่มีอยใู่ นปัจจุบนั เช่น คอมพิวเตอร์ โทรศพั ท์ แทปเลต โปรแกรมคอมพวิ เตอร์ และสื่อออนไลน์ มาใชใ้ หเ้ กิดประโยชน์ สูงสุด ในการส่ือสาร การปฏิบตั ิงาน และการทางานร่วมกนั หรือใชเ้ พอ่ื พฒั นา กระบวนการทางาน หรือระบบงานในองคก์ รใหม้ ีความทนั สมยั และมีประสิทธิภาพ ทกั ษะดงั กล่าวครอบคลุมความสามารถ ๔ มิติ ๑. การใช้ (Use) ๒. เขา้ ใจ (Understand) ๓.การสร้าง (create) ๔.เขา้ ถึง (Access) เทคโนโลยดี ิจิทลั ไดอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพ
การใช้ (Use) หมายถึง ความคล่องแคล่วทางเทคนิคท่ีจาเป็นในการใชค้ อมพวิ เตอร์และ อินเทอร์เน็ต ทกั ษะและความสามารถท่ีเก่ียวขอ้ งกบั คาวา่ “ใช”้ ครอบคลุมต้งั แต่เทคนิคข้นั พ้ืนฐาน คือ การใช้ โปรแกรมคอมพิวเตอร์ เช่น โปรแกรมประมวลผลคา (Word processor) เวบ็ เบราวเ์ ซอร์ (Web browser) อีเมล และเคร่ืองมือส่ือสารอื่นๆ สู่เทคนิคข้นั สูงข้ึนสาหรับการเขา้ ถึงและการใชค้ วามรู้ เช่น โปรแกรมท่ีช่วยในการ สืบคน้ ขอ้ มูล หรือ เสิร์ชเอนจิน (Search engine) และฐานขอ้ มูลออนไลน์ รวมถึงเทคโนโลยอี ุบตั ิใหม่ เช่น Cloud computing
เข้าใจ (Understand) คือ ชุดของทกั ษะท่ีจะช่วยผเู้ รียนเขา้ ใจบริบทและประเมินสื่อดิจิทลั เพอ่ื ใหส้ ามารถตดั สินใจเก่ียวกบั อะไรท่ีทาและพบบนโลกออนไลน์ จดั วา่ เป็นทกั ษะที่สาคญั และท่ีจาเป็นที่ จะตอ้ งเริ่มสอนเดก็ ใหเ้ ร็วท่ีสุดเท่าที่พวกเคา้ เขา้ สู่โลกออนไลน์ เขา้ ใจยงั รวมถึงการตระหนกั วา่ เทคโนโลยี เครือข่ายมีผลกระทบต่อพฤติกรรมและมุมมองของผเู้ รียนอยา่ งไร มีผลกระทบต่อความเชื่อและความรู้สึกเก่ียวกบั โลกรอบตวั ผเู้ รียนอยา่ งไร เขา้ ใจยงั ช่วยเตรียมผเู้ รียนสาหรับเศรษฐกิจฐานความรู้ท่ีผเู้ รียนพฒั นาทกั ษะการจดั การ สารสนเทศเพอ่ื คน้ หา ประเมิน และใชส้ ารสนเทศอยา่ งมีประสิทธิภาพเพือ่ ติดต่อส่ือสาร ประสานงานร่วมมือ และแกไ้ ขปัญหา
การสร้าง (Create) คือ ความสามารถในการผลิตเน้ือหาและการสื่อสารอยา่ งมีประสิทธิภาพ ผา่ นเคร่ืองมือสื่อดิจิทลั ท่ีหลากหลาย การสร้างดว้ ยสื่อดิจิทลั เป็นมากกวา่ แค่การรู้วิธีการใชโ้ ปรแกรมประมวลผล คาหรือการเขียนอีเมล แต่มนั ยงั รวมความสามารถในการดดั แปลงสิ่งที่ผเู้ รียนสร้างสาหรับบริบทและผชู้ มที่ แตกต่างและหลากหลาย ความสามารถในการสร้างและส่ือสารดว้ ยการใช้ Rich media เช่น ภาพ วิดีโอ และเสียง ตลอดจนความสามารถในการมีส่วนร่วมกบั Web 2.0 อยา่ งมีประสิทธิภาพและรับผดิ ชอบ เช่น Blog การแชร์ภาพ และวดิ ีโอ และ Social media รูปแบบอ่ืนๆ
