Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หนังสือรวบรวมระเบียบการเบิกจ่ายเงิน

หนังสือรวบรวมระเบียบการเบิกจ่ายเงิน

Published by KBPP Itme, 2019-06-09 05:27:23

Description: หนังสือเล่มนี้เป็นส่วนหนึ่งในการปฏิบัติงานด้านการเงิน ซึ่งเนื้อหาจะประกอบด้วย ระเบียบการเบิกจ่ายต่างๆ

Keywords: GFMIS

Search

Read the Text Version

แสกนเพอ่ื อา่ น E-booK นางสาวจรญิ ญา จิระดารง ศูนย์วิทยาศาสตรเ์ พ่อื การศกึ ษาสระแกว้

เลม ๑๒๕ ตอนพเิ ศษ ๕๐ ง หนา ๑ ๗ มนี าคม ๒๕๕๑ ราชกจิ จานุเบกษา ระเบียบ การเบิกจายเงินจากคลัง การเก็บรักษาเงินและการนําเงินสงคลงั พ.ศ. ๒๕๕๑ โดยท่เี ปนการสมควรปรบั ปรุงระเบียบเกี่ยวกับการเบิกจายเงินจากคลัง การเก็บรักษาเงินและ การนําเงินสงคลัง ใหเหมาะสมกับสภาวการณปจจุบันและสอดคลองกับการปฏิบัติงานดานการเงิน การคลังตามระบบการบริหารการเงินการคลังภาครัฐดวยระบบอิเล็กทรอนิกส (Government Fiscal Management Information System) อาศยั อาํ นาจตามความในมาตรา ๒๑ (๒) แหง พระราชบัญญตั วิ ธิ ีการงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๐๒ รัฐมนตรวี า การกระทรวงการคลังโดยความเห็นชอบของคณะรัฐมนตรี กําหนดระเบียบการเบิกจายเงิน จากคลัง การเกบ็ รักษาเงินและการนาํ เงินสง คลังไว ดังตอ ไปน้ี ขอ ๑ ระเบียบน้เี รยี กวา “ระเบียบการเบิกจายเงินจากคลงั การเก็บรกั ษาเงินและการนําเงิน สงคลัง พ.ศ. ๒๕๕๑” ขอ ๒ ระเบยี บน้ีใหใ ชบ งั คับตั้งแตว ันถดั จากวันประกาศในราชกจิ จานเุ บกษาเปนตน ไป ขอ ๓ ใหยกเลกิ (๑) ระเบียบการเบิกจายเงินจากคลัง พ.ศ. ๒๕๒๐ (๒) ระเบียบการเบิกจา ยเงินจากคลัง พ.ศ. ๒๕๒๐ (ฉบบั ท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๒๕ (๓) ระเบยี บการเบกิ จา ยเงินจากคลงั พ.ศ. ๒๕๒๐ (ฉบบั ท่ี ๓) พ.ศ. ๒๕๒๖ (๔) ระเบียบการเบิกจา ยเงนิ จากคลัง พ.ศ. ๒๕๒๐ (ฉบับท่ี ๔) พ.ศ. ๒๕๓๑ (๕) ระเบยี บการเบิกจา ยเงนิ จากคลงั พ.ศ. ๒๕๒๐ (ฉบบั ท่ี ๕) พ.ศ. ๒๕๓๖ (๖) ระเบียบการเบิกจา ยเงินจากคลงั พ.ศ. ๒๕๒๐ (ฉบบั ท่ี ๖) พ.ศ. ๒๕๓๘ (๗) ระเบยี บการเบกิ จายเงินจากคลัง พ.ศ. ๒๕๒๐ (ฉบับท่ี ๗) พ.ศ. ๒๕๔๘ (๘) ระเบียบการเก็บรักษาเงนิ และการนําเงนิ สงคลังของสว นราชการ พ.ศ. ๒๕๒๐ (๙) ระเบียบการเก็บรกั ษาเงินและการนาํ เงนิ สง คลงั ของสว นราชการ พ.ศ. ๒๕๒๐ (ฉบับท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๓๑ (๑๐) ระเบยี บการเก็บรักษาเงนิ และการนําเงนิ สง คลงั ของสว นราชการ พ.ศ. ๒๕๒๐ (ฉบับท่ี ๓) พ.ศ. ๒๕๔๓

เลม ๑๒๕ ตอนพิเศษ ๕๐ ง หนา ๒ ๗ มนี าคม ๒๕๕๑ ราชกิจจานเุ บกษา บรรดาระเบยี บหรือขอบังคับอื่นใดในสวนท่ีกําหนดไวแลวในระเบียบนี้ หรือซ่ึงขัดหรือแยง กบั ระเบียบน้ี ใหใชระเบยี บนี้แทน ขอ ๔ ในระเบยี บน้ี “หนว ยงานผเู บกิ ” หมายความถึง สวนราชการ หนวยงานในกํากับของรัฐ องคการมหาชน รัฐวิสาหกิจ กรุงเทพมหานคร เมืองพัทยา หนวยงานขององคกรท่ีจัดต้ังข้ึนตามบทบัญญัติของ รัฐธรรมนูญ หรือหนว ยงานอน่ื ใดในลกั ษณะเดียวกัน ทั้งนี้ ตองไดรับจัดสรรงบประมาณรายจายและ เบกิ เงินจากกรมบัญชีกลางหรือสํานักงานคลงั จังหวัด แลว แตกรณี “สว นราชการ” หมายความวา กระทรวง ทบวง กรม หรือสว นราชการที่เรียกช่ืออยางอ่ืนท่ีมี ฐานะเทยี บเทา และใหหมายความรวมถงึ สว นราชการประจาํ จงั หวัดดว ย “รัฐวิสาหกิจ” หมายความวา รัฐวสิ าหกิจตามกฎหมายวา ดว ยวิธกี ารงบประมาณ “ผูวาราชการจังหวัด” ใหหมายความรวมถึงนายอําเภอในทองที่ซึ่งมีสํานักงานคลังจังหวัด ณ อําเภอ ตั้งอยดู วย “สาํ นักงานคลงั จังหวัด” ใหหมายความรวมถึงสํานักงานคลังจังหวดั ณ อาํ เภอดว ย “คลงั จงั หวดั ” ใหห มายความรวมถงึ คลังจังหวัด (อาํ เภอ) ดวย “คลัง” หมายความวา บัญชีเงนิ ฝากของกระทรวงการคลงั ที่ธนาคารแหง ประเทศไทย “กองคลัง” ใหหมายความรวมถึง ฝายการเงิน หรือหนวยงานผูเบิกอื่นใด ซึ่งปฏิบัติงาน ในลักษณะเชนเดยี วกันดวย “ผูอํานวยการกองคลัง” ใหหมายความรวมถึง เลขานุการกรม หรือผูดํารงตําแหนงอ่ืนใด ซ่ึงปฏบิ ัตงิ านในลักษณะเชน เดียวกันดวย “เจาหนา ทกี่ ารเงนิ ” หมายความวา หวั หนาฝา ยการเงินหรือผูดํารงตําแหนงอื่น ซ่ึงปฏิบัติงาน ในลกั ษณะเชน เดยี วกนั กบั หัวหนาฝายการเงิน และใหหมายความรวมถึงเจาหนาท่ีรับจายเงินของสวน ราชการในราชการบรหิ ารสว นภูมภิ าคดว ย “สํานักงานการตรวจเงินแผนดิน” ใหหมายความรวมถึง สํานักงานการตรวจเงินแผนดิน ภูมภิ าคดว ย “งบรายจา ย” หมายความวา งบรายจา ยตามระเบยี บวาดว ยการบริหารงบประมาณ “หลกั ฐานการจา ย” หมายความวา หลักฐานที่แสดงวาไดมีการจายเงินใหแกผูรับหรือเจาหนี้ ตามขอผกู พนั โดยถกู ตอ งแลว

เลม ๑๒๕ ตอนพเิ ศษ ๕๐ ง หนา ๓ ๗ มนี าคม ๒๕๕๑ ราชกิจจานุเบกษา “เงินยมื ” หมายความวา เงนิ ท่สี วนราชการจา ยใหแกบุคคลใดบุคคลหนึ่งยืมเพื่อเปนคาใชจาย ในการเดนิ ทางไปราชการหรือการปฏบิ ัติราชการอื่นใด ทั้งนี้ ไมวาจะจายจากงบประมาณรายจายหรือ เงินนอกงบประมาณ “ตูนริ ภัย” หมายความวา กาํ ปนหรอื ตเู หลก็ หรอื หีบเหล็กอันมั่นคงซึ่งใชสําหรับเก็บรักษาเงิน ของทางราชการ “เงินรายไดแผนดิน” หมายความวา เงินทั้งปวงท่ีสวนราชการจัดเก็บหรือไดรับไวเปน กรรมสิทธิ์ตามกฎหมาย ระเบียบ ขอบังคับ หรือจากนิติกรรมหรือนิติเหตุและกฎหมายวาดวย เงินคงคลงั และกฎหมายวา ดวยวิธีการงบประมาณบัญญัติไมใหสวนราชการน้ันนําไปใชจายหรือหักไว เพอื่ การใด ๆ “เงินเบิกเกินสงคนื ” หมายความวา เงนิ งบประมาณรายจายท่ีสวนราชการเบิกจากคลังไปแลว แตไมไ ดจายหรอื จายไมห มด หรอื จา ยไปแลวแตถูกเรียกคืน และไดนําสงคลังกอนส้ินปงบประมาณหรือ กอนส้นิ ระยะเวลาเบกิ เงนิ ท่กี ันไวเบิกเหล่ือมป “เงนิ เหลือจา ยปเกา สง คนื ” หมายความวา เงินงบประมาณรายจายท่ีสวนราชการเบิกจากคลัง ไปแลว แตไมไดจายหรือจายไมหมด หรือจายไปแลวแตถูกเรียกคืน และไดนําสงคลังภายหลัง สน้ิ ปง บประมาณหรอื ภายหลงั ระยะเวลาเบกิ เงินทก่ี นั ไวเบกิ เหล่อื มป “เงินนอกงบประมาณ” หมายความวา เงินทั้งปวงที่อยูในความรับผิดชอบของสวนราชการ นอกจากเงินงบประมาณรายจาย เงินรายไดแผนดนิ เงินเบกิ เกนิ สงคนื และเงนิ เหลือจายปเ กาสง คนื “ระบบ” หมายความวา ระบบการบริหารการเงินการคลังภาครัฐดวยระบบอิเล็กทรอนิกส (Government Fiscal Management Information System : GFMIS) ซึ่งปฏิบัติโดยผานเครื่องคอมพิวเตอร โดยตรง หรือผา นชองทางอนื่ ทก่ี ระทรวงการคลังกําหนดกอ นนาํ ขอมูลเขาเครื่องคอมพิวเตอร “ขอ มูลหลักผูขาย” หมายความวา ขอมูลของหนวยงานผูเบิกหรือเจาหนี้หรือผูมีสิทธิรับเงิน เกี่ยวกับ ชื่อ ที่อยู เลขประจําตัวประชาชน เลขประจําตัวผูเสียภาษี ช่ือและเลขท่ีบัญชีธนาคาร เลขท่ีสัญญา เงื่อนไขการชําระเงิน หรือขอมูลอื่นใดที่จําเปนแลวแตกรณี เพื่อใชสําหรับการรับเงิน ขอเบิกจากคลงั ขอ ๕ ใหปลัดกระทรวงการคลังรักษาการตามระเบียบนี้

เลม ๑๒๕ ตอนพเิ ศษ ๕๐ ง หนา ๔ ๗ มนี าคม ๒๕๕๑ ราชกิจจานเุ บกษา หมวด ๑ ความทว่ั ไป ขอ ๖ บรรดาแบบพิมพ เอกสาร ทะเบียนคุม รายงาน ท่ีใชในการเบิกเงินจากคลัง การรับ - จายเงิน การเก็บรักษาเงิน และการนําเงินสงคลัง ตลอดจนวิธีใชใหเปนไปตามท่ี กรมบญั ชกี ลางกาํ หนด ขอ ๗ ในกรณีท่ีสวนราชการมีปญหาเกี่ยวกับการปฏิบัติตามระเบียบนี้ ใหกระทรวงการคลัง เปนผูวินิจฉัย และในกรณีที่สวนราชการไมสามารถปฏิบัติตามขอกําหนดในระเบียบน้ี ใหปลัดกระทรวง หัวหนา สวนราชการทขี่ นึ้ ตรงตอนายกรัฐมนตรหี รือรัฐมนตรีหรือหัวหนาสวนราชการท่ีไมสังกัดสํานัก นายกรฐั มนตรี กระทรวงหรอื ทบวง แลว แตกรณี ขอทําความตกลงกับกระทรวงการคลงั ขอ ๘ การเบิกเงินจากคลัง การเก็บรักษาเงินและการนําเงินสงคลังของสวนราชการ ในสังกดั กระทรวงกลาโหม ใหถอื ปฏิบัติตามขอ บงั คับกระทรวงกลาโหมวาดวยการเงิน ซึ่งไดรับความ ตกลงจากกระทรวงการคลัง หมวด ๒ การใชง านในระบบ ขอ ๙ ใหหัวหนาหนวยงานผูเบิกหรือผูท่ีหัวหนาหนวยงานผูเบิกมอบหมายเปนผูมีสิทธิ ถือบัตรกําหนดสิทธิการใช (GFMIS smart card) รหัสผูใชงาน (user name) และรหัสผาน (password) เพือ่ ใชงานในระบบของหนวยงานผเู บกิ ที่มเี คร่ืองคอมพิวเตอรท่ีติดตั้งโปรแกรมสําหรับใช ในการปฏิบัติงานในระบบ และเช่ือมตอโดยตรงกับเครือขายของระบบ หรือเปนผูมีสิทธิถือรหัส ผูใชงานและรหัสผานของหนวยงานผูเบิกท่ีไมมีเคร่ืองคอมพิวเตอรดังกลาว ซ่ึงปฏิบัติงานโดยใช ชองทางอื่นท่กี ระทรวงการคลังกาํ หนด ขอ ๑๐ ใหผูมีสิทธิถือบัตรตามขอ ๙ ดําเนินการขอเบิกเงินจากคลัง การอนุมัติจายเงิน ใหเจาหนี้หรือผูมีสิทธิรับเงินโดยการจายตรง การนําเงินสงคลัง การบันทึกและปรับปรุงขอมูล และ การเรียกรายงานในระบบ ขอ ๑๑ ใหหวั หนา หนวยงานผเู บิกจดั ทําคําส่ังหรือมอบหมายเปนลายลักษณอักษร กําหนด บุคคลที่จะไดรับมอบหมาย กําหนดหนาที่ความรับผิดชอบและกําหนดแนวทางการควบคุม

เลม ๑๒๕ ตอนพิเศษ ๕๐ ง หนา ๕ ๗ มนี าคม ๒๕๕๑ ราชกจิ จานเุ บกษา การปฏิบัติงานของหนวยงานผูเบิก เพ่ือเปนหลักปฏิบัติในการเขาใชงานในระบบสําหรับเจาหนาที่ ผูรับผดิ ชอบและผูทไ่ี ดร บั มอบหมายหรือแตงต้ัง ขอ ๑๒ การจัดทํา แกไข อนุมัติการใช และการดําเนินการอ่ืน ๆ เก่ียวกับบัตรกําหนด สิทธิการใช รหสั ผใู ชงาน และรหัสผาน ใหเปน ไปตามท่กี ระทรวงการคลังกําหนด หมวด ๓ การเบกิ เงิน สว นท่ี ๑ สถานท่ีเบกิ เงินและผูเ บกิ เงิน ขอ ๑๓ หนวยงานผูเบิกในสวนกลางใหสงขอมูลคําขอเบิกเงินในระบบไปยัง กรมบัญชกี ลาง สาํ หรับหนว ยงานผเู บกิ สงั กัดสวนกลางท่ีมีสํานักงานอยูในภูมิภาคและหนวยงานผูเบิก ในภูมิภาคใหส งขอ มลู คําขอเบกิ เงนิ ในระบบไปยงั สาํ นกั งานคลังจังหวัด ขอ ๑๔ ใหหัวหนาหนวยงานผูเบิกหรือผูท่ีหัวหนาหนวยงานผูเบิกมอบหมายตามขอ ๙ เปน ผเู บิกเงนิ จากคลัง และอนมุ ตั ิการจา ยเงินใหเ จา หนห้ี รือผมู สี ทิ ธริ ับเงินโดยการจา ยตรง สว นท่ี ๒ หลกั เกณฑก ารเบิกเงนิ ขอ ๑๕ การขอเบิกเงินทุกกรณีใหระบุวัตถุประสงคท่ีจะนําเงินนั้นไปจายและหามมิให ขอเบกิ เงนิ จนกวาจะถึงกาํ หนด หรอื ใกลจ ะถึงกาํ หนดจา ยเงิน เงินที่ขอเบิกจากคลังเพ่ือการใด ใหนําไปจายไดเฉพาะเพื่อการนั้นเทานั้น จะนําไปจายเพ่ือ การอ่ืนไมไ ด ในกรณีที่มีความจําเปน กระทรวงการคลังอาจปรับแผนการเบิกจายเงินของหนวยงานผูเบิก ไดตามความเหมาะสมและสอดคลองกับฐานะการคลังของประเทศ โดยแจงใหหนวยงานที่เกี่ยวของ ทราบลว งหนา

เลม ๑๒๕ ตอนพิเศษ ๕๐ ง หนา ๖ ๗ มนี าคม ๒๕๕๑ ราชกิจจานุเบกษา ขอ ๑๖ หนวยงานผูเบิกจะจายเงินหรือกอหน้ีผูกพันไดแตเฉพาะท่ีกฎหมาย ระเบียบ ขอบังคับ คาํ สัง่ หรอื มติคณะรฐั มนตรีอนญุ าตใหจา ยได หรือตามทไ่ี ดรบั อนญุ าตจากกระทรวงการคลัง การไดร ับเงนิ จากคลังไมปลดเปลื้องความรับผิดชอบของหนวยงานผูเบิกในการท่ีจะตองดูแล ใหม ีการจา ยเงินหรือกอหนีผ้ ูกพันใหเ ปนไปตามวรรคหน่งึ ขอ ๑๗ คา ใชจ า ยทเ่ี กิดขน้ึ ในปง บประมาณใด ใหเ บกิ เงนิ จากงบประมาณรายจายของปน้ัน ไปจา ย ในกรณีมีเหตจุ าํ เปน ไมสามารถเบิกจากเงินงบประมาณรายจายของปน้ันไดทัน ใหเบิกจากเงิน งบประมาณรายจายของปงบประมาณถัดไปได แตคาใชจายน้ันจะตองไมเปนการกอหน้ีผูกพันเกิน งบประมาณรายจา ยทไี่ ดรบั อนุมตั ิ และใหป ฏบิ ตั ิตามวิธีการทีก่ ระทรวงการคลังกําหนด ขอ ๑๘ คาใชจายเงินงบกลาง รายการเงินเบี้ยหวัด บําเหน็จ บํานาญ เงินชวยเหลือ ขาราชการ ลูกจาง และพนักงานของรัฐ เงินสํารอง เงินสมทบ และเงินชดเชยของขาราชการ เงินสมทบของลูกจางประจํา คาใชจายในการรักษาพยาบาลขาราชการ ลูกจางและพนักงานของรัฐ หรือรายการอื่นท่ีกระทรวงการคลังกําหนด ถาคางเบิกใหนํามาเบิกจากเงินงบกลางรายการนั้น ๆ ของปงบประมาณตอ ๆ ไปได ขอ ๑๙ คาใชจายตามประเภทท่ีกระทรวงการคลังกําหนดซึ่งมีลักษณะเปนคาใชจาย ประจํา หรือคาใชจา ยอ่นื ๆ ใหถ ือวา คา ใชจา ยนัน้ เกดิ ข้นึ เม่อื สวนราชการไดรบั แจงใหชําระหน้ี และให นาํ มาเบิกจายจากงบประมาณรายจา ยประจาํ ปที่ไดร บั แจง ใหชาํ ระหนี้ ขอ ๒๐ การเบิกเงินเพ่ือจายชําระหนี้ผูกพันเปนเงินตราตางประเทศใหปฏิบัติเชนเดียวกับ กรณีชําระหน้ีผูกพันเปนเงินบาท โดยใหสวนราชการติดตอขอซ้ือเงินตราตางประเทศจาก ธนาคารพาณิชยโดยตรง ขอ ๒๑ การขอเบิกเงินทุกกรณี สวนราชการมีหนาท่ีตามกฎหมายท่ีจะตองหักภาษีใด ๆ ไว ณ ท่จี า ย ใหบันทกึ ภาษีเปน รายไดแ ผน ดนิ ไวในคาํ ขอเบกิ เงนิ นั้นดวย เวน แตไดม ีการหักภาษีไวแ ลว ขอ ๒๒ สวนราชการเจาของงบประมาณจะมอบหมายใหสวนราชการอื่น เปนผูเบิกเงิน แทนกไ็ ด โดยใหถือปฏิบตั ิตามที่กรมบัญชีกลางกําหนด สว นที่ ๓ วิธีการเบิกเงนิ ขอ ๒๓ การเบกิ เงนิ จากคลงั ใหหนว ยงานผเู บิกปฏิบตั ิดังนี้

เลม ๑๒๕ ตอนพเิ ศษ ๕๐ ง หนา ๗ ๗ มนี าคม ๒๕๕๑ ราชกิจจานเุ บกษา (๑) เปดบัญชีเงินฝากไวกับธนาคารที่เปนรัฐวิสาหกิจ สําหรับเงินงบประมาณหนึ่งบัญชี และเงนิ นอกงบประมาณหนง่ึ บัญชี (๒) นําขอมูลของหนวยงานผูเบิกตาม (๑) หรือของเจาหน้ีหรือผูมีสิทธิรับเงินสรางเปน ขอ มลู หลักผูขายในระบบ (๓) ตรวจสอบความถูกตองครบถวนของคําขอเบิกเงินกอนสงคําขอเบิกเงินไปยัง กรมบัญชกี ลางหรอื สํานักงานคลงั จงั หวัด แลว แตกรณี (๔) ตรวจสอบการจายเงินของกรมบญั ชกี ลางใหก ับหนว ยงานผูเบิกหรอื จายเงินตรงแกเจาหน้ี หรือผมู สี ิทธิรบั เงนิ ตามคําขอเบิกเงนิ จากรายงานในระบบ ขอ ๒๔ การขอเบิกเงินของสวนราชการสําหรับการซ้ือทรัพยสิน จางทําของ หรือเชา ทรพั ยส นิ ตามระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวา ดวยการพสั ดใุ หป ฏบิ ตั ิ ดังน้ี (๑) ในกรณีที่มีใบส่ังซอื้ ใบสงั่ จา ง สัญญาหรือขอตกลง ซ่ึงมีวงเงินตั้งแตหาพันบาทขึ้นไป หรือตามทีก่ ระทรวงการคลังกําหนด ใหสวนราชการจัดทําหรือลงใบสั่งซื้อ หรือใบสั่งจางเพื่อทําการ จองงบประมาณในระบบ โดยกรมบัญชีกลางจายเงินเขาบัญชีใหกับเจาหน้ีหรือผูมีสิทธิรับเงินของ สว นราชการโดยตรง (๒) นอกจากกรณีตาม (๑) สวนราชการไมตองจัดทําหรือลงใบสั่งซ้ือหรือใบสั่งจาง ในระบบ โดยกรมบัญชีกลางจะจายเงินเขาบัญชีเงินฝากธนาคารของสวนราชการเพื่อใหสวนราชการ จายเงินใหเจาหนี้หรือผูมีสิทธิรับเงินตอไป หรือหากสวนราชการตองการใหจายเงินเขาบัญชีใหกับ เจาหน้ีหรือผมู ีสทิ ธิรบั เงนิ ของสวนราชการโดยตรงก็ได การซื้อทรพั ยสนิ จางทาํ ของ หรอื เชาทรัพยสิน ใหส วนราชการดําเนินการขอเบิกเงินจากคลัง โดยเร็ว อยางชาไมเกินหาวันทําการนับจากวันท่ีไดตรวจรับทรัพยสินหรือตรวจรับงานถูกตองแลว หรือนับจากวันทไ่ี ดร บั แจงจากหนวยงานยอ ย ขอ ๒๕ การขอเบิกเงินของสวนราชการสําหรบั คา ไฟฟา คา ประปา คาโทรศัพท คาบริการ ไปรษณียโทรเลข คาบริการสื่อสารและโทรคมนาคม ใหกรมบัญชีกลางจายเงินเขาบัญชีเงินฝาก ธนาคารใหก บั เจาหนีห้ รอื ผูมีสทิ ธริ บั เงนิ โดยตรง ขอ ๒๖ การขอเบกิ เงนิ ของสวนราชการสําหรับเงนิ สวัสดกิ าร คา ตอบแทน หรอื กรณีอืน่ ใด ที่กระทรวงการคลงั กาํ หนด ใหก รมบญั ชกี ลางจายเงินเขาบัญชีเงินฝากธนาคารของสวนราชการเพ่ือให สว นราชการจา ยเงินใหผมู ีสิทธิรับเงินตอไป

เลม ๑๒๕ ตอนพิเศษ ๕๐ ง หนา ๘ ๗ มนี าคม ๒๕๕๑ ราชกจิ จานเุ บกษา ขอ ๒๗ เงินประเภทใดซึ่งโดยลักษณะจะตองจายประจําเดือนในวันทําการสิ้นเดือน ใหสว นราชการสงคําขอเบกิ เงินภายในวันท่สี บิ หา ของเดือนน้ันหรือตามทกี่ ระทรวงการคลงั กาํ หนด สวนที่ ๔ การเบิกเงินของสวนราชการท่มี สี ํานักงานในตางประเทศ ขอ ๒๘ สวนราชการท่ีมีสํานักงานในตางประเทศอาจสงคําขอเบิกเงินเพื่อซ้ือเงินตรา ตางประเทศสําหรับจัดสงใหสํานักงานในตางประเทศใชจายไดทั้งจํานวน แตในกรณีที่เห็นสมควร กระทรวงการคลังอาจกาํ หนดใหเ บิกเปน งวด ๆ ตามความจาํ เปนกไ็ ด กรณสี าํ นักงานในตางประเทศยังไมไดรับเงินงบประมาณรายจายประจําปตามท่ีไดรับจัดสรร ใหปฏิบัติตามระเบียบกระทรวงการคลังวาดวยเงินทดรองราชการเพ่ือสํารองจายเปนคาใชจายของ สว นราชการในตางประเทศ ขอ ๒๙ เงินทจ่ี ัดสง ใหสาํ นักงานในตางประเทศตามขอ ๒๘ เมื่อสิ้นปงบประมาณหากมี เงินเหลือ ใหนาํ สง คนื สวนราชการเจาของงบประมาณภายในสามสิบวนั นับแตวันส้ินป ในกรณีที่สาํ นกั งานในตางประเทศมีหนผี้ กู พนั เนอื่ งจากไดซื้อทรัพยสินหรือจางทําของไวแลว หรือไมมีการกอหน้ีผูกพันแตมีความจําเปนจะตองเก็บเงินไวจายภายหลังส้ินป และเม่ือไดรับอนุมัติ จากรัฐมนตรีวาการกระทรวงการคลังแลว ใหเก็บเงินไวเพื่อจายสําหรับการน้ันตอไปไดภายใน ระยะเวลาท่ีไดรับอนุมัติ หากมีเงินคงเหลือใหนําเงินสงคืนสวนราชการเจาของงบประมาณภายใน สามสิบวันนับแตครบกําหนดระยะเวลาท่ีไดรับอนุมัติไว โดยใหสวนราชการเจาของงบประมาณ ดาํ เนนิ การเบิกหกั ผลกั สง ขอ ๓๐ เงินทีไ่ ดร บั คืนจากสาํ นักงานในตางประเทศตามขอ ๒๙ ใหสวนราชการเจาของ งบประมาณดาํ เนินการแลกเปลย่ี นเงินตราตา งประเทศกับธนาคารพาณชิ ยใ หเปนเงนิ บาท แลว นาํ สงคลัง เปน รายไดแผนดนิ ประเภทเงนิ เหลอื จายปเกา สงคนื โดยดว น

เลม ๑๒๕ ตอนพิเศษ ๕๐ ง หนา ๙ ๗ มนี าคม ๒๕๕๑ ราชกิจจานุเบกษา หมวด ๔ การจายเงินของสวนราชการ สวนท่ี ๑ หลกั เกณฑก ารจา ยเงิน ขอ ๓๑ การจายเงินใหกระทําเฉพาะท่ีมีกฎหมาย ระเบียบ ขอบังคับ คําส่ัง กําหนดไว หรอื มตคิ ณะรัฐมนตรีอนญุ าตใหจ ายได หรอื ตามท่ีไดรับอนุญาตจากกระทรวงการคลัง และผูมีอํานาจ ไดอนุมัติใหจายได ขอ ๓๒ การอนมุ ตั ิการจา ยเงนิ ใหเ ปน อาํ นาจของบุคคล ดงั ตอ ไปน้ี (๑) สว นราชการในราชการบรหิ ารสวนกลาง ใหเ ปนอาํ นาจของหัวหนาสวนราชการระดับกรม หรอื ผทู หี่ ัวหนา สวนราชการระดบั กรมมอบหมาย ซ่งึ ดํารงตาํ แหนงตง้ั แตร ะดับ ๗ หรือเทียบเทาขึ้นไป หรอื ผทู ม่ี ยี ศตงั้ แตพ นั โท นาวาโท นาวาอากาศโท หรือพันตาํ รวจโทขน้ึ ไป สว นราชการในราชการบรหิ ารสวนกลางท่ีมสี าํ นักงานอยูในสวนภูมิภาคหรือแยกตางหากจาก กระทรวง ทบวง กรม หัวหนาสวนราชการระดับกรมจะมอบหมายใหหัวหนาสํานักงานเปนผูอนุมัติ สาํ หรับหนว ยงานนั้นก็ได (๒) สวนราชการในราชการบริหารสวนภูมิภาค ใหเปนอํานาจของหัวหนาสวนราชการ ในภูมภิ าค ขอ ๓๓ ใหผ ูมีอาํ นาจอนุมัติ สั่งอนมุ ัติการจายเงินพรอมกับลงลายมือช่ือในหลักฐานการจาย หรอื หลกั ฐานการขอรบั ชาํ ระหนีท้ กุ ฉบบั หรอื จะลงลายมอื ชอื่ อนมุ ตั ิในหนา งบหลักฐานการจายกไ็ ด ขอ ๓๔ การจายเงนิ ตองมหี ลักฐานการจายไวเ พอ่ื ประโยชนในการตรวจสอบ ขอ ๓๕ การจาย โดยที่ยังมิไดมีการจายเงินใหแกเจาหนี้หรือผูมีสิทธิรับเงิน หามมิใหผูมี หนาที่จายเงนิ เรยี กหลักฐานการจา ยหรอื ใหผ ูร บั เงินลงลายมอื ช่ือรับเงนิ ในหลกั ฐาน ขอ ๓๖ ขาราชการ ลูกจาง หรือผูรับบํานาญหรือเบี้ยหวัดท่ีไมสามารถมารับเงินไดดวย ตนเอง จะมอบฉนั ทะใหผ ูอ่ืนเปน ผรู บั เงินแทนกไ็ ด โดยใชใบมอบฉันทะตามแบบท่ีกระทรวงการคลัง กาํ หนด

เลม ๑๒๕ ตอนพิเศษ ๕๐ ง หนา ๑๐ ๗ มนี าคม ๒๕๕๑ ราชกิจจานุเบกษา การจายเงินใหแกบุคคลนอกจากท่ีกําหนดในวรรคหนึ่ง หากบุคคลน้ันไมสามารถมารับเงิน ไดด วยตนเอง จะทาํ หนังสือมอบอาํ นาจใหบคุ คลอ่นื มารบั เงนิ แทนก็ได การจายเงนิ ในกรณีที่มีการโอนสิทธิเรียกรอง ใหเ ปน ไปตามท่ีกระทรวงการคลงั กาํ หนด ขอ ๓๗ ใหเจาหนาที่ผูจายเงินประทับตราขอความวา “จายเงินแลว” โดยลงลายมือชื่อ รบั รองการจายและระบุชื่อผจู า ยเงนิ ดวยตวั บรรจง พรอ มท้ังวนั เดอื น ป ทีจ่ า ยกาํ กบั ไวใ นหลักฐานการ จายเงนิ ทกุ ฉบับเพอ่ื ประโยชนในการตรวจสอบ ในกรณีท่ีหลักฐานการจายเปนภาษาตางประเทศ ใหมีคําแปลเปนภาษาไทยตามรายการในขอ ๔๑ ไวด ว ย และใหผูใ ชส ิทธิขอเบิกเงินลงลายมอื ชอื่ รับรองคําแปลดวย ขอ ๓๘ การจายเงินทกุ รายการตอ งมีการบนั ทึกการจา ยเงินไวใ นระบบ และตองตรวจสอบ การจา ยเงนิ กับหลกั ฐานการจา ยทุกส้ินวัน สวนท่ี ๒ หลักฐานการจา ย ขอ ๓๙ การจา ยเงนิ ของสว นราชการ ใหใ ชใ บเสร็จรับเงนิ หรือใบสาํ คญั รับเงนิ ซง่ึ ผูรับเงิน เปนผูออกให หรือใบรับรองการจายเงิน หรือเอกสารอื่นใดท่ีกระทรวงการคลังกําหนดเปนหลักฐาน การจา ย ขอ ๔๐ การจายเงินโดยกรมบัญชีกลาง เพ่ือเขาบัญชีใหกับเจาหนี้หรือผูมีสิทธิรับเงิน โดยตรง ใหใชร ายงานในระบบตามท่ีกระทรวงการคลงั กําหนด เปนหลักฐานการจา ย ขอ ๔๑ ใบเสรจ็ รบั เงินอยา งนอ ยตอ งมีรายการดังตอ ไปนี้ (๑) ชื่อ สถานท่ีอยู หรือที่ทาํ การของผูร บั เงิน (๒) วนั เดอื น ป ทีร่ บั เงิน (๓) รายการแสดงการรับเงนิ ระบุวาเปนคา อะไร (๔) จํานวนเงนิ ทง้ั ตวั เลขและตวั อกั ษร (๕) ลายมือช่อื ของผรู บั เงิน ขอ ๔๒ กรณีสวนราชการจายเงินรายใด ซึ่งตามลักษณะไมอาจเรียกใบเสร็จรับเงินจาก ผูรบั เงินได ใหผูรับเงินลงช่ือรบั เงินในใบสําคญั รับเงินเพ่ือใชเปน หลักฐานการจาย

เลม ๑๒๕ ตอนพิเศษ ๕๐ ง หนา ๑๑ ๗ มนี าคม ๒๕๕๑ ราชกจิ จานุเบกษา ขอ ๔๓ กรณีขาราชการหรือลูกจางของสวนราชการจายเงินไป โดยไดรับใบเสร็จรับเงิน ซึ่งมีรายการไมครบถวนตามขอ ๔๑ หรือซ่ึงตามลักษณะไมอาจเรียกใบเสร็จรับเงินจากผูรับเงินได ใหขาราชการหรือลูกจางนั้นทําใบรับรองการจายเงินเพื่อนํามาเปนเอกสารประกอบการขอเบิกเงิน ตอสวนราชการ และเม่อื มกี ารจา ยเงินแลว ใหขาราชการหรือลูกจางนั้น ทําใบสําคัญรับเงินและลงช่ือ ในใบสําคญั รับเงินนน้ั เพือ่ เปน หลกั ฐานการจา ย ในกรณีที่ไดรับใบเสร็จรับเงินแลว แตเกิดสูญหาย ใหใชสําเนาใบเสร็จรับเงิน ซึ่งผูรับเงิน รับรองเปนเอกสารประกอบการขอเบิกเงนิ แทนได ในกรณีที่ไมอาจขอสําเนาใบเสร็จรับเงินตามวรรคสองได ใหขาราชการหรือลูกจางนั้น ทาํ ใบรับรองการจา ยเงนิ โดยช้แี จงเหตุผล พฤติการณที่สูญหายหรือไมอาจขอสําเนาใบเสร็จรับเงินได และรบั รองวา ยังไมเคยนําใบเสร็จรบั เงินนัน้ มาเบกิ จาย แมพ บภายหลังจะไมน ํามาเบิกจายอีก แลวเสนอ ผูบังคับบัญชาต้ังแตช้ันอธิบดีหรือตําแหนงเทียบเทาขึ้นไปสําหรับสวนราชการในราชการบริหาร สวนกลาง หรือผูวาราชการจังหวัดสําหรับสวนราชการในราชการบริหารสวนภูมิภาค แลวแตกรณี เพ่ือพิจารณาอนุมัติ เมื่อไดรับอนุมัติแลวใหใชใบรับรองนั้นเปนหลักฐานประกอบการขอเบิกเงินได และเมือ่ มกี ารจายเงินแลว ใหขาราชการหรอื ลกู จา งนน้ั ทําใบสําคัญรบั เงินและลงช่ือในใบสาํ คญั รับเงินนนั้ เพ่ือเปนหลกั ฐานการจาย ขอ ๔๔ กรณีหลักฐานการจายของสวนราชการสูญหาย ใหถือปฏิบัติตามวิธีการ ที่กระทรวงการคลงั กําหนด ขอ ๔๕ หลกั ฐานการจา ยตองพมิ พห รอื เขยี นดวยหมึก การแกไ ขหลกั ฐานการจา ย ใหใชวิธี ขีดฆา แลวพิมพห รือเขยี นใหม และใหผ ูรบั เงนิ ลงลายมือชอ่ื กาํ กบั ไวท กุ แหง ขอ ๔๖ ใหสวนราชการเก็บรักษาหลักฐานการจายไวในที่ปลอดภัย มิใหสูญหายหรือ เสยี หายได ทัง้ นี้ เมื่อสํานักงานการตรวจเงนิ แผน ดินไดต รวจสอบแลว ใหเ ก็บอยา งเอกสารธรรมดาได สว นที่ ๓ วิธีปฏิบัตใิ นการจา ยเงนิ ขอ ๔๗ การจายเงนิ ใหจายเปนเช็ค ยกเวนกรณีที่จายจากเงินทดรองราชการ ซ่ึงเก็บรักษา ไวเปนเงินสด หรือการจายเงินใหแกขาราชการ ลูกจาง พนักงานราชการ ผูรับบํานาญหรือเบี้ยหวัด หรือการจายเงินที่มีวงเงินตํา่ กวา หาพันบาท จะจายเปน เงนิ สดกไ็ ด

เลม ๑๒๕ ตอนพิเศษ ๕๐ ง หนา ๑๒ ๗ มนี าคม ๒๕๕๑ ราชกจิ จานุเบกษา การจา ยเงินผา นธนาคารหรือดวยวิธีอืน่ ใด ใหเ ปนไปตามท่กี ระทรวงการคลังกาํ หนด ขอ ๔๘ การเขยี นเช็คสั่งจายเงนิ ใหปฏิบตั ิดงั นี้ (๑) การจา ยเงินใหแกเจาหนี้หรือผูมีสิทธิรับเงิน ในกรณีซ้ือทรัพยสิน จางทําของ หรือเชา ทรัพยสนิ ใหออกเช็คสั่งจายในนามของเจาหน้ีหรือผูมีสิทธิรับเงิน โดยขีดฆาคําวา “หรือผูถือ” ออก และขีดครอ มดวย (๒) การจายเงินใหแกเจาหนี้หรือผูมีสิทธิรับเงิน นอกจากกรณีตาม (๑) ใหออกเช็คสั่งจาย ในนามของเจา หนีห้ รือผมู สี ทิ ธิรับเงิน โดยขดี ฆาคําวา “หรือผูถอื ” และจะขดี ครอมหรอื ไมก ็ได (๓) ในกรณีส่ังจายเงินเพ่ือขอรับเงินสดมาจาย ใหออกเช็คสั่งจายในนามเจาหนาที่การเงิน ของสวนราชการ และขีดฆาคาํ วา “หรอื ผูถือ” ออก หา มออกเช็คสง่ั จายเงนิ สด หา มลงลายมอื ชอ่ื สงั่ จา ยในเช็คไวลวงหนา โดยยังมิไดมีการเขียนหรือพิมพช่ือผูรับเงิน วันท่ี ท่อี อกเชค็ และจาํ นวนเงินที่สั่งจา ย ขอ ๔๙ การเขียนหรือพิมพจํานวนเงินในเช็คที่เปนตัวเลขและตัวอักษรใหเขียนหรือพิมพ ใหชิดเสน และชิดคําวา “บาท” หรือขีดเสนหนาจํานวนเงินทั้งตัวเลขและตัวอักษร โดยไมมีชองวาง ทีจ่ ะเขยี นหรอื พมิ พจํานวนเงินเพมิ่ เติมได และใหขีดเสนตรงหลังชื่อสกุล ชื่อบริษัท หรือหางหุนสวน จนชดิ คาํ วา “หรือผูถือ” โดยมใิ หมกี ารเขยี นหรอื พมิ พช ่อื บคุ คลอื่นเพิม่ เตมิ ได หมวด ๕ การเบกิ จา ยเงนิ ยืม ขอ ๕๐ สัญญาการยืมเงิน สัญญาวางหลักทรัพย และสัญญาคํ้าประกัน ใหเปนไปตาม แบบท่ีกระทรวงการคลงั กําหนด ขอ ๕๑ ใหผ มู ีอํานาจอนมุ ตั กิ ารจา ยเงินตามขอ ๓๒ เปนผูม อี าํ นาจอนมุ ตั กิ ารจา ยเงนิ ยืมดว ย ขอ ๕๒ การจายเงนิ ยืมจะจายไดแตเฉพาะท่ีผูยืมไดทําสัญญาการยืมเงิน และผูมีอํานาจได อนมุ ตั ิใหจา ยเงินยมื ตามสัญญาการยืมเงินน้นั แลวเทาน้ัน ขอ ๕๓ การยืมเงินของผูยืมที่ไมมีเงินใด ๆ ท่ีสวนราชการผูใหยืมจะหักสงใชคืนเงินยืมได ใหส วนราชการผใู หย ืมกาํ หนดใหผ ูย ืมนาํ หลกั ทรัพยม าวางเปน ประกันพรอมท้ังทําสัญญาวางหลักทรัพย หรอื หาบคุ คลทีก่ ระทรวงการคลังกําหนดมาทําสัญญาคาํ้ ประกนั ไวตอ สวนราชการผใู หยืม

เลม ๑๒๕ ตอนพเิ ศษ ๕๐ ง หนา ๑๓ ๗ มนี าคม ๒๕๕๑ ราชกจิ จานุเบกษา ขอ ๕๔ การอนุมัติใหยืมเงินเพื่อใชในราชการ ใหผูมีอํานาจพิจารณาอนุมัติใหยืมเฉพาะ เทา ท่จี ําเปน และหา มมใิ หอนมุ ัติใหย ืมเงินรายใหมใ นเม่อื ผยู มื มิไดชาํ ระคนื เงนิ ยืมรายเกา ใหเสร็จสิน้ ไปกอน ขอ ๕๕ การจายเงินยืมจากเงนิ นอกงบประมาณ ใหสวนราชการกระทําไดเ ฉพาะเพื่อใชจาย ในการดําเนินงานตามวัตถุประสงคของเงินนอกงบประมาณประเภทนั้น หรือกรณีอ่ืน ซึ่งจําเปน เรงดว นแกราชการ และไดร ับอนุมตั จิ ากหัวหนาสว นราชการผใู หย ืมน้ัน ขอ ๕๖ สัญญาการยืมเงินใหจัดทําข้ึนสองฉบับ โดยเม่ือผูยืมไดรับเงินตามสัญญาการยืม แลว ใหล งลายมอื ชื่อรบั เงนิ ในสญั ญาการยืมเงินทัง้ สองฉบบั พรอ มกบั มอบใหสวนราชการผูใหยืมเก็บ รักษาไวเ ปน หลักฐานหนึง่ ฉบบั ใหผูย มื เกบ็ ไวห นึ่งฉบับ ขอ ๕๗ กรณีที่ตองจายเงินยืมสําหรับการปฏิบัติราชการที่ติดตอคาบเก่ียวจากปงบประมาณ ปจจุบันไปถึงปงบประมาณถัดไป ใหเบิกเงินยืมงบประมาณในปปจจุบัน โดยใหถือวาเปนรายจาย ของงบประมาณปป จ จบุ นั และใหใชจายเงินยืมคาบเกยี่ วปง บประมาณถดั ไป ดังตอ ไปนี้ (๑) เงนิ ยืมสาํ หรับคา ใชจ า ยในการเดนิ ทางไปราชการ ใหใชจ ายไดไมเกนิ เกา สิบวันนับแตวัน เรมิ่ ตน ปงบประมาณใหม (๒) เงินยืมสําหรับปฏิบัติราชการอ่ืน ๆ ใหใชจายไดไมเกินสามสิบวันนับแตวันเร่ิมตน ปงบประมาณใหม ขอ ๕๘ การเบิกเงินเพื่อจายเปนเงินยืมใหแกบุคคลใดในสังกัดยืมเพื่อปฏิบัติราชการ ใหกระทําไดเ ฉพาะงบรายจา ยหรือรายการดังตอไปน้ี (๑) รายการคาจางช่ัวคราว สําหรับคาจางซ่ึงไมมีกําหนดจายเปนงวดแนนอนเปนประจํา แตจ าํ เปนตองจา ยใหลูกจางแตละวนั หรอื แตละคราวเม่ือเสร็จงานทจ่ี าง (๒) รายการคา ตอบแทนใชสอยและวสั ดุ (๓) รายการคาสาธารณปู โภค เฉพาะคาบริการไปรษณียโทรเลข (๔) งบกลาง เฉพาะท่ีจายเปนเงินสวัสดิการเกี่ยวกับการศึกษาของบุตร หรือเงินสวัสดิการ เก่ียวกับเงินเพิ่มคาครองชีพชั่วคราวสําหรับลูกจางชั่วคราวซ่ึงไมมีกําหนดจายคาจางเปนงวดแนนอน เปนประจํา แตจําเปน ตอ งจา ยแตล ะวนั หรอื แตละคราวเมอ่ื เสรจ็ งานทีจ่ า ง (๕) งบรายจายอนื่ ๆ ทีจ่ า ยในลักษณะเดยี วกันกับ (๑) (๒) หรอื (๓)

เลม ๑๒๕ ตอนพิเศษ ๕๐ ง หนา ๑๔ ๗ มนี าคม ๒๕๕๑ ราชกิจจานุเบกษา ขอ ๕๙ การจา ยเงินยืมเพื่อเปนคาใชจายในการเดินทางไปราชการในราชอาณาจักรใหจาย ไดส าํ หรบั ระยะเวลาการเดินทางท่ีไมเกินเกาสิบวัน หากมีความจําเปนจะตองจายเกินกวากําหนดเวลา ดังกลาว สว นราชการจะตองขอทําความตกลงกบั กระทรวงการคลงั กอน ขอ ๖๐ ใหผูยืมสงหลักฐานการจายและเงินเหลือจายที่ยืมไป (ถามี) ภายในกําหนด ระยะเวลา ดงั นี้ (๑) กรณีเดนิ ทางไปประจําตางสํานกั งาน หรือการเดินทางไปราชการประจําในตางประเทศ หรือกรณีเดินทางกลับภูมิลําเนาเดิม ใหสงแกสวนราชการผูใหยืมโดยทางไปรษณียลงทะเบียน หรือ ธนาณัติ แลว แตกรณี ภายในสามสิบวนั นบั จากวันไดรับเงิน (๒) กรณีเดนิ ทางไปราชการอื่น รวมท้ังการเดนิ ทางไปราชการตา งประเทศช่ัวคราว ใหสงแก สวนราชการผใู หยืมภายในสบิ หา วันนบั จากวนั กลบั มาถึง (๓) การยืมเงินเพ่ือปฏิบัติราชการนอกจาก (๑) หรือ (๒) ใหสงแกสวนราชการผูใหยืม ภายในสามสิบวันนบั จากวนั ไดรบั เงนิ ในกรณีท่ีผูยืมไดสงหลักฐานการจาย เพื่อสงใชคืนเงินยืมแลวมีเหตุตองทักทวง ใหสวน ราชการผูใ หย ืมแจง ขอทกั ทว งใหผยู มื ทราบโดยดวน แลวใหผูยืมปฏิบัติตามคําทักทวงภายในสิบหาวัน นับจากวันท่ีไดรับคําทักทวง หากผูยืมมิไดดําเนินการตามคําทักทวงและไมไดชี้แจงเหตุผลให สว นราชการผูใ หยมื ทราบ ใหส ว นราชการผใู หย ืมดาํ เนินการตามเงื่อนไขในสัญญาการยืมเงิน โดยถือวาผูยืม ยงั มไิ ดสงใชคืนเงินยมื เทา จาํ นวนที่ทักทวงนน้ั ขอ ๖๑ เม่ือผูยืมสงหลักฐานการจายและ/หรือเงินเหลือจายที่ยืม (ถามี) ใหเจาหนาที่ผูรับ คืนบนั ทึกการรบั คนื ในสัญญาการยืมเงนิ พรอ มทง้ั ออกใบเสรจ็ รบั เงินและหรือ ใบรับใบสําคัญตามแบบ ทกี่ รมบัญชีกลางกําหนดใหผูยมื ไวเปน หลกั ฐาน ขอ ๖๒ ใหสว นราชการเก็บรกั ษาสญั ญาการยืมเงินซึ่งยงั มไิ ดชาํ ระคืนเงินยมื ใหเสร็จส้ินไว ในท่ีปลอดภัยอยาใหสูญหายและเมื่อผูยืมไดชําระคืนเงินยืมเสร็จส้ินแลวใหเก็บรักษาเชนเดียวกับ หลักฐานการจาย ขอ ๖๓ ในกรณีท่ีผูยืมมิไดชําระคืนเงินยืมภายในระยะเวลาที่กําหนด ใหผูอํานวยการ กองคลังเรียกใหชดใชเงินยืมตามเงื่อนไขในสัญญาการยืมเงินใหเสร็จส้ินไปโดยเร็ว อยางชาไมเกิน สามสบิ วันนับแตว นั ครบกาํ หนด

เลม ๑๒๕ ตอนพเิ ศษ ๕๐ ง หนา ๑๕ ๗ มนี าคม ๒๕๕๑ ราชกจิ จานุเบกษา ในกรณีที่ไมอาจปฏิบัติตามวรรคหน่ึงได ใหผูอํานวยการกองคลังรายงานใหหัวหนาสวนราชการ หรือผวู า ราชการจังหวัด แลวแตกรณีทราบ เพ่ือพิจารณาส่ังการบังคับใหเปนไปตามสัญญาการยืมเงิน ตอไป หมวด ๖ การรับเงนิ ของสวนราชการ สวนท่ี ๑ ใบเสรจ็ รับเงนิ ขอ ๖๔ ใบเสร็จรับเงนิ ใหใชตามแบบท่ีกรมบัญชีกลางกําหนด และใหมีสําเนาเย็บติดไว กบั เลมอยา งนอยหนึ่งฉบับหรอื ตามแบบท่ีไดรบั ความเหน็ ชอบจากกระทรวงการคลัง ใบเสรจ็ รับเงนิ ทอี่ อกดวยคอมพิวเตอรใหเ ปน ไปตามท่ีกระทรวงการคลังกาํ หนด ขอ ๖๕ ใบเสร็จรับเงิน ใหพิมพหมายเลขกํากับเลม และหมายเลขกํากับใบเสร็จรับเงิน เรยี งกันไปทุกฉบับ ขอ ๖๖ ใหส ว นราชการจัดทําทะเบยี นคมุ ใบเสรจ็ รับเงินไวเพื่อใหทราบ และตรวจสอบไดวา ไดจัดพิมพขึ้นจํานวนเทาใด ไดจายใบเสร็จรับเงินเทาใด เลขที่ใดถึงเลขท่ีใด ใหหนวยงานใด หรือ เจาหนา ที่ผใู ดไปดําเนนิ การจัดเก็บเงนิ เมือ่ วัน เดือน ปใ ด ขอ ๖๗ การจายใบเสร็จรับเงินใหหนวยงานหรือเจาหนาท่ีไปจัดเก็บเงินใหพิจารณาจาย ในจาํ นวนที่เหมาะสมแกล กั ษณะงานท่ปี ฏิบตั ิ และใหม ีหลักฐานการรับสงใบเสรจ็ รบั เงินน้นั ไวดว ย ขอ ๖๘ ใบเสร็จรบั เงนิ เลม ใด เม่ือไมมีความจาํ เปน ตอ งใช เชน ยุบเลิกสํานักงานหรือไมมี การจัดเก็บเงินตอไปอีก ใหหัวหนาหนวยงานท่ีรับใบเสร็จรับเงินนั้นนําสงคืนสวนราชการที่จาย ใบเสรจ็ รบั เงินน้นั โดยดว น ขอ ๖๙ เมื่อสิ้นปงบประมาณ ใหหัวหนาหนวยงานซ่ึงรับใบเสร็จรับเงินไปดําเนินการ จัดเก็บเงิน รายงานใหผูอํานวยการกองคลังหรือหัวหนาสวนราชการในราชการบริหารสวนภูมิภาค ทราบวามีใบเสร็จรับเงินอยูในความรับผิดชอบเลมใด เลขท่ีใดถึงเลขที่ใด และไดใชใบเสร็จรับเงิน ไปแลวเลมใด เลขที่ใดถงึ เลขท่ีใด อยา งชาไมเกินวันที่ ๓๑ ตลุ าคมของปง บประมาณถัดไป ขอ ๗๐ ใบเสร็จรับเงินเลมใดสําหรับรับเงินของปงบประมาณใด ใหใชรับเงินภายใน ปง บประมาณน้นั เมอื่ ขึน้ ปง บประมาณใหม ใหใชใ บเสรจ็ รับเงินเลมใหม ใบเสร็จรับเงินฉบับใดยังไมใช

เลม ๑๒๕ ตอนพิเศษ ๕๐ ง หนา ๑๖ ๗ มนี าคม ๒๕๕๑ ราชกิจจานเุ บกษา ใหค งตดิ ไวก ับเลมแตใ หป รุ เจาะรู หรือประทับตราเลิกใช เพื่อใหเปนท่ีสังเกตมิใหนํามาใชรับเงินได อกี ตอไป ขอ ๗๑ หา มขูดลบเพือ่ แกไ ขเพมิ่ เติมจาํ นวนเงินหรือช่ือผชู ําระเงินในใบเสร็จรบั เงิน หากใบเสร็จรบั เงินฉบับใดลงรายการรับเงินผิดพลาด ใหขีดฆาจํานวนเงินและเขียนใหมทั้งจํานวน โดยใหผูรับเงินลงลายมือช่ือกํากับการขีดฆาน้ันไว หรือขีดฆาเลิกใชใบเสร็จรับเงินน้ันท้ังฉบับแลว ออกฉบับใหม โดยใหน ําใบเสร็จรับเงนิ ที่ขีดฆาเลิกใชนัน้ ตดิ ไวก ับสาํ เนาใบเสร็จรบั เงนิ ในเลม ขอ ๗๒ ใหสวนราชการเก็บรักษาสําเนาใบเสร็จรับเงินซ่ึงสํานักงานการตรวจเงินแผนดิน ยังมิไดต รวจสอบไวใ นท่ีปลอดภยั อยาใหสูญหายหรือเสียหายได และเม่ือไดตรวจสอบแลวใหเก็บไว อยา งเอกสารธรรมดาได สว นท่ี ๒ การรับเงิน ขอ ๗๓ การรับเงนิ ใหร ับเปนเงนิ สด เวนแตก ารรับเปนเช็ค ดราฟท หรือตราสารอยางอ่ืน หรือโดยวิธอี ่นื ใด ใหป ฏบิ ัตติ ามทก่ี ระทรวงการคลังกําหนด ขอ ๗๔ ในการจัดเก็บหรือรบั ชําระเงิน ใหส ว นราชการซ่ึงมีหนาท่ีจัดเก็บ หรือรับชําระเงินน้ัน ออกใบเสร็จรับเงินใหแกผูชําระเงินทุกครั้ง เวนแตเปนการรับชําระเงินคาธรรมเนียมที่มีเอกสารของ ทางราชการระบุจํานวนเงินที่รับชําระอันมีลักษณะเชนเดียวกับใบเสร็จรับเงิน โดยเอกสารดังกลาว จะตองมีการควบคุมจํานวนท่ีรับจายทํานองเดียวกันกับใบเสร็จรับเงิน หรือเปนการรับเงินตามคําขอ เบิกเงนิ จากคลงั ในกรณีท่ีมีความจําเปนตองใหเจาหนาที่ไปจัดเก็บหรือรับชําระเงินนอกท่ีตั้งสํานักงานปกติ ใหป ฏบิ ตั เิ ชนเดียวกบั วรรคหนึ่ง ขอ ๗๕ ใหใ ชใบเสร็จรับเงินเลมเดียวกันรับเงินทุกประเภท เวนแตเงินประเภทใดท่ีมีการ รับชาํ ระเปน ประจําและมจี ํานวนมากราย จะแยกใบเสร็จรับเงนิ เลม หน่งึ สําหรับการรับชําระเงินประเภท น้นั กไ็ ด ขอ ๗๖ ใหส วนราชการบนั ทึกขอ มูลการรับเงนิ ในระบบภายในวนั ทไ่ี ดร บั เงนิ เงินประเภทใดท่ีมีการออกใบเสร็จรับเงินในวันหน่ึง ๆ หลายฉบับ จะรวมเงินประเภทน้ัน ตามสาํ เนาใบเสร็จรับเงนิ ทุกฉบับมาบนั ทึกเปนรายการเดยี วในระบบกไ็ ดโดยใหแ สดงรายละเอียดวาเปน

เลม ๑๒๕ ตอนพิเศษ ๕๐ ง หนา ๑๗ ๗ มนี าคม ๒๕๕๑ ราชกิจจานเุ บกษา เงินรับตามใบเสร็จเลขที่ใดถึงเลขที่ใดและจํานวนเงินรวมรับทั้งสิ้นเทาใดไวดานหลังสําเนา ใบเสร็จรับเงินฉบับสุดทาย ในกรณที ่ีมีการรบั เงนิ ภายหลังกําหนดเวลาปดบัญชีสําหรับวันน้ันแลวใหบันทึกขอมูลการรับ เงนิ นั้นในระบบในวนั ทาํ การถดั ไป ขอ ๗๗ เมือ่ สนิ้ เวลารบั จา ยเงิน ใหเจา หนา ท่ีผมู หี นา ทจี่ ดั เกบ็ หรอื รับชําระเงนิ นาํ เงินที่ไดรับ พรอมกับสําเนาใบเสร็จรับเงินและเอกสารอ่ืนที่จัดเก็บในวันนั้นทั้งหมดสงตอเจาหนาที่การเงินของ สว นราชการน้ัน ขอ ๗๘ ใหห ัวหนาสวนราชการหรอื ผทู ีไ่ ดร บั มอบหมายเปนลายลักษณอักษร จากหัวหนา สวนราชการตรวจสอบจํานวนเงินท่ีเจาหนาที่จัดเก็บและนําสงกับหลักฐานและรายการที่บันทึกไวใน ระบบวาถกู ตองครบถวนหรือไม เม่ือไดตรวจสอบความถูกตองตามวรรคหนึ่งแลว ใหผูตรวจแสดงยอดรวมเงินรับ ตามใบเสร็จรบั เงินทุกฉบับทไ่ี ดร ับในวันน้ันไวในสําเนาใบเสร็จรับเงินฉบับสุดทาย และลงลายมือชื่อ กํากับไวด วย หมวด ๗ การเก็บรกั ษาเงนิ ของสว นราชการ สวนท่ี ๑ สถานท่เี ก็บรักษา ขอ ๗๙ ใหสวนราชการเก็บรักษาเงินท่ีจัดเก็บหรือไดรับไวในตูนิรภัยซึ่งต้ังอยูในท่ี ปลอดภัยของสว นราชการนน้ั ขอ ๘๐ ตูนิรภัยใหมีลูกกุญแจอยางนอยสองสํารับ แตละสํารับไมนอยกวาสองดอก แตไมเกนิ สามดอกโดยแตละดอกตองมีลักษณะตางกัน โดยสํารับหนึ่งมอบใหกรรมการเก็บรักษาเงิน สว นสาํ รบั ทีเ่ หลอื ใหน าํ ฝากเกบ็ รักษาไวใ นลักษณะหีบหอ ณ สถานที่ ดังน้ี (๑) สํานักบรหิ ารเงินตรา กรมธนารกั ษ กระทรวงการคลัง สาํ หรับสวนราชการ ในราชการ บริหารสว นกลาง

เลม ๑๒๕ ตอนพเิ ศษ ๕๐ ง หนา ๑๘ ๗ มนี าคม ๒๕๕๑ ราชกิจจานุเบกษา (๒) หองเก็บเงินคลังใน ของสํานักงานคลังจังหวัด สําหรับสวนราชการในราชการบริหาร สว นกลางท่ีมีสาํ นักงานอยใู นสวนภูมิภาคและสวนราชการในราชการบริหารสว นภมู ภิ าค ขอ ๘๑ สวนราชการในราชการบริหารสวนภูมิภาคแหงใดโดยปกติไมมีการเก็บรักษาเงิน หากมีความจําเปนจะตองเก็บรักษาเงินเปนครั้งคราว หรือกรณีท่ีสวนราชการ มีการเก็บรักษาเงินเปน จาํ นวนมาก ซึง่ เหน็ วา การเกบ็ รกั ษาเงินไวในตูน ริ ภัยของสว นราชการน้นั จะไมปลอดภยั จะนําเงินฝาก เกบ็ รกั ษาไว ณ สํานักงานคลังจงั หวัด ในลกั ษณะหบี หอ ตามวิธกี ารทีก่ ระทรวงการคลังกําหนดก็ได สว นท่ี ๒ กรรมการเกบ็ รักษาเงนิ ขอ ๘๒ ใหหวั หนาสวนราชการพิจารณาแตง ต้งั ขาราชการซ่ึงดํารงตาํ แหนง ระดับสามหรือ เทียบเทา ขึน้ ไปในสวนราชการน้ันอยางนอ ยสองคนเปนกรรมการเก็บรกั ษาเงินของสวนราชการนั้น ขอ ๘๓ ใหกรรมการเก็บรักษาเงินถือลูกกุญแจตูนิรภัยคนละหน่ึงดอกในกรณีที่ตูนิรภัย มีลูกกุญแจสามดอก และมีกรรมการเก็บรักษาเงินสองคน ใหกรรมการเก็บรักษาเงินถือลูกกุญแจ คนละดอก สวนลูกกุญแจท่ีเหลือใหอยูในดุลพินิจของหัวหนาสวนราชการท่ีจะมอบใหกรรมการเก็บรักษา เงินผใู ดถือลกู กุญแจน้ัน ในกรณีท่ีมีหองม่ันคงหรือกรงเหล็ก การถือลูกกุญแจหองม่ันคงหรือกรงเหล็กใหนําความ ในวรรคหนง่ึ มาใชบังคับโดยอนโุ ลม ขอ ๘๔ ถากรรมการเก็บรักษาเงนิ ผูใ ดไมสามารถปฏิบัติหนาท่ีได ใหหัวหนาสวนราชการ พิจารณาแตง ต้งั ขาราชการตามนยั ขอ ๘๒ ปฏบิ ัติหนา ทีก่ รรมการเก็บรักษาเงินแทนใหครบจํานวน การแตงต้งั ผปู ฏิบตั หิ นา ทีก่ รรมการเก็บรกั ษาเงนิ แทน จะแตง ต้ังไวเปนการประจําก็ได ขอ ๘๕ ในการสงมอบและรับมอบลูกกุญแจระหวางกรรมการเก็บรักษาเงิน กับผูปฏิบัติ หนาทก่ี รรมการเก็บรกั ษาเงินแทน ใหบ ุคคลดงั กลา วตรวจนบั ตวั เงนิ และเอกสารแทนตวั เงนิ ซึ่งเก็บรกั ษา ไวในตูน ริ ภัยใหถ ูกตอ งตามรายงานเงนิ คงเหลอื ประจําวนั แลวบันทึกการสงมอบและรับมอบพรอมกับ ลงลายมอื ช่ือกรรมการเกบ็ รักษาเงินและผูปฏิบัติหนาที่กรรมการเก็บรักษาเงินแทนทุกคนไวในรายงาน เงนิ คงเหลือประจาํ วนั นั้นดวย ขอ ๘๖ กรรมการเก็บรักษาเงินหรือผูปฏิบัติหนาท่ีกรรมการเก็บรักษาเงินแทน ตองเก็บ รักษาลูกกุญแจไวในท่ีปลอดภัยมิใหสูญหายหรือใหผูใดลักลอบนําไปพิมพแบบลูกกุญแจได

เลม ๑๒๕ ตอนพิเศษ ๕๐ ง หนา ๑๙ ๗ มนี าคม ๒๕๕๑ ราชกจิ จานุเบกษา หากปรากฏวาลูกกุญแจสูญหาย หรือมีกรณีสงสัยวาจะมีผูปลอมแปลงลูกกุญแจ ใหรีบรายงาน ใหห ัวหนาสว นราชการทราบเพอ่ื ส่ังการโดยดวน ขอ ๘๗ หามกรรมการเก็บรักษาเงินหรือผูปฏิบัติหนาท่ีกรรมการเก็บรักษาเงินแทน มอบลกู กุญแจใหผ อู ่นื ทาํ หนา ท่กี รรมการแทน สว นที่ ๓ การเก็บรกั ษาเงิน ขอ ๘๘ ใหกองคลังหรือสวนราชการในราชการบริหารสวนภูมิภาค แลวแตกรณี จัดทํา รายงานเงินคงเหลอื ประจาํ วนั เปน ประจําทุกวัน ในกรณีที่วันใดไมมีรายการรับจายเงิน จะไมทํารายงานเงินคงเหลือประจําวันสําหรับวันนั้น ก็ได แตใหห มายเหตุไวในรายงานเงนิ คงเหลือประจาํ วนั ทีม่ กี ารรบั จา ยเงนิ ของวันถดั ไปดว ย รายงานเงนิ คงเหลอื ประจาํ วันใหเ ปนไปตามแบบที่กรมบัญชกี ลางกาํ หนด ขอ ๘๙ เม่ือส้ินเวลารับจายเงินใหเจาหนาที่การเงินนําเงินที่จะเก็บรักษา และรายงานเงิน คงเหลือประจําวนั สงมอบใหคณะกรรมการเก็บรักษาเงนิ ใหค ณะกรรมการเกบ็ รักษาเงินรวมกันตรวจสอบตัวเงิน และเอกสารแทนตัวเงิน กับรายงาน เงนิ คงเหลือประจําวัน เมื่อปรากฏวาถูกตองแลว ใหเจาหนาที่การเงินนําเงิน และเอกสารแทนตัวเงิน เก็บรักษาในตูนิรภัย และใหกรรมการเก็บรักษาเงินทุกคนลงลายมือช่ือในรายงานเงินคงเหลือ ประจําวนั ไวเปน หลักฐาน ขอ ๙๐ รายงานเงินคงเหลือประจําวัน เม่ือกรรมการเก็บรักษาเงินไดลงลายมือชื่อแลว ใหผอู ํานวยการกองคลังหรอื เจา หนา ที่การเงนิ เสนอหัวหนาสว นราชการเพือ่ ทราบ ขอ ๙๑ ในกรณีที่ปรากฏวาเงินท่ีไดรับมอบใหเก็บรักษาไมตรงกับจํานวนเงินซ่ึงแสดงไว ในรายงานเงินคงเหลือประจําวัน ใหคณะกรรมการเก็บรักษาเงินและเจาหนาที่การเงินผูนําสงรวมกัน บันทึกจํานวนเงินท่ีตรวจนับไดน้ันไวในรายงานเงินคงเหลือประจําวัน และลงลายมือช่ือกรรมการ เก็บรักษาเงินทุกคนพรอมดวยเจาหนาที่การเงินผูนําสง แลวนําเงินเก็บรักษาในตูนิรภัย และใหกรรมการ เก็บรักษาเงินรายงานใหหัวหนาสว นราชการทราบทันทเี พื่อพิจารณาสั่งการตอไป ขอ ๙๒ เม่ือนําเงินและเอกสารแทนตัวเงินเก็บในตูนิรภัยเรียบรอยแลว ใหกรรมการ เก็บรักษาเงินใสกุญแจใหเรียบรอย แลวลงลายมือช่ือบนกระดาษปดทับ หรือประจําตราครั่งของกรรมการ

เลม ๑๒๕ ตอนพิเศษ ๕๐ ง หนา ๒๐ ๗ มนี าคม ๒๕๕๑ ราชกจิ จานุเบกษา เก็บรักษาเงินแตละคนไวบนเชือกผูกมัดตูนิรภัย ในลักษณะที่แผนกระดาษปดทับหรือตราประจําครั่ง จะตองถูกทาํ ลายเมอ่ื มกี ารเปดตนู ริ ภยั ในกรณีทต่ี ูนริ ภยั ตัง้ อยูในหองม่ันคงหรือกรงเหล็ก การลงลายมือช่ือบนกระดาษปดทับ หรือ การประจาํ ตราครง่ั ของกรรมการเกบ็ รกั ษาเงนิ จะกระทําทป่ี ระตูหองมั่นคงหรือกรงเหล็กเพียงแหงเดียว ก็ได ขอ ๙๓ ในวันทําการถัดไป หากจะตองนําเงินออกจาย ใหคณะกรรมการเก็บรักษาเงิน มอบเงินท่ีเก็บรักษาท้ังหมดใหผูอํานวยการกองคลังหรือเจาหนาที่การเงิน แลวแตกรณี รับไปจาย โดยใหผูอํานวยการกองคลังหรือเจาหนาที่การเงิน แลวแตกรณี ลงลายมือชื่อรับเงินไวในรายงาน เงินคงเหลือประจาํ วนั กอนวนั ทําการท่รี ับเงินไปจาย ขอ ๙๔ การเปดประตูหอ งมนั่ คง หรอื ประตูกรงเหล็ก หรือตนู ิรภัยใหกรรมการเก็บรักษาเงิน ตรวจกุญแจ ลายมือช่ือบนแผนกระดาษปดทับ หรือตราประจําคร่ังของกรรมการเก็บรักษาเงิน เมอ่ื ปรากฏวาอยูในสภาพเรยี บรอยจงึ ใหเปด ได หากปรากฏวา แผนกระดาษปดทับหรือตราประจําครั่งของกรรมการเก็บรักษาเงินอยูในสภาพ ไมเรยี บรอย หรือมพี ฤติการณอ ่นื ใดทีส่ งสัยวา จะมกี ารทจุ รติ ใหรายงานใหห ัวหนาสวนราชการนั้นทราบ เพอ่ื พิจารณาสั่งการโดยดว น หมวด ๘ การนาํ เงินสงคลงั และฝากคลัง ขอ ๙๕ เงินที่เบิกจากคลัง ถาไมไดจายหรือจายไมหมด ใหสวนราชการผูเบิกนําสง คนื คลังภายในสบิ หาวนั ทาํ การ นับจากวันรบั เงินจากคลัง ในกรณีท่ีสวนราชการมีการรับคืนเงินท่ีไดจายไปแลว ใหนําสงคืนคลังภายในสิบหาวัน ทําการนบั จากวนั ที่ไดร ับคนื ขอ ๙๖ การนําเงินสงคลัง ถานําสงกอนส้ินปงบประมาณหรือกอนส้ินระยะเวลาเบิกเงิน ที่กนั ไวเ บกิ เหล่อื มป ใหส วนราชการนําสงเปนเงินเบิกเกินสงคืน แตถานําสงภายหลังกําหนดดังกลาว ใหน ําสง เปน รายไดแผน ดนิ ประเภทเงนิ เหลอื จายปเ กา สง คนื ขอ ๙๗ เงินทั้งปวงที่อยูในความรับผิดชอบของสวนราชการ ใหนําสงหรือ นําฝากคลัง ภายในกาํ หนดเวลา ดังตอไปนี้

เลม ๑๒๕ ตอนพเิ ศษ ๕๐ ง หนา ๒๑ ๗ มนี าคม ๒๕๕๑ ราชกิจจานุเบกษา (๑) เช็ค ดราฟท หรือต๋ัวแลกเงิน ใหนําสงหรือนําฝากในวันที่ไดรับหรืออยางชาภายใน วนั ทาํ การถดั ไป (๒) เงินรายไดแผนดิน ใหนําสงอยางนอยเดือนละหนึ่งครั้ง แตถาสวนราชการใด มีเงิน รายไดแผนดินเก็บรักษาในวันใดเกินหนึ่งหมื่นบาท ก็ใหนําเงินสงโดยดวนแตอยางชาตองไมเกิน สามวนั ทาํ การถัดไป (๓) เงินเบิกเกนิ สง คนื หรอื เงนิ เหลือจายปเ กา สง คืน ใหน าํ สงภายในสิบหา วันทําการ นบั จาก วันรบั เงินจากคลังหรือนบั จากวนั ทไ่ี ดรับคนื (๔) เงินนอกงบประมาณ ใหนําฝากคลังอยางนอยเดือนละหนึ่งครั้ง แตสําหรับเงินที่เบิกจากคลัง เพื่อรอการจาย ใหนําฝากคลงั ภายในสบิ หา วนั นับจากวนั รับเงนิ จากคลงั ขอ ๙๘ ใหหัวหนา หนวยงานผเู บกิ หรอื ผูท ่ีไดร ับมอบหมายตามขอ ๙ เปนผูน าํ เงินสงคลัง ขอ ๙๙ วิธีการนําเงินสงคลังหรือฝากคลัง ใหหนวยงานผูเบิกในสวนกลาง หรือใน สวนภูมิภาคจัดทําใบนําฝากเงิน พรอมทั้งนําเงินสด เช็ค ดราฟท ต๋ัวแลกเงิน ฝากเขาบัญชีเงินฝาก ธนาคารของกรมบัญชีกลาง หรือของสํานักงานคลังจังหวัด แลวแตกรณี โดยปฏิบัติตามวิธีการ ท่กี ระทรวงการคลังกาํ หนด ขอ ๑๐๐ หนวยงานผูเบิกท่ีใชวิธีการเชื่อมโยงขอมูลเขาระบบหรือวิธีการอ่ืน ใหถือปฏิบัติ ตามท่กี ระทรวงการคลังกาํ หนด หมวด ๙ การกนั เงินไวเ บกิ เหลอ่ื มป ขอ ๑๐๑ สวนราชการใดไดกอหน้ีผูกพันไวกอนส้ินปงบประมาณ โดยการซ้ือทรัพยสิน จางทําของ หรือเชาทรัพยสินที่มีใบสั่งซื้อ ใบส่ังจางหรือสัญญาหรือขอตกลงและมีวงเงินตั้งแต หาหม่ืนบาทข้ึนไปหรือตามท่ีกระทรวงการคลังกําหนด กรณีท่ีไมสามารถเบิกเงินไปชําระหนี้ไดทัน ส้ินปงบประมาณ ใหถือวาใบส่ังซื้อหรือใบสั่งจางหรือสัญญาหรือขอตกลงท่ีไดจัดทําหรือลงไว ในระบบเปน การขอกนั เงินไวเบิกเหลอื่ มปตอไปไดอ ีกเปนเวลาหกเดือนนบั จากวันสิ้นปง บประมาณ ในกรณีที่สวนราชการไมไดกอหน้ีผูพัน แตมีความจําเปนตองใชจายเงินน้ันตอไปอีก ใหกระทรวงเจาสังกัดขอทําความตกลงกับกระทรวงการคลัง เม่ือไดรับอนุมัติจากรัฐมนตรีวาการ กระทรวงการคลงั แลว ใหขอกันเงินไวเ บกิ เหล่ือมปได

เลม ๑๒๕ ตอนพเิ ศษ ๕๐ ง หนา ๒๒ ๗ มนี าคม ๒๕๕๑ ราชกจิ จานุเบกษา ขอ ๑๐๒ การขอกนั เงินไวเบิกเหล่ือมป สวนราชการตองดําเนินการกอนส้ินปงบประมาณ โดยปฏิบัตติ ามวิธีการทก่ี ระทรวงการคลังกาํ หนด หมวด ๑๐ การควบคุมและตรวจสอบ ขอ ๑๐๓ ใหหนวยงานผูเบิกนําเอกสารการรับจายเงินมาเปนหลักฐานบันทึกบัญชี ตามหลกั การและนโยบายบัญชีที่กระทรวงการคลงั กาํ หนด ขอ ๑๐๔ ทุกสิ้นวันทําการ ใหเจาหนาที่การเงินของสวนราชการตรวจสอบจํานวนเงินสด และเช็คคงเหลือกับรายงานเงินคงเหลอื ประจาํ วนั ทีก่ รมบญั ชีกลางกาํ หนด เมอ่ื ส้ินปง บประมาณ ใหส ว นราชการจัดทํารายงานการเงินเสนอหัวหนาสวนราชการ พรอม ทัง้ สง ใหสาํ นกั งานการตรวจเงินแผน ดนิ เพ่อื ตรวจสอบรับรอง ตามวิธกี ารทกี่ รมบญั ชกี ลางกาํ หนด ขอ ๑๐๕ ใหหนวยงานผูเบิกมีหนาท่ีใหคําช้ีแจงและอํานวยความสะดวกแกเจาหนาที่ของ สํานกั งานการตรวจเงินแผน ดินในการตรวจสอบรายงานการเงินและหลักฐานการจาย กรณีที่ไดรับการ ทกั ทวงจากสาํ นักงานการตรวจเงนิ แผนดนิ ถาหนว ยงานผเู บิกไมเ ห็นดว ยกับขอทักทวง ใหช้ีแจงเหตผุ ล และรายงานใหก ระทรวง ทบวง กรม หรอื รัฐวสิ าหกิจ เจา ของงบประมาณ แลวแตกรณีทราบ ภายใน สิบวันนับแตวันท่ีไดรับแจงขอทักทวงจากสํานักงานการตรวจเงินแผนดิน หากเจาของงบประมาณ ดังกลาวเห็นวาคําช้ีแจงน้ันมีเหตุผลสมควร ใหพิจารณาดําเนินการขอใหกระทรวงการคลังวินิจฉัย ภายในสิบวนั นับแตวนั ทไ่ี ดร ับแจง จากหนว ยงานผเู บิก ภายในสามสิบวันนับแตวันท่ีไดรับคําขอจากเจาของงบประมาณ เม่ือกระทรวงการคลัง ไดวินิจฉัยคําช้ีแจงเปนประการใดแลว ใหแจงใหกระทรวง ทบวง กรม หรือรัฐวิสาหกิจเจาของ งบประมาณ และสํานักงานการตรวจเงินแผนดินทราบ ในกรณีท่ีเจาของงบประมาณดังกลาวจะตอง ปฏบิ ตั ิตามคาํ วนิ จิ ฉยั ของกระทรวงการคลัง ใหปฏิบัติใหเสร็จสิ้นพรอมทั้งแจงสํานักงานการตรวจเงิน แผน ดินทราบภายในสิบวนั นบั แตว ันทไ่ี ดรบั ทราบผลการวินจิ ฉยั ขอ ๑๐๖ การตรวจสอบภายในของสวนราชการใหเ ปน ไปตามท่ีกระทรวงการคลงั กาํ หนด ขอ ๑๐๗ เมื่อปรากฏวา สวนราชการแหง ใดปฏิบัติเก่ยี วกบั การเบิกจายเงนิ การเก็บรักษาเงิน และการนําเงินสงคลังไมถูกตองตามระเบียบ ใหหัวหนาสวนราชการระดับกรม หรือผูวาราชการ จังหวดั แลวแตกรณี พจิ ารณาสง่ั การใหป ฏบิ ตั ใิ หถูกตอ งโดยดว น

เลม ๑๒๕ ตอนพิเศษ ๕๐ ง หนา ๒๓ ๗ มนี าคม ๒๕๕๑ ราชกิจจานุเบกษา ขอ ๑๐๘ หากปรากฏวาเงินในความรับผิดชอบของสวนราชการแหงใดขาดบัญชี หรือ สูญหายเสียหายเพราะการทุจริต หรือมีพฤติการณท่ีสอไปในทางไมสุจริตหรือเพราะเหตุหนึ่งเหตุใด ซึ่งมิใชกรณีปกติ ใหหัวหนาสวนราชการระดับกรมหรือผูวาราชการจังหวัดแลวแตกรณี รีบรายงาน พฤตกิ ารณใหกระทรวงเจาสังกัดทราบโดยดวน และดําเนินการสอบสวนหาตัวผูรับผิดตามหลักเกณฑ ที่กําหนดไวใ นระเบียบสํานักนายกรฐั มนตรวี า ดว ยหลักเกณฑการปฏิบัติเก่ียวกับความรับผิดทางละเมิด ของเจา หนาท่ี ในกรณีทีเ่ หน็ วาเปนความผดิ อาญาแผนดินใหฟ อ งรอ งดําเนินคดีแกผูก ระทําความผิดดว ย ใหไว ณ วนั ที่ ๑ กมุ ภาพนั ธ พ.ศ. ๒๕๕๑ ฉลองภพ สสุ งั กรก าญจน รัฐมนตรีวา การกระทรวงการคลัง


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook