พระพทุ ธรปู ประจาโรงเรยี นชลราษฎรอารงุ กระทรวงศึกษาธกิ าร มนี โยบายให้โรงเรียนทุกโรงเรียนในสังกดั กระทรวงศกึ ษาธกิ าร จดั ใหม้ ที ่ีประดิษฐาน พระพทุ ธรูป สาหรบั ใหน้ กั เรยี น ครู อาจารย์ ในโรงเรยี น ได้เคารพกราบไหว้ โรงเรียนชลราษฎรอารุง ในสมยั อาจารยเ์ จรญิ ลัดดาพงศ์ เป็นผ้บู ริหารโรงเรียน ได้เริม่ หาทุนและผูส้ นบั สนุน ในการ ก่อสรา้ งหอพระข้นึ ในปกี ารศกึ ษา 2528 โดยการกอ่ สรา้ งได้ใชเ้ งนิ เป็นคา่ กอ่ สร้างทั้งสน้ิ ประมาณ 485,000 บาท ท่านเจา้ คุณวิสทุ ธาธิบดี วัดไตรมติ ร กรงุ เทพมหานคร ไดม้ อบพระประธาน ซง่ึ เป็นพระพุทธรูปปางมารวชิ ยั หนา้ ตกั กว้าง 40 นว้ิ โดยทาพธิ เี ททองที่กรุงเทพฯ ขณะทท่ี ่านเจ้าคุณวสิ ุทธาธิบดี เททอง ปรากฏวา่ มอี ภนิ หิ ารเกิดขึน้ คือ ทพี่ ระเกศมี ไฟลุกโชตชิ ่วงอยพู่ กั ใหญ่ ต่อมาหลังจากท่ีได้ทาพธิ พี ทุ ธาภิเษก เมื่อวนั ที่ 12 - 13 เมษายน 2529 ณ วัดโคกข้หี นอน อาเภอ พานทอง จังหวดั ชลบุรแี ละ ได้อญั เชิญมาประดิษฐาน ณ หอพระโรงเรยี นชลราษฎรอารุง ขณะทเี่ คลือ่ นท่ีพระพทุ ธรูป ได้มเี มฆ บังแสงแดดทแี่ ผดกลา้ ใหร้ ่มรนื่ ตลอดทาง ก่อนจะนาขึ้นประดษิ ฐานไดม้ ีฝนตกใหญ่ ชว่ั ครู่ ขณะเคลือ่ นท่ีขึน้ ฐานก็เรยี บรอ้ ยดี ไม่มีอปุ สรรคใด ๆ นบั เปน็ สริ มิ งคลแกพ่ วกเราชาวชลราษฎรอารงุ อยา่ งยงิ่ อนึ่ง ทา่ นเจา้ คุณวิสทุ ธาธบิ ดี ไดต้ ง้ั ช่ือพระประธานองค์นวี้ ่าา “พระพทุ ธมงคลชลประชานาถ”
คนเราทุกคน ย่อมมีหนา้ ท่ีท่ีตอ้ งทา หนา้ ทข่ี องเดก็ นั้น สาคญั ท่สี ดุ กค็ อื การศกึ ษาเล่าเรยี น เพ่อื ใหม้ วี ชิ าความรู้ และคณุ ธรรมความดี จะได้สามารถพงึ่ ตนเองได้ สรา้ งความสุขความเจริญให้แกต่ นแก่ส่วนรวมได้ในอนาคต เด็กทุกคนจงึ ตอ้ งตั้งใจศกึ ษาเลา่ เรยี น ด้วยความอดทน และพากเพียรอยเู่ สมอ พระบาทสมเด็จพระเจา้ อยู่หัว พระราชทานพระบรมราโชวาท เนอ่ื งในวนั เดก็ แหง่ ชาติ ประจาปี 2565
เคร่อื งหมาย สญั ลกั ษณ์โรงเรยี น สปี ระจาโรงเรยี น สสี ม้ ฟ้า สสี ม้ หมายถึง แสงสวา่ งตอนอาทติ ยร์ งุ่ อรุณ เป็นสีแหง่ การเรม่ิ ต้นของชวี ติ สีฟ้า หมายถงึ สขี องทอ้ งฟา้ อันกว้างใหญ่ไพศาล ปราศจากเมฆหมอกมืดมวั เปน็ สีแหง่ ความปลอดโปรง่ สดใสของชวี ิต ซง่ึ กา้ วไปข้างหน้า ส้ม ฟ้า หมายถงึ อยา่ งราบร่ืน และสูงสุดดว้ ยภมู ปิ ญั ญา คาขวัญของโรงเรยี น การเริม่ ดาเนนิ ชวี ติ อยา่ งราบรืน่ ด้วยภูมิปัญญาอนั สงู ส่ง คตพิ จน์ ลูกสม้ ฟา้ ต้องเรียนดี ประพฤติดี มรี ะเบยี บวินยั ปรชั ญา “ปญญฺ าวุโธ ผ้มู ปี ญั ญาเปน็ อาวธุ ” ลกู สม้ ฟา้ ต้องมีความรู้ตามความสามารถและความถนดั ของตน รกั เพ่ือนพอ้ ง อัตลักษณ์ รกั พ่ีน้อง รว่ มโรงเรียน เหมอื นพีน่ ้องรว่ มมาตภุ ูมิ หยิง่ ในศกั ดศ์ิ รีของการเป็น ลกู สม้ ฟา้ มีใจกวา้ ง เขม็ แข็ง เด็ดเด่ยี ว รักความก้าวหนา้ เป็นผู้นาชุมชนทีเ่ สียสละเพอ่ื ส่วนรวม เรยี นดี สามคั คี มภี าวะผนู้ า C : Comprehensive หมายถงึ ความฉลาดรอบรู้ R : Responsible & Respectful หมายถงึ มคี วามรบั ผิดชอบและมคี วามเคารพ U : Unique หมายถงึ มีความเปน็ หนง่ึ เดยี วท่เี ป็นเอกลกั ษณข์ องตน S : Share หมายถงึ รู้จักแบ่งปันและมีน้าใจ M : Moral หมายถึง เปน็ เดก็ ดมี คี ณุ ธรรม A : Achievement หมายถงึ มงุ่ มนั่ สคู่ วามสาเร็จ R : Respect หมายถงึ มีความเคารพนอบน้อม T : Teamwork หมายถึง ร้จู ักการทางานเป็นทมี
คานา การจัดทาหนงั สือคู่มอื นกั เรยี น ผ้ปู กครอง และครู โรงเรียนชลราษฎรอารงุ มวี ตั ถุประสงคเ์ พ่อื ใหน้ กั เรียนและผปู้ กครองได้ใช้ศึกษาทาความเขา้ ใจเกย่ี วกบั ระเบยี บแบบ แผน และแนวปฏบิ ตั ิ ตลอดจนข้อมูลต่าง ๆ ของโรงเรยี น การเขา้ ศกึ ษาในโรงเรียนชลราษฎร อารุงนนั้ นกั เรยี นจะต้องศึกษาทาความเข้าใจหนังสอื คมู่ อื นกั เรยี นให้ครบถว้ น เพราะจะช่วยให้ นักเรยี นมีความรู้ ความเข้าใจ ในเรอื่ งระเบยี บวินัย แนวปฏิบัติของโรงเรียน ทั้งยังตอ้ งตระหนัก ถงึ ช่อื เสียงและเกียรติภมู ิอนั จะนาไปสูค่ วามเจริญก้าวหนา้ รวมทัง้ ปฏบิ ัตติ นใหส้ มศกั ดศ์ิ รขี อง การเปน็ ลกู ส้ม-ฟ้า ดงั นนั้ โรงเรียนชลราษฎรอารงุ จงึ หวังเป็นอยา่ งยงิ่ ว่าคูม่ ือนักเรยี น ผูป้ กครอง และครู เล่มน้ีจะเป็นประโยชบนแ์ กน่ ักเรยี นและผปู้ กครองในการประพฤตปิ ฏิบตั ติ นในร้ัวโรงเรยี นและ ในโอกาสนี้ โรงเรยี นชลราษฎรอารุง ขอต้อนรบั นกั เรียนใหมท่ กุ คนและหวังเปน็ อย่างยงิ่ วา่ นักเรียนทุกคนจะต้ังใจเรียน เป็นศษิ ยท์ ด่ี ขี องครู เปน็ คนดีมคี ณุ ธรรม เอ้ือเฟ้ือเผื่อแผ่ อยู่รว่ มกบั ผ้อู ่ืนไดอ้ ย่างมีความสุข และยึดหลกั ท่ีวา่ “ย้ิม ไหว้ ทักทาย ชลชาย SMART” สุดทา้ ยนข้ี อขอบคณุ ทกุ ภาคส่วนทีใ่ หก้ ารสนับสนนุ โรงเรียนด้วยดีตลอดมาคณะผู้บรหิ าร และคณะครู จะมงุ่ ม่ันพัฒนาโรงเรยี นสู่ความเปน็ เลศิ ในทุก ๆ ด้าน เพ่ือความภาคภมู ิใจของ คณะครู ศิษย์เกา่ นกั เรียน ผู้ปกครอง และชมุ ชนต่อไป (นางสาวรงุ่ ทิพย์ พรหมศริ )ิ ผู้อานวยการโรงเรยี นชลราษฎรอารงุ ก
สารบญั 1 7 ประวตั ิโรงเรยี นชลราษฎรอารงุ 8 ทาเนยี บผบู้ รหิ ารโรงเรยี นชลราษฎรอารงุ 9 คณะกรรมการสถานศกึ ษาขั้นพนื้ ฐาน โรงเรียนชลราษฎรอารงุ 10 คณะกรรมการบรหิ ารสมาคมศษิ ย์เกา่ ชลราษฎรอารุง 11 คณะกรรมการที่ปรกึ ษาสมาคมศษิ ยเ์ กา่ ชลราษฎรอารงุ 12 คณะกรรมการบรหิ ารสมาคมผู้ปกครองและครู โรงเรยี นชลราษฎรอารงุ 13 คณะกรรมการทีป่ รกึ ษาสมาคมผูป้ กครองและครู โรงเรยี นชลราษฎรอารุง 15 วสิ ัยทศั น์ พันธกจิ เปา้ หมาย 16 แผนผงั โรงเรียนชลราษฎรอารุง 17 ชอ่ื อาคารและหอ้ งประชมุ 18 โครงสร้างการบรหิ ารโรงเรียนชลราษฎรอารงุ ผู้บริหารโรงเรียนชลราษฎรอารุง 19 บุคลากรโรงเรียนชลราษฎรอารุง 20 21 - กลุ่มสาระการเรยี นรคู้ ณติ ศาสตร์ 23 - กิจกรรมพฒั นาผูเ้ รียน 24 - กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 25 - กลุ่มสาระการเรียนรู้สงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม 25 - กลุ่มสาระการเรยี นรภู้ าษาไทย 26 - กลุ่มสาระการเรยี นรู้สขุ ศกึ ษาและพลศกึ ษา 26 - กลมุ่ สาระการเรียนรกู้ ารงานอาชีพ 27 - กลมุ่ สาระการเรยี นรูศ้ ลิ ปะ 28 - กลุ่มงานคอมพิวเตอร์ 29 - กลมุ่ สาระการเรยี นรูภ้ าษาตา่ งประเทศ 30 - หลักสตู รกระทรวงศกึ ษาธกิ ารเป็นภาษาอังกฤษ (English Program) 31 - บคุ ลากรสานกั งาน 33 กลมุ่ บริหารงานวชิ าการ 70 - โครงสร้างกล่มุ บรหิ ารงานวชิ าการ 73 - โครงสรา้ งหลกั สตู รสถานศกึ ษา ปีการศึกษา 2565-2567 75 - งานทะเบยี นวัดผล 77 - งานโครงการสะเตม็ ศกึ ษา - งานบรกิ ารแนะแนว - งานหอ้ งสมดุ ข
สารบญั 79 80 กลุ่มบรหิ ารงานบุคคล การเงินและสนิ ทรพั ย์ 81 - โครงสรา้ งกลุม่ บริหารงานบคุ คล การเงนิ และสินทรัพย์ 82 - นโยบายเรยี นฟรี 15 ปี อยา่ งมคี ณุ ภาพ 83 - กลุ่มงานบุคคล 84 - สถิติขา้ ราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา 85 87 กลุ่มบรหิ ารงานทัว่ ไป 88 - โครงสร้างกลุม่ บริหารงานทั่วไป 89 - งานประชาสมั พนั ธ์ 90 - งานอนามยั โรงเรียน 91 - งานโภชนาการ 92 - งานโสตทศั นศึกษา 93 - งานธนาคารโรงเรยี น 94 95 กลมุ่ บริหารงานกจิ การนกั เรียน 99 - โครงสรา้ งกลมุ่ บริหารงานกจิ การนักเรียน 101 - โครงการสวัสดกิ ารประกนั อบุ ัตเิ หตนุ ักเรียน 118 - ข้อปฏิบตั ิของนักเรยี น - ระเบยี บว่าดว้ ยเคร่อื งแต่งกายนักเรียน - เครอ่ื งแบบนกั เรียน คณะกรรมการจัดทาค่มู อื นักเรียน ค
ศาลเจา้ พระยาสุรสีห์ ศาลเจ้าพระยาสุรสีห์ ตั้งข้ึนเม่ือ พ.ศ. 2543 อยู่บริเวณลานธรรม เยื้องกับหอพระพุทธมงคล ชลประชานาถ โดยศาลหลักปัจจุบันเป็นหลักท่ีสองตั้งเม่ือ พ.ศ. 2558 ภายในประดิษฐาน เจว็ดจารึก นามเจ้าพระยาสุรสีห์ ท่ีบริจาคโดยนักเรียนชั้น ม.5 ห้อง 13 ปีการศึกษา 2558 บริเวณศาลเจ้าพระยา สุรสีห์มีตุ๊กตาช้างม้า ตุ๊กตาคนรับใช้ ตุ๊กตาละครรา จานวนหลายร้อยตัว เป็นท่ียึดเหน่ียวจิตใจ ของนกั เรยี นและบคุ ลากร ง
ประวตั โิ รงเรยี นชลราษฎรอารงุ ประวัติโรงเรยี นชลราษฎรอารุง เดมิ ชือ่ โรงเรยี น พินจิ บรุ พาคาร โดยในปี พ.ศ. 2411 ท่านหลวงพินจิ บรุ พการ ขา้ หลวงใน สมยั รัชกาลท่ี 4 ไดอ้ ทุ ศิ บริจาคเรือนไมห้ ลังหนงึ่ เพ่ือให้นามาสร้างเปน็ โรงเรียนขน้ึ ทีว่ ัดต้นสน อนั เปน็ วดั ในแบบ “วัดราษฎร์นิกาย” ด้วยแต่เดิมการศึกษาในจังหวดั ชลบุรี ยงั ไม่ แพรห่ ลาย การเรยี นรู้ของเด็กนักเรยี น หมายถงึ เดก็ ผู้ชายเพยี งเพศเดียว เป็นไปตามลกั ษณะสงั คมไทย สมยั ก่อน ท่ใี หล้ ูกหลานได้บวชเณร และเรยี นหนังสือกบั พระสงฆท์ ว่ี ัด เพอ่ื ให้ได้ศกึ ษาวชิ าและ ปรนนิบัติ ใกล้ชิดกบั พุทธศาสนา ต่อมา พ.ศ. 2453 ร.อ.อ. หลวงอานาจศลิ ปะสิทธ์ (ปลม้ื รตั นกสกิ ร) ชา้ หลวง ตรวจการศกึ ษาประจา จังหวัดชลบุรี เห็นสมควรยกฐานะโรงเรียนพนิ ิจบูรพการและโรงเรยี น วัดกาแพง 1 อดุ มพทิ ยากร ขึน้ เปน็ โรงเรยี นประจาจังหวดั โดยการจัดเชา้ เปน็ โรงเรยี น เดียวกนั โดยได้ให้นายมานัส อมุ า วุฒิ ป.ป. เป็นครูใหญท่ ้งั 2 โรงเรียน รปู แบบการบริการ การศกึ ษาสมัยนัน้ มีช้ันประถม 3 ปี มัธยม 4 ปี รวมท้ังส้นิ ใช้เวลาศึกษาในโรงเรียนเจด็ ปี พ.ศ. 2457 ทางราชการได้รวมโรงเรยี นพนิ ิตบุรพการและโรงเรยี นวดั กาแพง 1 อุดมพิทยากรเข้าเป็น โรงเรียนเดยี วกนั เรียกว่าโรงเรยี นประจาจงั หวัดชลบรุ ี แตส่ ถานที่ยังคงแยกกนั เรยี นอยู่ คอื โรงเรียนพินจิ บุรพ การสอนมัธยม โรงเรียนวดั กาแพง 1 อดุ มพทิ ยากร สอนช้ันประถม โรงเรียนชลราษฎรอารุง 1
พ.ศ. 2458 ขา้ หลวงประจาจงั หวัดชลบุรี เมือ่ คร้งั เปน็ พระยาไศยศรเดช ได้สรา้ ง โรงเรยี นขึ้นเป็นเอกเทศ ใน ฐานะโรงเรยี นประจาจงั หวดั จึงย้ายโรงเรยี นพินิจบุรพการและ โรงเรียนวัดกาแพง 1 อุดมพทิ ยากรมาเรยี น รวมกัน โดยเปิดเปน็ โรงเรียนแบบสหศกึ ษา แต่ โรงเรยี นวัดกาแพง อุดมพิทยากร กย็ ังคงเปิดเรียนตอ่ มาโดย ใช้อาคารหลังเดมิ ต่อมาชาวชลบุรไี ดร้ ว่ มกนั บรจิ าคสมทบทนุ สร้างโรงเรียนประจาจงั หวดั ชลบรุ ที ่โี รงเรยี นอนุบาล ปจั จบุ นั แล้วเสร็จเมื่อปี พ.ศ. 2460 แลว้ ได้ย้ายนกั เรียนท้งั สองเปน็ เอกเทศ เปิดการเรียนการสอนแบบสหศกึ ษา โรงเรยี นพัฒนาทางดา้ นการจดั การศึกษาปริมาณนกั เรยี น และอาจารย์ สถานทต่ี ลอดจนกระทง่ั ราชการสัง่ ให้ แยกนักเรยี นเป็นชายและหญงิ 24 พ.ย. 2474 การสหศึกษาได้ยกเลิก ไป แต่ โรงเรียนสตรียังไม่มีสถานที่จึงอาศัยเรียนร่วมกันไปก่อน และ แยกออกไปเม่ือวันที่ 10 ก.ย. 2479 และโรงเรียนเติบโตมา ตลอด โดยเฉพาะ ด้านปริมาณนักเรียนทาให้สถานที่ตั้ง โรงเรียน คับแคบไป จึงได้ย้ายโรงเรียนไปต้ังท่ีใหม่ท่ีบริเวณ “ศนู ย์การคา้ วรพรต” 3 มิ.ย. 2484 เปน็ วนั แรกที่ยา้ ยโรงเรียน จากสถานท่ี เดิม มาที่ต้งั ใหม่บรเิ วณถนนสุขุมวิท บนที่ดินประมาณ 13 ไร่ ของวัดอรัญญกิ าวาส เพือ่ ขยายโรงเรียนให้กว้างขน้ึ หลงั จากน้ัน โรงเรียน ได้พฒั นาการเรียนการสอนโดยเปิดสอนระดับ เตรียม อดุ มศกึ ษา และเปลย่ี นชอ่ื โรงเรียนใหมเ่ ปน็ “โรงเรียนราษฎร อารงุ “มีความหมายถงึ การร่วมกนั บรจิ าคเงินของราษฎรชาว นบั จากนัน้ มาในปัจจุบัน ชาวส้ม-ฟา้ จงึ ถือวา่ วันที่ “3 มิ.ย. ของทกุ ปี” เป็นวันสถาปนา วนั คลา้ ยวนั เกิดของโรงเรยี น พ.ศ. 2511 โรงเรยี นชลราษฎรอารงุ ได้เขา้ โครงการมัธยมแบบประสมรุน่ 4 กรมวสิ ามัญไดส้ ่ง เจา้ หนา้ ทม่ี าสารวจโรงเรยี นเพ่อื ดาเนนิ การกอ่ สรา้ งอาคารเรยี นและอาคารประกอบ ให้เปน็ ไปตามโครงการ ได้ นายนารถ มนตเสรี ผูว้ า่ ราชการจังหวัดในสมัยนน้ั ได้มองเหน็ ความสาคัญของการศกึ ษา พิจารณาจัดสรร ท่ีดนิ ของกองทัพอากาศประมาณ 67ไร่ (เดมิ จริงๆ มี 70 กว่าๆ) แตโ่ ฉนดทีด่ นิ ในภายหลงั เน้อื ท่ีหายไป คง จะมกี ารตดั ตอนเน้อื ทด่ี นิ บางสว่ นออก ไป อาทิ การตัดขยาย ถนนสุขุมวิทและพน้ื ท่นี ่าสงสยั บริเวณดา้ นหน้า โรงเรียนวา่ ใครถอื สทิ ธิ ครอบครอง กใ็ นเม่อื เป็นทีด่ ินกองทัพอากาศ และแถบน้ี ตงั้ แต่ชายขอบโรงเรียน อนุบาลชลบุรี โรงพยาบาลชลบรุ ี ลว้ นเป็นริมทะเลป่าโกงกางทง้ั สน้ิ โดยทบ่ี ริเวณพ้ืนท่โี รงเรยี นชลราษฎร อารงุ เปน็ ท่ีทะเลท้ังส้นิ ตอ้ งถมดนิ พร้อมๆ กบั การสรา้ งเมืองใหม่ ตามโครงการของท่านผ้วู ่า นารถฯ 2 คู่มือนักเรยี น ผ้ปู กครอง และครู
ทาให้ปจั จบุ นั ตึกท่สี ร้างในชลชาย มปี ญั หาการผุกร่อนของตอม่อและโครงสรา้ งที่เปน็ เหลก็ เพราะใต้ พื้นทช่ี ลชายกค็ ือทะเลเก่าแต่เดมิ ทาใหต้ ้องมกี ารทุบตึกอาคาร 4 ทิ้งในสมัย ผอ.สมศกั ดิ์ ศรสี ุวรรณ ชว่ งที่ สองท่ีท่านได้ย้ายกลับมาก่อนเกษียณเปน็ อาคาร 4 แต่ยังประสบปัญหาสนิมจากนา้ ทะเล ท่ที าให้อาคารเสือ่ ม โทรมได้ ดังน้ันโครงการบรเิ วณเมอื งใหม่จึงเรมิ่ มาจาก การยา้ ยโรงเรยี นชลราษฎรอารุง มาจากท่ีดินของวัด ป่าเดิม เพอ่ื ขยายความเจรญิ ตามแผนการของผวู้ า่ นารถ เริม่ ต้นตง้ั แต่ สแ่ี ยกหนองชา้ งคอก รมิ ถนน สขุ มุ วิท ติดกับถนนพระยาสัจจาปัจจุบนั การกอ่ สรา้ งโรงเรียน ในชว่ งแรกๆ ประกอบไปด้วย อาคาร 1 และอาคาร 2 เมอ่ื สร้างเสร็จได้ย้ายนักเรยี นระดับมธั ยมปลายทงั้ หมด มาเรียนส่วนระดบั มัธยมต้นยังเรยี นอยู่ท่ีเดมิ จนกระทัง่ ปกี ารศึกษา 2516 อาคารและส่ิงก่อสร้าง ตา่ งๆ เสรจ็ เตม็ รปู แบบ โครงการพฒั นาการศกึ ษาโรงเรยี นมธั ยมแบบประสม อาคาร 1,2,3,4 โรงอาหารโรงพลศึกษา, อาคารเกษตรกรรม, โรงฝึกงาน 3 หลัง, สุขา 2 หลงั , บ้านพกั ครู 19 หลัง และบ้านพักผอู้ านวยการ จึงยา้ ยนกั เรียน มัธยมต้นมาเรยี น รวมเป็นแหง่ เดยี วในระยะตอ่ มาไดม้ ี การสร้างบ้านพกั ครแู ละอาคารเรยี นชวั่ คราวเพ่ิมเติมเพือ่ รองรบั ปรมิ าณนักเรียนทเี่ พิม่ ข้ึน ซ่ึงก็ช่วย แก้ปญั หาได้ในระยะแรกเท่านัน้ ในระยะหลัง เกดิ การ ชารดุ เสยี หายส่งผลใหเ้ กิดปัญหาและอปุ สรรคมากมาย พ.ศ. 2526 - 2530 โรงเรียนไดเ้ รง่ พฒั นาอาคาร สถานท่ี โดยเฉพาะอาคารเรียนอาคารประกอบและสถานท่ี ประกอบกับ ความต้องการ ทจี่ ะพัฒนาโรงเรียนใหเ้ ปน็ ศูนย์บรกิ ารปฏิบตั ิการ ต่างๆ และเปน็ ผนู้ าดา้ นในภาคตะวันออก จึงได้พยายามขอความ ชว่ ยเหลอื จากชาวชลบรุ ี และทางราชการ จนไดอ้ าคาร 5, เรอื น พยาบาล, หอสมุด, ปา้ ยช่อื โรงเรียน, รถยนต์โตโยต้าไฮเวชดีเซล, โรงอาหารหลังเลก็ ถมปรบั สนามฟุตบอล เป็นยคุ สมยั ผอ.เจรญิ พ.ศ. 2530 - 2535 นายสมศกั ด์ิ ศรีสวุ รรณ ศษิ ย์เกา่ ชล ชาย พ.ศ. 2500 ไดม้ าดารงตาแหนง่ ผ้อู านวยการโรงเรียน ชล ราษฎรอารุง มคี วามมงุ่ มน่ั ท่จี ะทาประโยชน์ ให้กบั บ้านเกิดเมือง นอน โดยเฉพาะโรงเรยี นที่อย่ใู นความรบั ผดิ ชอบได้ถูกพฒั นาขึน้ อย่าง มแี บบแผน เป็นระบบควบคู่กันไปดว้ ย อาคารสถานท่ถี กู กาหนดขอบเขต เปน็ สดั ส่วนสะอาดเรยี บรอ้ ย โรงเรยี นถกู ประดับประดาดว้ ยสสี ันของพนั ธุ์ไม้ยนื ต้น ไมด้ อก และไม้ประดับ สภาพของโรงเรียนเปน็ ทชี่ ่ืนชอบของผพู้ บเห็นเป็นศักดิ์ศรีของชาวชลบุรี และลูกฟา้ สม้ ทกุ คน ดา้ น วชิ าการและดา้ นคณุ ธรรมจริยธรรมไดถ้ กู พัฒนาขนึ้ อยา่ งชดั เจน เปน็ ทีย่ อมรบั จาก รางวลั ชนะเลศิ ตา่ ง ๆ โรงเรียนชลราษฎรอารุง ไดร้ บั รางวัลพระราชทานประจาการศกึ ษา 2533 ในระดับโรงเรยี นขนาดใหญ่ เขต การศึกษา 12 และทา่ นผู้อานวยการทา่ นได้รบั รางวลั ผูบ้ รหิ าร โรงเรียนดีเด่น พ.ศ. 2532 โรงเรียนชลราษฎรอารงุ 3
พ.ศ. 2540 - 2544 นายสมคักด์ิ ศรีสุวรรณ ได้กลับมาดารงตาแหน่งผู้อานวยการ โรงเรียนชล ราษฎรอารุงอกี ครงั้ ในฐานะท่ีเคยเปน็ ศษิ ย์เก่า และเคยดารงตาแหน่งผอู้ านวยการมาแล้วคร้ังหน่ึงจึงมีความ รักและความผูกพันต่อสถาบันและมีความต้องการที่จะพัฒนาโรงเรียน ให้เป็นเลิศในทุก ๆ ด้านท่านเป็น ผู้บรหิ ารที่มีโลกทศั น์ท่กี วา้ งไกล เพยี บพร้อมด้วยประสบการณ์ จึงกล้าตัดสินใจรับโครงการต่าง ๆ ของกรม สามัญศึกษามาดาเนินงานให้เป็นแบบอย่างที่ดี เป็นตัวแทนของโรงเรียนสังกัดกรมสามัญศึกษาในส่วน ภมู ิภาคในการสนองนโยบายต่าง ๆ เสมอมา นักเรียนในปัจจุบันของโรงเรียนชลราษฎรอารุงมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงสามารถบูรณาการ ความรู้ความสามารถในการแข่งขันกับสถาบันต่าง ๆ ได้รับรางวัลชนะเลิศมากมาย โดยเฉพาะ นักเรียนช้ัน มัธยมศึกษาตอนปลาย สามารถสอบผ่านการคัดเลือกโควตาของมหาวิทยาลัยเป็นจานวนมากตลอดถึงสอบ เรียนต่อในสถานบันอุดมศึกษาได้เป็นจานวนมากทุกปี จนทาให้ผู้ปกครองมีความมั่นใจต่อการพัฒนา โรงเรียนของผู้บริหารมีความเชื่อมั่นในตัวครูอาจารย์ทุกท่าน ที่จะส่ังสอนบุตรหลานให้เป็น “คน'' ท่ีมี คุณภาพสมด่ังคติพจน์ของโรงเรียนท่ีกล่าวไว้ว่า “ปัญญา วุโธ ผู้มีปัญญาเป็นอาวุธ'' นับเนื่องจากอดีตเป็น ต้นมา โรงเรียนได้สร้างทรัพยากรมนุษย์เช่นท่ีกล่าว รุ่นแล้วรุ่นเล่า และจะสร้างต่อไปเพ่ือเกียรติภูมิและ ศักดศิ์ รีของโรงเรยี นชลราษฎรอารงุ พ.ศ. 2544 - 2554 นายภุชงค์ บุณยรัตนสุนทร ผู้อานวยการโรงเรียนชลบุรี “สุขบท” ได้ย้ายมา ดารงตาแหน่ง ผู้อานวยการโรงเรียนชลราษฎรอารุงได้มีนโยบายในการดาเนินนาระบบ เทคโนโลยี สารสนเทศ คอมพิวเตอร์ ใช้ในการจัดการเรียนการสอน และใช้ในการบริหารงาน และได้ดาเนินการ แก้ปัญหาหาการใช้โรงอาหารของนักเรียน ซึ่งไม่เพียงพอกับจานวนนักเรียน จึงได้ทาโครงการขอ งบประมาณจากองคก์ ารบริหารส่วนจงั หวดั ชลบรุ ใี นการสรา้ งโรงอาหารใหม่ ในปงี บประมาณ 2548 พ.ศ. 2551 - 2554 นายอภิสิทธิ์ ร่ืนจิตร์ ผู้อานวยการโรงเรียนพนัสพิทยาคาร ได้มาดารงตาแหน่ง ผู้อานวยการโรงเรียนชลราษฎรอารุง จากความสาเร็จการบริหารโรงเรียนพนัสพิทยาคาร เป็นแรงบันดาล ใจใหม้ ุ่งมั่นบริหาร เพื่อพัฒนาโรงเรียนชลราษฎรอารุงทุกด้าน อยา่ งเป็นรูปธรรม สิ่งท่ีเกดิ ขึ้นในสมัยที่ท่าน ดารงตาแหน่ง อาทิ - การปรบั ปรงุ ภูมิทัศนใ์ หม่ ไดแ้ ก่ ปลกู ต้นไมเ้ พิม่ เติมจากทีม่ อี ยู่ทุกจดุ สร้างสวน ไม้ไทยบรเิ วณหนา้ อาคารสมาคมศิษย์เกา่ ฯ พัฒนาแหลง่ เรียนรู้ลดโลกรอ้ น 9 ฐาน ท่กี ลุ่มสาระ การเรียนรู้การงานอาชีพและ เทคโนโลยี ปรับบรเิ วณสระนา้ โรงเรยี น ทาให้มภี ูมิทัศน์ รม่ ร่นื สวยงาน ควบคู่ กันไปความสะอาดของ บริเวณพ้ืนทีต่ ่างๆทีน่ าบริษทั ทาความสะอาดเชา้ มาดาเนนิ การ - สร้างและปรับปรุงเรือนประชาสัมพนั ธใ์ หม่ ปรับปรุงห้องประชมุ สารภี อาคารพลศึกษาใหเ้ ปน็ หอ้ ง ประชมุ ทท่ี นั สมัย สรา้ งอาคารเอนกประสงคเ์ พ่ิมขึน้ อกี 1 หลงั (จากวสั ดุรือ้ ถอน จากโรงอาหารเกา่ ) ปรบั ปรงุ และสรา้ งหอ้ งนา้ บรเิ วณอาคารพลศกึ ษาสรา้ งโดมเอนกประสงคใ์ ช้ ในการทากจิ กรรมการเรยี นการ สอน และบรกิ ารหนว่ ยงานตา่ งๆ (ได้รับการสนับสนุนงบประมาณ 8 ลา้ นบาท จากสมาชกิ สภาผ้แู ทน ราษฎรจงั หวดั ชลบรุ ีปี2553) ปรับปรุงแคมปน์ กั กีฬาฟุตบอล โครงการและครฯู (ห้อง 136) จานวน 2,700,000 บาท (เปดิ ใชเ้ มอ่ื วนั ท่ี 13 มถิ ุนายน 2554) 4 คู่มือนักเรียน ผปู้ กครอง และครู
- การสง่ เสรมิ ด้านการพฒั นาการเรียนการสอนได้นาโรงเรียนเชา้ สู่โรงเรยี นผู้นาการ ใชห้ ลกั สูตร พุทธศกั ราช 2551 โดยเริ่มทาการเรยี นการสอนตามหลกั สูตร 2551 ในปีการศกึ ษา 2552 ในระดับชัน้ มัธยมศกึ ษาปที ่ี 1 และช้นั มธั ยมศกึ ษาปีที่ 4 และนาโรงเรียนเขา้ ส่โู ครงการ โรงเรียนมาตรฐานสากล (WORLD CLASS STANDARD SCHOOL) ในปีการศกึ ษา 2552 และเร่มิ สอน หลักสูตรตามแนวทาง โรงเรยี นมาตรฐานสากล (WOULD CLASS STANDARD SCHOOL) ในระดบั ชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ี่ 1 และชนั้ มัธยมศึกษาปที ่ี 4 ในปกี ารศกึ ษา 2553 มีการนานวัตกรรม สื่อ เทคโนโลยี ท่ที ันสมยั เข้ามาร่วมใชใ้ นการ เรยี นการสอน นอกจากน้ีไดพ้ ฒั นาการเรียนการสอน หอ้ งเรยี นพิเศษโครงการจดั การเรียนการสอนเปน็ ภาษาอังกฤษ (ENGLISH PROGRAME เปิดเมอ่ื ปีการศกึ ษา 2548) และโครงการห้องเรียนพเิ ศษ ทีเ่ น้น ทางวทิ ยาศาสตร์ (เปดิ เมื่อปกี ารศึกษา 2549) และการพัฒนาครแู ละบุคลากร รวมทง้ั นักเรยี นดา้ นคุณธรรม จรยิ ธรรมระเบียบวนิ ยั ใหค้ วบคู่กบั ความเป็นเลศิ ดา้ นวชิ าการ พ.ศ. 2554 - 2561 นายอุทยั สงิ ห์โตทอง ดารงตาแหน่งผอู้ านวยการโรงเรยี น เมือ่ วนั ท่ี 8 พฤศจกิ ายน 2554 ทา่ นเป็นศิษย์เกา่ \"สม้ -ฟา้ ” รุน่ \"ฟ้าคราม” จบการศกึ ษา ชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ี่ 3 ปี การศกึ ษา 2517 และมัธยมศกึ ษาปที ี่ 5 ปีการศกึ ษา 2519 โดยมาดารงตาแหนง่ ผชู้ ่วยผู้อานวยการ โรงเรียนชลราษฎรอารุง ช่วงปี 2539 - 2543 ก่อนย้ายไปดารงตาแหนง่ ผู้บรหิ ารโรงเรียนมาแลว้ 5 โรงเรยี น จนกระทงั่ ย้ายกลับมาเปน็ ผู้อานวยการโรงเรยี นชลราษฎรอารุง ด้วยความเปน็ ศิษยเ์ ก่าและครูเกา่ ของโรงเรยี น จึงต้งั ใจทีจ่ ะกลบั มาทางานใหโ้ รงเรียนที่เคยเรียนเคยทางาน เพ่อื ศิษย์ท่ีกาลังศกึ ษาได้จบ การศึกษาอยา่ งมคี ณุ ภาพ มคี วามภาคภูมใิ จในความเปน็ เดก็ ชลชายที่มีทั้งความดี ความรู้ และเป็นพลโลกท่ี มีคณุ คา่ ตลอดระยะเวลาทีด่ ารงตาแหนง่ โรงเรียนไดร้ ับการพัฒนาจนไดร้ บั อาคารเรยี นหลงั ใหม่ ไดแ้ ก่ อาคาร 9 ซ่ึงมที ัง้ ส้ิน 7 ชน้ั ด้วยกัน โดยได้งบสนับสนนุ จากองค์การบริหารส่วนจังหวดั ชลบุรี นอกจากนี้ดา้ น การจดั การเรียนการสอนยังไดร้ ับรางวัลจากหนว่ ยงานตา่ ง ๆ รวมทัง้ ทา่ นผอู้ านวยการไดร้ บั รางวลั ยกย่อง เชดิ ชเู กียรติ เปน็ ผู้ทาคุณประโยชนท์ างด้านการศึกษาเปน็ แบบอยา่ งที่ดใี นด้านการปฏิบตั ิตน การ ปฏิบัติงาน และพัฒนาคณุ ภาพชีวติ ใหด้ ีขึน้ เป็นทปี่ ระจักษ์ตอ่ สาธารณชน พ.ศ. 2561-2562 นายอัมพร อิสสรารกั ษ์ ได้ยา้ ยมา ดารงตาแหนง่ ผู้อานวยการโรงเรียนชลราษฎรอารงุ เมอื่ วันที่ 29 ตุลาคม 2561 ทา่ นมีใจมุ่งมั่นบรหิ าร เพอ่ื พฒั นาโรงเรยี น ชลราษฎรอารงุ ทกุ ดา้ นอย่างเปน็ รปู ธรรม ดาเนินการปรบั โครงสรา้ งการบรหิ ารงานในโรงเรียนออกเปน็ 4 ฝ่ายตาม หลักเกณฑ์และวิธกี ารกระจายอานาจการบริหารและ โรงเรียนชลราษฎรอารงุ 5
การจดั การศึกษา คอื กลมุ่ บริหารงานวชิ าการ กลมุ่ บริหารงานงบประมาณ กลมุ่ บริหารงานบคุ คล และกลมุ่ บรหิ ารงานทว่ั ไป นอกจากนที้ า่ นยงั สนบั สนนุ ส่งเสริมการพัฒนาการศกึ ษาของนกั เรียนดว้ ยการจัด กจิ กรรมการเรียนการสอนท่ีใช้สื่อเทคโนโลยเี ปน็ สอื่ ประกอบการเรยี นรูข้ องนักเรียนใหก้ ้าวไกลทนั ยคุ สมัย นาไปสู่การเรยี นรู้ตลอดชวี ิต และสามารถดารงชีวิตอยู่ในสงั คมได้อย่างมคี วามสขุ เพราะการจะสรา้ งคนให้ดี ใหเ้ กง่ ในวนั นี้ ตอ้ งเอาใจใสใ่ นการสรา้ งความดี ความมวี ินัย ใฝเ่ รียนรู้ใหเ้ กิดแก่ตัวนักเรียน อย่างเขม้ งวด ใน ปริมาณที่เขม้ ขน้ึ ตามลาดับเวลา ด้วยความ เหมาะสม ภายใต้ความเป็นพี่ - นอ้ ง ร่วมสถาบนั ชองนกั เรยี น โรงเรยี นชลราษฎรอารงุ ปจั จบุ นั ดร.รงุ่ ทพิ ย์ พรหมศริ ิ ผอู้ านวยการโรงเรยี น ชลบุรี “สขุ บท” ไดย้ า้ ยมาดารงตาแหน่งผู้อานวยการโรงเรียน ชลราษฎรอารุง เมอ่ื วันท่ี 7 พฤศจกิ ายน 2562 นบั เป็นผ้บู รหิ าร หญิงคนแรกในรอบ 121 ปี ของโรงเรียนชลราษฎรอารุง ด้วย ความเป็นผนู้ าทางวิชาการและนกั พัฒนา ดแู ลเอาใจใสน่ กั เรยี น ทุกดา้ น ทัง้ ความฉลาดทางสตปิ ญั ญา (Intelligence Quotient: IQ), อารมณ์ (Emotional Quotient: EQ) และคณุ ธรรม (Moral Quotient: MQ) โดยสง่ เสริมใหน้ ักเรียนได้รับการเรียนรอู้ ย่างเตม็ ศกั ยภาพ อีกทัง้ สนบั สนนุ สอื่ การเรียนการสอนที่ทันสมัย การจดั บรรยากาศในช้ันเรยี นที่เออ้ื ตอ่ การเรยี นรู้ การปรับปรุงภูมิทัศนใ์ หส้ วยงาม นอกจากนี้ ดร.รุ่งทิพย์ พรหมศิริ มีความมุ่งมนั่ ทีจ่ ะพฒั นานักเรียนใหเ้ ป็น “SMART Students” คอื ร้จู กั แบง่ ปันและมีนา้ ใจ (Share), เป็นเดก็ ดีมคี ณุ ธรรม (Moral), มุ่งมั่นสู่ความสาเร็จ (Achievement), มี ความเคารพนอบนอ้ ม (Respect) และรู้จกั การทางานเป็นทมี (Teamwork) โรงเรยี นชลราษฎรอารุง ภายใต้การบรหิ ารของดร.รงุ่ ทพิ ย์ พรหมศริ ิ ซง่ึ เป็นผู้บริหารที่ให้ความสาคัญ ในการจดั การดว้ ยระบบคุณภาพและบริการดา้ นต่าง ๆ ให้กับนักเรยี น โดยยึดผ้เู รียนเปน็ สาคัญ มงุ่ หวงั ให้ นกั เรยี นมคี วามเปน็ เลิศทางวิชาการ ฉลาดอยา่ งสงา่ งาม และมีความสุขในรว้ั สม้ – ฟ้า เหมาะสมกบั รปู แบบ การศกึ ษา ในศตวรรษท่ี 21 โดยนักเรียนที่สาเรจ็ การศกึ ษาจากโรงเรียนชลราษฎรอารงุ ตอ้ งเปน็ บุคคลทีอ่ ยู่ ในสังคมไดอ้ ย่างมีความสุข เป็นต้นกล้าทพี่ รอ้ มเตบิ โตในทุกสถานการณ์ และเปน็ ผคู้ รองตน ครองคน ครอง งานไดอ้ ย่าง มปี ระสทิ ธิภาพและเกิดประสิทธิผลในสงั คมปจั จุบนั ใหส้ มกบั เป็น “SMART Students” 6 คมู่ ือนักเรยี น ผ้ปู กครอง และครู
ทาเนยี บผู้บรหิ าร โรงเรยี นชลราษฎรอารุง 1. ร.บ.ชม ชมสนุ ทร ป.ป. พ.ศ. 2458 - 2463 พ.ศ. 2464 - 2468 2. ร.อ.ต.พนิ ธุ์ อนนั ตสมบูรณ์ ป.ป. พ.ศ. 2468 - 2468 พ.ศ. 2468 - 2471 3. ร.บ.ไว อุดมวงษ์ พ.ศ. 2472 - 2474 พ.ศ. 2474 - 2476 4. ร.อ.ต.ชัน เชาวพนั ธ์จรัส ป.ม. พ.ศ. 2476 - 2476 พ.ศ. 2476 - 2486 5. นายสงวน โกเศศย์รตั น์ ป.ป. พ.ศ. 2486 - 2491 พ.ศ. 2491 - 2495 6. ร.อ.ต.ยอ้ ย วรสนิ ธุ์ ป.ม. พ.ศ. 2495 - 2498 พ.ศ. 2498 - 2502 7. นายเสงีย่ ม เจริญฮวด (วัฒนธรรม) รกั ษาการ พ.ศ. 2502 - 2502 พ.ศ. 2502 - 2503 8. นายเกอื้ สวุ ณชิ ย์ ป.ม. พ.ศ. 2503 - 2507 พ.ศ. 2507 - 2508 9. นายเทพ เวชพงษ์ ป.ม. พ.ศ. 2508 - 2512 10. นายเรวัติ ชน่ื สาราญ ป.ม. พ.ศ. 2512 - 2517 พ.ศ. 2517 - 2522 11. นายบุญเชียร ศภุ จติ รา ป.ม. พ.ศ. 2522 - 2526 พ.ศ. 2526 - 2530 12. นายมานะ เอ่ียมสกุล ป.ม. พ.ศ. 2530 - 2535 พ.ศ. 2535 - 2540 13. นายสมนึก บารงุ ป.ม., กศ.บ. พ.ศ. 2540 - 2544 พ.ศ. 2544 - 2551 14. นายรวย แก้วจินดา พ.ป. รักษาการ พ.ศ. 2551 - 2554 พ.ศ. 2555 - 2561 15. นายสมนกึ บารุง ป.ม., กศ.บ., M.A. IN ED. พ.ศ. 2561 – 2562 พ.ศ. 2562 - ปจั จบุ นั 16. นายปรีดา แก้วจนิ ดา ป.ป. กศ.บ. รักษาการ 17. นายสมนึก บารงุ ป.ม., กศ.บ., M.A. IN ED. 18. นายสนอง มณภี าค ป.ม., อ.บ., อนุ น.บ. M.A. (SEC.ADMN) CRAD DIP IN ED.ADMN 19. นายสพัสต์ิ พูลผล ป.ป., ว.ท., พ.ม., ธ.บ. 20. นายทววี ัฒน์ อย่ทู วี กศ.บ., M.s. IN ED. 21. นายเจรญิ ลดั ดาพงศ์ พ.ม., กศ.บ. 22. นายสมศักดิ์ ศรีสุวรรณ กศ.บ. (เกยี รตนิ ิยม), พ.ม., M.S. 23. นายชะนะ กมลานนท์ กศ.บ. 24. นายสมศักดิ์ ศรสี วุ รรณ กศ.บ. (เกียรตินิยม), พ.ม., M.S. 25. นายภชุ งค์ บณุ ยรตั นสุนทร กศม. 26. นายอภิสิทธ์ิ ร่นื จติ ร์ กศ.ม. 27. นายอทุ ัย สิงห์โตทอง กศ.บ., กศ.ม. 28. นายอัมพร อิสสรารกั ษ์ กศ.บ., กศ.ม. 29. นางสาวรุ่งทพิ ย์ พรหมศริ ิ กศ.ด., ศศ.ม. โรงเรยี นชลราษฎรอารุง 7
คณะกรรมการสถานศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน โรงเรยี นชลราษฎรอารุง 1. นายวิทยา คุณปล้มื ผทู้ รงคณุ วฒุ ิ ประธานกรรมการ 2. นายอทุ ัย สงิ ห์โตทอง ผูท้ รงคุณวุฒิ กรรมการ 3. นายชาญชัย วทิ ยาวราภรณ์ ผทู้ รงคุณวุฒิ กรรมการ 4. นายสนุ ทร จาเนียรศิลป์ ผทู้ รงคุณวุฒิ กรรมการ 5. นายพินิจ ประเสริฐวทิ ย์ ผูท้ รงคุณวุฒิ กรรมการ 6. นายอโนทยั รสสคุ นธรางกูล ผูท้ รงคณุ วฒุ ิ กรรมการ 7. นายสมบรู ณ์ อดุ มสุข ผทู้ รงคุณวุฒิ กรรมการ 8. พระเทพสุธาจารย์ ผแู้ ทนพระภกิ ษสุ งฆ์ กรรมการ 9. นายสุรศกั ดิ์ ธมั มจิรงั ศรี ผู้แทนองคก์ รศาสนา กรรมการ 10. นางรศั มี ฉมิ ขนั ธ์ ผแู้ ทนผปู้ กครอง กรรมการ 11. นายวินัย คุม้ ครอง ผู้แทนองค์กรชุมชน กรรมการ 12. นายจักรวาล ตัง้ ประกอบ ผู้แทนองค์กรปกครองส่วนทอ้ งถ่ิน กรรมการ 13. นายภุชงค์ บญุ ยรัตนสนุ ทร ผแู้ ทนศิษยเ์ กา่ กรรมการ 14. นายสาทพิ ย์ สีทอง ผู้แทนครู กรรมการ 15. นางสาวร่งุ ทพิ ย์ พรหมศริ ิ ผู้อานวยการโรงเรียนชลราษฎรอารงุ กรรมการและเลขานกุ าร 8 คมู่ อื นักเรียน ผ้ปู กครอง และครู
คณะกรรมการบริหารสมาคมศิษย์เกา่ ชลราษฎรอารุง วาระ พ.ศ. 2564 - 2565 1. ทันตแพทยอ์ านาจ ลิขิตกุลธนพร นายกสมาคม 2. นายภชุ งค์ บุญยรตั นสุนทร อปุ นายก 3. นายธนวัฒน์ ธเนศานนท์ อปุ นายก 4. นายอุทยั สิงหโ์ ตทอง อปุ นายก 5. ดร.ร่งุ ทิพย์ พรหมศิริ เลขาธกิ าร 6. นายชติ ชาย โพธสิ ุนทร เหรัญญกิ 7. นายนติ ิ ววิ ฒั น์วานชิ นายทะเบียน 8. นายไชยวฒั น์ ชัยเจรญิ กลุ ผชู้ ่วยนายทะเบียน 9. นายพรหมเมศ วิสุทธชิ ัย ผู้ช่วยนายทะเบียน 10. นายสมคิด ศิรนานนท์ ปฏคิ ม 11. นายพากรณ์ เฮงตระกลู ผู้ช่วยปฏคิ ม 12. นางสุวสี เฮงตระกลู ผู้ช่วยปฏคิ ม 13. นางวรินทร์พร วรรณา สารานยี กร 14. นายสวุ ิทย์ เกตปุ ระยรู ผชู้ ว่ ยสารานยี กร 15. ดร.วุฒศิ กั ดิ์ ธีระวิทย์ ผู้ชว่ ยสารานียกร 16. นายไพรัช วิถี กิจกรรม 17. นายสพุ ล ล่ีไพฑรู ย์ ผู้ช่วยกิจกรรม 18. นายวงศกร ธนถู นัด ผ้ชู ่วยกจิ กรรม 19. นายนพดล ชนิ วุฒิ ผู้ช่วยกิจกรรม 20. นางสาวธนวรรณ อาษารัฐ ประชาสมั พนั ธ์ 21. นายโชคชัย โรจนศริ ิพงษ์ ผชู้ ว่ ยประชาสมั พันธ์ 22. นายพรเทพ บุญอารีย์ศริ ชิ ยั ผ้ชู ่วยประชาสมั พนั ธ์ 23. นายสมเจตน์ แสงปญั ญาลิขติ ผู้ประสานงาน 24. นายปฤษฎี ธนวัตอัศว ผู้ช่วยผปู้ ระสานงาน 25. ว่าทีร่ ้อยตรีสถาพร สกลุ ทรงเดช ผชู้ ่วยผูป้ ระสานงาน โรงเรยี นชลราษฎรอารงุ 9
คณะกรรมการท่ีปรึกษาสมาคมศษิ ย์เก่าชลราษฎรอารุง 1. นายประซา เตรตั น์ 2. นายสมเจตน์ วริ ยิ ะดารง 3. นายสทุ ัศน์ ต้ังเทวาประสทิ ธิ์ 4. นายเสนยี ์ จติ ตเกษม 5. นายคมสัน เอกชัย 6. นายจรินทร์ จกั กะพาก 7. นายแพทยว์ รรณะ อูนากูล 8. นายวิชิต ชาตไพสฐิ 9. นายสงา่ ธนสงวนวงศ์ 10. นายวิเชยี ร พงษ์พานชิ 11. พลโทธรรมนญู วถิ ี 12. พลตารวจตรีอนันต์ เจริญชาศรี 13. พลตารวจตรีปรีชา เจรญิ สหายานนท์ 14. นายสชุ าติ ชมกลิน่ 15. นายอาทร เตพละกุล 16. นายอภิชาติ วรี ปาล 17. นายศภุ ชัย ธาดากิตตสิ าร 18. นายสมฤกษ์ ประเสริฐวทิ ย์ 19. นายชมุ พล ชิตวิเศษ 20. นายสชุ าติ ศรสี วุ รรณ 21. นายชาญชัย วิทยาวราภรณ์ 22. นายเริงศักดิ์ แสงสุวรรณ 23. นายไมตรี ธนูถนัด 24. นางลออ ดจุ ดา 25. นายมานพ เสมอวงษ์ 26. นายสรุ พงษ์ จริ นฤมติ ร 27. นายมนสั รตั นเนตร 28. นายธวชั ชัย ศรีทอง 29. นายนรศิ นิรามยั วงศ์ 10 คู่มือนักเรียน ผู้ปกครอง และครู
คณะกรรมการบริหารสมาคมผ้ปู กครองและครู 1. นายภชุ งค์ บุญยรตั นสนุ ทร นายกสมาคม 2. ดร.รงุ่ ทพิ ย์ พรหมศริ ิ อปุ นายก 3. นางไพฑรู ย์ บางยีข่ ัน เหรญั ญกิ 4. นางกรรณกิ าร์ หงษ์เจด็ ผู้ชว่ ยเหรัญญกิ 5. นายวโิ รจน์ เสอื ดี เลขานุการ 6. นางสาวฉันทนา มนตว์ เิ ศษ ผูช้ ่วยเลขานุการ 7. นายเชษฐา ปาละกลู ปฏคิ ม 8. นางจุไรรัตน์ สงั ข์ไชย ผู้ช่วยปฏิคม 9. นายทวศี กั ดิ์ บังคม นายทะบียน 10. นางสาววรนารถ พรหมสาขา ณ สกลนคร ผ้ชู ่วยนายทะเบียน 11. นายประสงค์ ทองยิง่ สาราณียกร 12. นางสาวอรศริ ิ จนั่ บารงุ ผูช้ ว่ ยสาราณียกร 13. นายณรงค์ศักดิ์ นาคสมบรู ณ์ กรรมการ 14. ว่าท่ี ร.ท.พเิ ชษฐ จิตรรัตน์ กรรมการ 15. นายมนสั รัตนเนตร กรรมการ 16. นางสาวปณั ณภสั ส์ มวี รรณ กรรมการ 17. นางปยิ วรรณ หอมอเนก กรรมการ 18. นายสมบรู ณ์ สุขอุดม กรรมการ 19. นายธนวฒั น์ ธเนศานนท์ กรรมการ 20. นายวันชาติ กัปปยิ บุตร กรรมการ 21. นายแมนหสั พล ธนทวรี ัตน์ กรรมการ 22. นายเดชณรงค์ ไพบูลยน์ นั ทพงศ์ กรรมการ 23. นายแพทย์ชัยยะ เอี่ยมอารีรัตน์ กรรมการ โรงเรยี นชลราษฎรอารงุ 11
คณะกรรมการทป่ี รกึ ษาสมาคมผปู้ กครองและครู โรงเรยี นชลราษฎรอารุง 1. นายสทุ ัศน์ ต้งั เทวาประสทิ ธิ์ 2. นายพศนิ กลุ ธนโรจน์ 3. นายพนิ ิจ ประเสริฐวทิ ย์ 4. นายสมนกึ อิม่ เลก็ 5. นายสมนกึ บานชื่น 6. นายเสนีย์ โชติสุภา 7. นายธีระพงษ์ เพชรชนะ 8. นายถาวรสทิ ธิ์ งามเรยี บ 9. นายณรงค์ มานะกิจจานนท์ 10. นายสุรศกั ด์ิ ธัมมจิรังศรี 11. นายสรุ ชัย เรืองววิ ัฒนโ์ รจน์ 12. นายเกษม วิรยิ ะประกอบ 13. นายบญุ เสรมิ มงคลดาว 14. นายพิสุทธ์ิ บปุ ผเวส 15. นายอทุ ยั สิงหโ์ ตทอง 16. นางสอุ ร สาคร 12 คู่มอื นกั เรยี น ผ้ปู กครอง และครู
วสิ ัยทัศน์ พนั ธกจิ เปา้ ประสงค์ โรงเรยี นชลราษฎรอารงุ วสิ ยั ทศั น์ (Vision) โรงเรียนชลราษฎรอารุงเปน็ สถานศกึ ษาช้นั นา จดั การศกึ ษาอย่างมีคณุ ภาพตามมาตรฐานสากล รกั ความเป็นไทย นอ้ มนาหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง ก้าวทนั เทคโนโลยี รองรบั เขตพฒั นาพิเศษภาค ตะวนั ออก พันธกิจ (Mission) 1. พฒั นาการบริหารจดั การอย่างเป็นระบบและมคี ณุ ภาพ 2. ส่งเสริมความเป็นเลิศทางวิชาการ 3. ส่งเสรมิ การเรยี นรอู้ ยา่ งหลากหลายเพ่ือสนองความต้องการตามความถนัดของนักเรยี น 4. พัฒนาการศึกษาใหม้ ีคุณภาพตามมาตรฐานสากล 5. พฒั นาหลกั สตู รสถานศึกษาตามมาตรฐานสากล และหลักสูตรสถานศกึ ษาเพื่อรองรับเขตพัฒนา พิเศษภาคตะวันออก (EEC) 6. สง่ เสริมประชาธิปไตย มีภาวะผ้นู าเคารพกติกาของสังคม และมคี วามรับผดิ ชอบต่อสังคมโลก โดยเน้นความเปน็ ไทยตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง 7. สนับสนนุ และส่งเสริมใหน้ ักเรยี นสบื คน้ หาความร้ดู ว้ ยเทคโนโลยที ่ที นั สมยั พร้อมทัง้ สง่ เสรมิ ให้ นักเรียนเห็นคณุ คา่ ของสิง่ แวดล้อม มสี ว่ นร่วมในการอนรุ กั ษ์และพฒั นาสง่ิ แวดล้อม 8. พัฒนาครแู ละบุคลากรทางการศึกษาใหม้ ีคณุ ภาพและมาตรฐาน มคี ณุ ธรรมและมคี ณุ ภาพชีวิตท่ีดี 9. สนับสนนุ และสง่ เสริมใหช้ มุ ชนมสี ว่ นร่วมในการพฒั นาการศกึ ษา 10. เสริมสรา้ งคณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ คณุ ลักษณะผู้เรียนในศตวรรษท่ี ๒๑ และรกั ษส์ ิ่งแวดลอ้ ม โรงเรยี นชลราษฎรอารุง 13
เปา้ ประสงค์ (Goals) 1. โรงเรียนบรหิ ารจดั การศกึ ษาดว้ ยระบบคุณภาพตามหลกั ธรรมาภิบาล มีการกระจายอานาจ เนน้ การมสี ่วนร่วมจากทุกภาคส่วน และมกี ารนเิ ทศ กากับ ตดิ ตาม ตรวจสอบผลอยา่ งเปน็ ระบบ 2. โรงเรียนจดั กจิ กรรมส่งเสรมิ ใหน้ กั เรยี นเปน็ บคุ คลแหง่ การเรียนรู้ รกั การเรยี นรตู้ ลอดชวี ิต รักการอ่าน มีความร้เู ป็นสากล เรยี นดี ประพฤตดิ ี มรี ะเบยี บวินัย มีความสามคั คี มีภาวะผู้นา มีบุคลิกภาพดี มคี วามมน่ั ใจในตนเอง ฉลาดอย่างสงา่ งาม 3. ผเู้ รียนไดร้ บั การเรยี นร้อู ย่างหลากหลายมีคณุ ภาพตามมาตรฐานการศึกษา ไดศ้ ึกษาความถนัดและ ความตอ้ งการอย่างเต็มศกั ยภาพ เป็นคนเก่ง คนดี คนมคี วามสุข มคี วามรู้ ความสามารถตามมาตรฐานสากล 4. โรงเรียนมีหลักสูตรสถานศกึ ษาทีส่ ่งเสรมิ ความเป็นเลิศทางวิชาการตามมาตรฐานสากล และจัดการ เรยี นการสอนตามหลกั สตู รสถานศกึ ษาเพอื่ รองรับเขตพฒั นาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (EEC) 5. โรงเรยี นจัดกจิ กรรมสง่ เสริมความเป็นประชาธิปไตย ใหผ้ ู้เรียนมีความรแู้ ละเป็นผ้นู าและผตู้ ามทดี่ ี มี สุขภาพกายสขุ ภาพจติ ดี มคี วามสามารถในการสอ่ื สาร มีวนิ ยั มคี ณุ ธรรมจรยิ ธรรม มีความภูมิใจใน ศิลปวัฒนธรรมไทย รักความเปน็ ไทย เคารพกติกาของสังคม มคี วามรับผดิ ชอบต่อสังคมโลกและนอ้ มนาหลัก ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งสูก่ ารดารงชวี ิต 6. โรงเรียนพัฒนาสือ่ นวัตกรรม สภาพแวดล้อมและแหลง่ เรียนรอู้ ยา่ งมคี ณุ ภาพ เอือ้ ตอ่ การพัฒนา ผู้เรยี น และให้ผเู้ รียนมีส่วนร่วมในการอนรุ กั ษ์และพัฒนาส่งิ แวดล้อม 7. ครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษา ได้รับการพฒั นาศกั ยภาพตามมาตรฐานวิชาชพี สมู่ าตรฐานสากลใน โลกแหง่ ศตวรรษท่ี ๒๑ พัฒนาท้ังดา้ นความรู้ เจตคตแิ ละทักษะปฏบิ ัตอิ ยา่ งต่อเนอ่ื ง จนสามารถจัดการเรยี น การสอนตามมาตรฐานสากลและจดั การเรียนการสอนตามหลกั สตู รสถานศกึ ษาเพื่อรองรับเขตพฒั นาพิเศษ ภาคตะวนั ออก (EEC) 8. ชุมชน ผปู้ กครอง และภาคเี ครือขา่ ย มสี ว่ นรว่ มในการสง่ เสริมสนบั สนุนการจัดการศึกษาทม่ี ีคณุ ภาพ 14 คมู่ ือนักเรียน ผ้ปู กครอง และครู
แผนผังโรงเรียนชลราษฎรอารุง โรงเรียนชลราษฎรอารงุ 15
ชื่ออาคารและห้องประชมุ อาคาร ซือ่ อาคาร อาคาร 1 หลวง วรพินิจบรุ พาการ ชื่อบคุ คลผอู้ ุทศิ เรือน 1 หลงั เปน็ ทต่ี ้ัง โรงเรยี น ช่ัวคราว คร้งั แรก(พ.ศ. 2441) / ห้องประชมุ ชัน้ 1 (116) อาคาร 2 ราษฎรร่วมจิต ชอ่ื หอ้ ง “ดาวเรอื ง” อาคาร 3 นารถ มนตเสวี เปน็ ช่อื อาคารเรียนทต่ี ้งั ไวแ้ ตเ่ ดมิ อาคาร 4 เฉลมิ พระเกียรติ 72 ผูว้ า่ ราชการจังหวดั ชลบรุ ี (พ.ศ. 2508) ผนู้ าการจดั หาท่ดี ิน พรรษามหาราช เพื่อย้ายโรงเรียนมาต้งั ในที่ปัจจุบัน ซง่ึ เปน็ ทด่ี นิ (ส่วนสนามบนิ ) ชองกองทพั อากาศ เป็นชอ่ื เดิมตงั้ ไวใ้ นปี เฉลิมพระเกียรติ 72 พรรษา รชั กาลท่ี 9 (พ.ศ. 2539) หอ้ งประชมุ 421 ( ช้ัน 2) ช่ือหอ้ ง\"ผกากรอง'' หอ้ งประชุม 422 (ช้นั 2) ช่ือหอ้ ง\"ทองอุไร'' อาคาร 5 ชมสุนทร เปน็ ชือ่ ครูใหญค่ นแรก ภายหลังรวมสองโรงเรียน เช้าด้วยกนั และเปดิ สอนแบบสหศกึ ษา พ.ศ. 2460 อาคาร 6 สมาคมศิษยเ์ ก่าชลราษฎรอารุง (แนะแนว) - สมาคมศษิ ยเ์ ก่าฯเป็นผ้สู รา้ งไว้ (ปที ่สี ร้าง พ.ศ. 2531) จึงใช้เป็นชอ่ื อาคาร หอ้ งประชมุ (ช้ัน 2) ช่ือหอ้ ง “ปาริชาต”ิ อาคาร 7 กลมุ่ อาคาร ศนู ย์กีฬาและนนั ทนาการ (พ.ศ. 2523) ประกอบดว้ ย อาคาร 7/1 ชือ่ อาคาร “'อุดมพิทยากร” เป็นชื่ออาคารเรียนเปน็ ทางการ อาคาร 7/2 หลงั แรก (พ.ศ. 2443) อาคาร 7/3 ชื่ออาคาร “อบจ.อทุ ศิ ” ช้นั ล่าง เป็นห้องเรยี นและศนู ย์การ อาคาร 8 พระยาสัจจาภิรมย์ เรยี นบน หอ้ งประชมุ ชอ่ื หอ้ ง“สารภี\" ห้องประชุม อาคารศนู ย์กฬี าฯ ช่อื หอ้ ง\"กาสะลอง'' อาคาร 9 เป็นช่ือ ข้าหลวงประจาจังหวัดชลบรุ ี ผเู้ ป็นประธานใน พิธเี ปดิ โรงเรยี น ภายหลังท่ีรวมโรงเรยี นพนิ จิ บุรพการ และ โรงเรยี นอดุ มพิทยากร เข้าด้วยกนั เปน็ โรงเรยี น ประจาจงั หวดั ชลบุรี (พ.ศ. 2460) ห้องประชุม ชัน้ 3 ชื่อหอ้ ง\"ยงู ทอง'' เป็นอาคารเรียนคอนกรตี เสริมเหลก็ 7 ชนั้ สนบั สนุนโดย องคก์ ารบริหารสว่ นจงั หวัดชลบุรี 16 คูม่ อื นกั เรยี น ผปู้ กครอง และครู
โรงเรียนชลราษฎรอารงุ 17
ผูบ้ ริหารโรงเรยี นชลราษฎรอารงุ ดร.รงุ่ ทิพย์ พรหมศริ ิ ผู้อานวยการโรงเรียนชลราษฎรอารงุ นางสาวเดอื นเพ็ญ ตันเงิน นางสาววริ าภรณ์ ส่งแสง นางศรณั ย์กร ชัยพพิ ัฒน์ รองผอู้ านวยการ รองผู้อานวยการ รองผอู้ านวยการ 18 คู่มือนักเรียน ผูป้ กครอง และครู
กล่มุ สาระการเรยี นรคู้ ณิตศาสตร์ น.ส.ฉนั ทนา มนต์วเิ ศษ นางศรปี ระไพ เลศิ ฤทธม์ิ หาชัย นายรณชยั พลอยเพ็ชร น.ส.สมอาภรณ์ บตุ รศาสตร์ ว่าท่ีร้อยโทนภดล จนิ ตประสาท นายพพิ ัฒน์ แตงจวง นางอัญชนา กิจสมคั ร นางวัลภา เกยี รตบิ ญุ ญาฤทธิ์ นางสาลินี พานจนั ทร์ น.ส.กัลยา อมั พุชินวี รรณ นายจติ บณุ ย์ กุลสวุ รรณ น.ส.มณนี ุช พรหมอารักษ์ น.ส.ปูน บตุ รี นางกมลวรรณ ประการะสังข์ นายอากร พทุ ธรักษา น.ส.อรพรรณ วรรตั น์ญานนท์ นายกุลชลติ สวัสดิกูล นางจนั ทมิ า บญุ เจรญิ นายศิวนาท เนตรพระ นายธมั มธาดา อวู่ ิเชยี ร โรงเรยี นชลราษฎรอารุง 19
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ น.ส.ชลกานต์ ชมภู น.ส.สริ ริ ญั ญา ใจปนิ นางพรี ยา แจ่มใส น.ส.ณฐั วดี ดสุ ดี น.ส.จนั จริ า ไหมออ่ น นายสธุ รรม ดารงศานติ นางชตุ มิ นั ต์ โรจนะ กจิ กรรมพัฒนาผู้เรยี น น.ส.วิมพ์วิภา ศรวี ชิ ชทุ ศั นยี ์ น.ส.ภณชิ ชา อุดมเลศิ ปรชี า น.ส.ภมี ภา ลอยวเิ วก น.ส.สุวิมล ศริ ิตรานนท์ น.ส.สาธิลักษณ์ ศรเี ผดจ็ นายวัฒนพงศ์ ล้วนเสง้ น.ส.ศรณั ยร์ ัฐ บตุ รงาม 20 คู่มือนักเรยี น ผ้ปู กครอง และครู
กล่มุ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี นายธนายตุ จันทราเขต นายมณเฑยี ร สง่ เสรมิ น.ส.สุวะนิต สุระสังข์ นายสารวชิ สงิ หค์ ราม น.ส.ศุภวรรณ ศิริพพิ ัฒนกลุ นางจารณุ ี รตั นพาหิระ น.ส.วนั ดี แนบเชย นายเอกราช นวศรีพงศ์ นายสาทิพย์ สีทอง นายเขตรัตน์ จนั ทะศรี นางวัชรี ทองเนยี ม นางไพรตั น์ วงษบ์ ูรณาวาทย์ นางกัณปรชี าญาณ์ สุวรรณศิลป์ นางชฎาวรรณ อบุ ลวรรณ นางรกั ชนก กติ ติกานดาพร นายสรรพวัต อตู่ ะเภา น.ส.พนารัตน์ พนั ธส์ มพงษ์ น.ส.ภทรษร พลอยงาม น.ส.ปณั ณภัสส์ มวี รรณ น.ส.นนั ทา ศรแี ก้ว โรงเรียนชลราษฎรอารงุ 21
กลมุ่ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี นายชยั ชติ บุญมปี ระเสรฐิ น.ส.เกตวุ ดี ทกั ษณิ าจารี นายไพโรจน์ ชัยวฒั น์ น.ส.ทรรศนาภรณ์ วงคค์ าจนั ทร์ น.ส.ปทั มาพร ณ นา่ น น.ส.จนิ ตนา อินทนาม น.ส.เมธนิ ี เพชรคง นายนวพล กิตติวงศา นายพิชญะ วยั วฒุ ิ น.ส.ศศิวิภา ศริ โิ ท น.ส.อุษา มะลคิ า น.ส.ภทั รธริ า ทว่ั ไธสง 22 คมู่ ือนักเรยี น ผู้ปกครอง และครู
กลมุ่ สาระการเรยี นรสู้ ังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม นางวสชิ า พ้นภยั พาล น.ส.ลักษณา วัฒนะ นายสนธยา ณ ปตั ตานี น.ส.วนสิ า บรุ ีเทศน์ นางกรรณิการ์ หงษ์เจด็ นางฐนษร นรนิ ทรางกูล ณ อยธุ ยา นางมธุรดา ตนั เจรญิ น.ส.ฐิตารยี ์ ศริ ิธรนศานต วา่ ท่ี ร.ต.หญิงกฤษณา งอกงาม น.ส.อไุ รรตั น์ แนบเชย นายคณศิ ร แจ่มรศั มี น.ส.หทัยรัตน์ บัวภา นางพเยาว์ สายชล นายวรวฒุ ิ วจิ ารณ์พล น.ส.วรวลัญช์ ฤกษ์ประสาทพร น.ส.พรพิชญ์ ประภาพนั ธ์ นายอภิสทิ ธิ์ พาไหม น.ส.ณฐั วดี เอนก นายคณพศ อิทเคหะ นายคณุ ากร ปยิ มาภรณ์ น.ส.นัฎฐิวรรษา สริ ปิ ฐมภูษติ โรงเรยี นชลราษฎรอารงุ 23
กลมุ่ สาระการเรยี นรภู้ าษาไทย นายอุดม สิงหโ์ ตทอง นางอัจฉรา สรอ้ ยตัน นางกุหลาบ สาราญสขุ น.ส.รงุ่ นภา มงั่ คงั่ นายพงศศ์ ริ ิ ปติ ะธารา น.ส.โศรยา พงษธ์ นู น.ส.กญั กนษิ ฐ์ สรุ ิยาสุวรรณ น.ส.เกวลนิ พวงพลบั นายวิทยานันท์ บญุ กอง นายสปุ ระดิษฐ์ จักกะพาก น.ส.ณัชฌาภรณ์ จันทรต์ รี น.ส.จรุ วี ลั ย์ เทพคูบอน น.ส.สชุ ญา พระปรง นางมสั ยา คาใสหลอด นางรตั นา วงศ์ยัง 24 คูม่ ือนกั เรยี น ผปู้ กครอง และครู
กลมุ่ สาระการเรยี นรู้สขุ ศึกษาและพลศกึ ษา นายศานติ โหนแหยม็ นายอธปิ ัตย์ ธารประเสริฐ นายชัยธวชั ศรประดิษฐ์ นายทศั น์ไชย เจริญพิรยิ ะเวศ น.ส.อศิ รา เจนจัดการ กลุ่มสาระการเรียนรกู้ ารงานอาชพี นางเสาวรตั น์ สายถิน่ นางวัลภา เจยี มจุ้ย นายกรกจิ ไชยปญั หา วา่ ที่ ร.ต. บญุ สม จนั เจก๊ น.ส.เพ็ญศรี ศรโี ยธี นายชาตรี ดมี ีศรี นายกรี ติ ต้นจนั ทร์ นายวชั รสนิ ธ์ุ เพง็ บบุ ผา น.ส.ศภุ ิสรา รองาม น.ส.ศภุ มาส เขม็ ทอง น.ส.จันทมิ า ดโี ว น.ส.สริ ิภร แสงศกั ด์ิ น.ส.ชลกร มานอก น.ส.นรศิ า สุวนั วงศ์ โรงเรยี นชลราษฎรอารุง 25
กล่มุ สาระการเรยี นรูศ้ ิลปะ นายสรุ ศักด์ิ ดษิ ฐปาน น.ส.ชญานศิ า แก้วคาเจรญิ น.ส.บุษบง วรบตุ ร นายสกลธ์ ดอกลัดดา นายคุณากร ภปู่ ระจาศิลป์ นางจติ เกษม ช่ืนชม น.ส.ณัฐธภา เหล่าตระกูล น.ส.กนกวรรณ บญุ เรือง น.ส.สภุ าพร มาสมบูรณ์ น.ส.คัทลียา อนุมาตร กลุม่ งานคอมพิวเตอร์ น.ส.วรนชุ แสงจนั ทร์ น.ส.วนั วสิ า นาประสทิ ธิ์ นางอุบล รตั นศรีสอางค์ นายพงศธร คาใสหลอด น.ส.นพณัฐ จอ้ ยทอง นายวชริ า พาเจริญ น.ส.สชุ ารี พนู ปาล นายวษิ ณุ พรจริยธรรม นายทศพร ชฤู ทธิ์ นายนครนิ ทร์ ทรัพย์วิรยิ า นายจักรกฤษ แสนสวสั ด์ิ น.ส.เยาวพรรณ ฉิมมานิตย์ 26 คู่มอื นกั เรยี น ผูป้ กครอง และครู
กลุ่มสาระการเรยี นรภู้ าษาต่างประเทศ นางนภาลกั ษณ์ ตง้ั อรณุ ศลิ ป์ นางบปุ ผา คงงาม นางนงลักษณ์ กังสดาร นางนวลรัตน์ นูแป นางจไุ รรัตน์ สงั ขไ์ ชย น.ส.ประภา ลิมปรุง่ พัฒนกิจ นางปารมี พลงั นางศริ าพร อนนั ต์ทรัพยย์ ิ่ง น.ส.พัทธานันท์ แก้วโต น.ส.ปฐมาภรณ์ ฤทธิก์ นั โต น.ส.นลินี รอดเงนิ น.ส.ชนม์นิภา สขุ โข น.ส.กมลกานต์ เอี่ยมแพร์ น.ส.ปาหนนั พรมกุล น.ส.ครองขวญั นนั ตะ๊ แขม น.ส.ดวงจันทร์ คาเกตุ นายสขุ อนนั ต์ รตั นโยธิน นางยุราพร เสลาลักษณ์ นางสาวมณีรัตน์ นกึ ไฉน Mr. Danilo Roxas Mr. Eduardo Fuentes Munez โรงเรียนชลราษฎรอารุง 27
หลกั สตู รกระทรวงศึกษาธกิ ารเป็นภาษาองั กฤษ (English Program) น.ส.วารณุ ี สุรงั สี น.ส.เรวดี มสี ุข น.ส.อรัญญา เปลง่ วัน น.ส.หฤทัย ยวุ นะวณชิ น.ส.ฐติ ยิ า โรจนสวสั ด์ิสขุ น.ส.นติ ยา มนประภากมล น.ส.ปตี ะวรรณ อุสนิ ธุ์ นางจารุวรรณ อโสโก น.ส.บัวบชู า ชมกลิ่น นางอญั ชลี ชุนกล้า Miss MA. Theresa Guzon Aldaba Miss Denjel Gay Remotigue Casona Miss Luzviminda Verdejo seroy Mrs. Girlie Sacro Pepe Mr. Francis Paul Navarro Buisa Mr. Marvin Esparagoza Servallos นายเสกสรรค์ ไชยสทิ ธ์ิ Mr. Edward Parn Miss Stephanie Lizeth Castelanos Miss Genevieve Ann Boyle Miss Iryna Vlizko Mr. Ronald Vallecer Gadian 28 ค่มู ือนกั เรียน ผู้ปกครอง และครู
บคุ ลากรสานกั งาน นายกีรตกิ านต์ ตอ่ พงษพ์ นั ธ์ น.ส.โสรญา ธนกิจอานวย นางสายใจ ปานแดง นายศุภสทิ ธิ์ สร้อยทอง นางวาสนา ดมี ีศรี (วิชาการ) (วิชาการ) (ทว่ั ไป) (ประชาสัมพันธ)์ (ธนาคาร) น.ส.สรญั ธรณ์ อทั ธศรัญรศั ม์ น.ส.นริศรา วมิ ลรตั น์ นายภัทธยิ ะ คงประสม น.ส.ยุพา แววพลอย น.ส.นันทรตั น์ เสง่ียมวงษ์ (เลขานกุ าร) (ธรุ การ) (ธุรการ) (ธรุ การ) (ธุรการ) น.ส.จารุวรรณ เลยี่ มเปี่ยม นายณฐั วฒุ ิ มหากัณฑ์ นายวีรภัทร เตรียมสกุล นายสรนันทร์ สุขจติ นายจักรกฤษณ์ หาดไร่ (ห้องสมดุ ) (กิจการนักเรยี น) (กิจการนกั เรียน) (กิจการนกั เรยี น) (กิจการนักเรียน) นายวิทิต ดวงมาลา (กจิ การนกั เรยี น) โรงเรียนชลราษฎรอารุง 29
30 คมู่ ือนกั เรยี น ผปู้ กครอง และครู
โรงเรียนชลราษฎรอารงุ 31
ความสัมพันธข์ องการพัฒนาคุณภาพผเู้ รียนตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขัน้ พ้ืนฐาน วิสยั ทัศน์ หลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน มงุ่ พฒั นาผเู้ รยี นทกุ คน ซงึ่ เปน็ กาลงั ของชาตใิ หเ้ ปน็ มนษุ ยท์ มี่ คี วาม สมดลุ ทง้ั ดา้ นรา่ งกาย ความรู้ คณุ ธรรม มจี ติ สานกึ ในความเปน็ พลเมอื งไทยและเปน็ พลโลก ยดึ มน่ั ในการปกครองตาม ระบอบประชาธปิ ไตยอนั มพี ระมหากษตั รยิ ท์ รงเปน็ ประมขุ มคี วามรแู้ ละทกั ษะพนื้ ฐาน รวมทงั้ เจตคติ ทจี่ าเปน็ ตอ่ การศกึ ษาตอ่ การประกอบอาชีพและการศึกษาตลอดชีวิต โดยมุง่ เนน้ ผู้เรยี นเป็นสาคัญบนพ้นื ฐานความเช่อื ว่า ทุก คนสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองไดเ้ ตม็ ตามศักยภาพ จุดหมาย ๑. มีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมที่พึงประสงค์ เห็นคุณค่าของตนเอง มีวินัยและปฏิบัติตนตาม หลกั ธรรมของพระพุทธศาสนา หรือศาสนาท่ตี นนับถือ ยดึ หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง ๒. มคี วามรอู้ ันเปน็ สากลและมคี วามสามารถในการส่ือสาร การคิด การแกป้ ัญหา การใช้เทคโนโลยี และมที กั ษะชีวติ ๓. มสี ขุ ภาพกายและสขุ ภาพจติ ท่ดี ี มีสขุ นสิ ยั และรกั การออกกาลังกาย ๔. มีความรกั ชาติ มีจติ สานึกในความเปน็ พลเมืองไทยและพลโลก ยึดมนั่ ในวถิ ีชีวิตและการปกครองใน ระบอบประชาธปิ ไตยอันมพี ระมหากษตั รยิ ์ทรงเป็นประมุข ๕. มจี ิตสานึกในการอนุรกั ษ์วัฒนธรรมและภมู ิปัญญาไทย การอนุรกั ษ์และพัฒนาส่ิงแวดลอ้ ม มจี ติ สาธารณะที่มุ่งทาประโยชนแ์ ละสรา้ งส่งิ ทด่ี งี ามในสังคม และอยู่ร่วมกันในสงั คมอยา่ งมีความสุข สมรรถนะสาคญั ของผ้เู รียน คณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์ ๑. ความสามารถในการส่ือสาร ๑. รกั ชาติ ศาสน์ กษตั รยิ ์ ๒. ความสามารถในการคดิ ๒. ซอื่ สตั ยส์ จุ รติ ๓. ความสามารถในการแก้ปัญหา ๓. มีวนิ ัย ๔. ความสามารถในการใชท้ กั ษะชวี ติ ๔. ใฝ่เรียนรู้ ๕. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี ๕. อยอู่ ย่างพอเพยี ง ๖. มงุ่ มั่นในการทางาน ๗. รกั ความเปน็ ไทย ๘. มีจิตสาธารณะ มาตรฐานการเรียนรูแ้ ละตัวชว้ี ดั ๘ กลมุ่ สาระการเรียนรู้ กจิ กรรมพฒั นาผู้เรียน ๑. ภาษาไทย ๒. คณติ ศาสตร์ ๓. วทิ ยาศาสตร์