สิ่งสาคญั คือ การพฒั นาการรู้ดิจิทลั คือกระบวนการการเรียนรู้ตลอดชีวติ ทกั ษะเฉพาะท่ีมีความจาเป็น สาหรับการรู้ดิจิทลั จะแตกต่างจากคนหน่ึงถึงอีกคนหน่ึงโดยข้ึนอยกู่ บั ความตอ้ งการและสถานการณ์ของผเู้ รียน ซ่ึงอาจครอบคลุมต้งั แต่การรับรู้ข้นั พ้ืนฐานและการฝึกอบรมสู่การประยกุ ตใ์ ชง้ านท่ีมีความยงุ่ ยากและซบั ซอ้ น ยง่ิ ข้ึน นอกจากน้ีการรู้ดิจิทลั กินความมากกวา่ แคก่ ารรู้เก่ียวกบั เทคโนโลยี แต่มนั ยงั ครอบคลุมถึงประเดน็ ต่างๆ เก่ียวกบั จริยธรรม สงั คม และการสะทอ้ น (Reflection) ซ่ึงฝ่ังอยใู่ นการทางาน การเรียนรู้ การพกั ผอ่ น และ ชีวติ ประจาวนั
Big Data
Big Data คือ ขอ้ มูลขนาด ใหญ่มากจนซอฟตแ์ วร์หรือ ฮาร์ดแวร์ธรรมดาน้นั ไม่สามารถที่ จะจดั การหรือวิเคราะห์ไดอ้ ยา่ งมี ประสิทธิภาพ Big Data คือ การ รวบรวมขอ้ มูลท้งั Structured (พวก ท่ีเกบ็ ในโครงสร้างตารางขอ้ มูล) และ Unstructured (พวกที่เป็น text ยาวๆ รูปภาพ และ วิดีโอต่างๆ) มา ทาการประมวลวเิ คราะห์ขอ้ มูลและ นาไปใชป้ ระโยชน์
เพื่อให้ความเข้าใจ เกย่ี วกบั Big Data มีมากข้ึนเรามาทาความเขา้ ใจเก่ียวกบั คาจดั ความของคาวา่ Big Data กนั ก่อนในราว ๆ ปี 2001 Gartner ไดใ้ หค้ าจากดั ความของคาวา่ Big Data ไวว้ า่ เป็นขอ้ มูลท่ีมีความหลากหลาย มีปริมาณมากๆ และมีความเร็วมากๆ ซ่ึงรู้จกั กนั ในนาม 3Vs (สามว)ี 3vs ของ big data v ท่ี1 คือ volume v ท่ี2 คอื velocity v ท่ี 3 คอื variety
v ท1ี่ คือ volume ปริมาณขอ้ มูลท่ีมากเป็นปัจจยั ที่มีความสาคญั ในปริมาณขอ้ มูลท่ีมากมายมหาศาลน้นั ท่ีเราจะตอ้ งประมวลผลน้นั เป็นขอ้ มูลที่ไม่มีโครงสร้าง มีความ หนาแน่นของขอ้ มูลต่า และขอ้ มูลพวกน้ีอาจเป็นขอ้ มูลท่ีไม่ทราบค่า เช่น ฟี ดขอ้ มูลของเฟสบุ๊คทวที เตอร์ การคลิ๊กบนเวป็ ไซทห์ รืออุปกรณ์แอพพลิเคชน่ั ต่างๆ หรืออุปกรณ์ท่ีมีเซนเซอร์ บางองคก์ ารอาจมีขอ้ มูลใหป้ ระมวลผลเป็นสิบๆเทราไบต์ หรือบางองกรคอ์ าจมีเป็น ร้อย ๆ เพตะไบต์ v ท2่ี คือ velocity คอื ความเรว็ ของการรรบั ขอ้ มลู หรอื อาจเป็นการกระทาใดๆ โดยปกติก็เป็นความเรว็ สงู สดุ ท่ีทาการสตมี ขอ้ มลู ลงในหน่วยความจาโดยตรงกบั การบนั ทกึ ขอ้ มลู ลงบนฮารด์ ดสิ ก์ เครอ่ื งมือหรอื อปุ กรณท์ ่ีใชก้ บั อินเตอรเ์ น็ตในสมยั นีก้ ็เป็นการทางานแบบเรยี ลไทมห์ รอื เกือบๆจะเรยี ลไทม์ ซง่ึ จะตอ้ งมีการ ประมวลผลแบบเรยี ลไทม์ v ท่ี 3 คือ variety Variety คือความหลากหลายของชนิดขอ้ มูล ขอ้ มูลในสมยั ก่อนมกั เป็นพวกขอ้ มูลท่ีเป็นโครงสร้างและมีความพอดีกบั ฐานขอ้ มูลเชิงสมั พนั ธ์ ปัจจุบนั ขอ้ มูลมีขนาดใหญ่ข้ึนและเป็นขอ้ มูลแบบไม่มีโครงสร้างหรือก่ึงโครงสร้าง เช่น ขอ้ มูลแบบตวั อกั ษร ขอ้ มูลภาพ ขอ้ มูลเสียง ซ่ึงตอ้ งการการประมวลผล เพ่ิมเติม เพือ่ ที่จะแปลความหมาย และหารายละเอียดคาอธิบายของขอ้ มูล (meta data)
IOT
ความหมายของอนิ เทอร์เน็ตทุกสรรพสิ่ง (IOT) IoT หรือ Internet of Things (อินเทอร์เน็ตของสรรพส่ิง) หมายถึง วตั ถุ อปุ กรณ์ พาหนะ ส่ิงของเคร่ืองใช้ และส่ิงอานวยความสะดวกในชีวิตอื่น ๆ ท่ีมนุษยส์ ร้างข้ึน โดยมีการฝังตวั ของวงจรอิเลก็ ทรอนิกส์ ซอฟตแ์ วร์ เซ็นเซอร์ และการเชื่อมตอ่ กบั เครือขา่ ย ซ่ึงวตั ถุสิ่งของเหลา่ น้ี สามารถเกบ็ บนั ทึกและแลกเปล่ียนขอ้ มูลกนั ได้ รูปแบบของอนิ เทอร์เน็ตทุกสรรพส่ิง (IOT) หมายถึง การที่อุปกรณ์ต่างๆ ส่ิงต่างๆ ไดถ้ ูกเช่ือมโยงทุกส่ิงทุกอยา่ งสู่โลก อินเตอร์เน็ต ทาใหม้ นุษยส์ ามารถส่งั การควบคุมการใชง้ านอุปกรณ์ต่างๆ ผา่ นทาง เครือขา่ ยอินเตอร์เน็ต เช่น การเปิ ด-ปิ ด อุปกรณ์เครื่องใชไ้ ฟฟ้า (การส่ังการเปิ ดไฟฟ้า ภายในบา้ นดว้ ยการเชื่อมต่ออุปกรณ์ควบคุม
องค์ประกอบของอนิ เทอร์เน็ตทุกสรรพส่ิง (IOT) 1.อุปกรณ์ หรือ Thing คือ อุปกรณ์ใชส้ าหรับเช่ือมตอ่ ินเทอร์เน็ต 2.การเช่ือมต่ออินเทอน์เน็ต คือเครือข่ายอินเทอร์เน็ตซ่ึงตอ้ งพจิ ารณาความเหมาะสมในแง่ของอตั ราการรับ-ส่งขอ้ มูล ระยะ ทางการส่งสญั ญาณ 3.เซิร์ฟเวอร์ คือ การใชบ้ ริการรับฝากฐานขอ้ มูลที่มีขนาดใหญ่ (Data Center)หรือระบบคลาวด์ (Cloud Computing) 4.การจดั การขอ้ มูล คือ การจดั เกบ็ ขอ้ มูล การวเิ คราะห์ขอ้ มูล การรักษาความปลอดภยั ของขอ้ มูล ผลกระทบจากอนิ เทอร์เน็ตทุกสรรพสิ่ง (IoT) Internet of Thing น้นั หากถูกพฒั นาอยา่ งสมบูรณ์แบบ จะมีประโยชน์ต่อผใู้ ชเ้ ป็นอยา่ งมาก ในแง่ของความสะดวกสบาย และรวดเร็ว ช่วยลดข้นั ตอนความยงุ่ ยากในการทากิจกรรมประจาวนั ต่างๆ แต่ถึงอยา่ งน้นั กย็ งั คงมีขอ้ บกพร่อง ซ่ึงสามารถ จาแนกไดด้ งั น้ี ปัญหาดา้ นการส่งขอ้ มูล ปัญหาดา้ นความปลอดภยั ปัญหาการประมวลผลผดิ พลาด
ประโยชน์ทางเศรษฐกจิ ของอนิ เทอร์เน็ตทุกสรรพสิ่ง (IOT) การท่ีเทคโนโลยเี ป็นท่ีแพร่หลายน้นั ไม่ไดอ้ ยทู่ ่ีปัจจยั ดา้ นราคาอยา่ งเดียว แต่เทคโนโลยนี ้นั ตอ้ งส่งมอบประโยชน์ต่อชีวติ ของผใู้ ชด้ ว้ ย ซ่ึง IoTs ก่อใหเ้ กิดประโยชน์ในดา้ นต่างๆ มากมาย รับส่งขอ้ มูลในรูปแบบดิจิทลั -ทางานตรวจสอบในจุดท่ีคนเขา้ ไม่ถึง -ลดภาระงานใหก้ บั บุคลากร -แม่นยา! และส่งขอ้ มูลไดแ้ บบ Real-Time
Search
Read the Text Version
- 1 - 14
Pages: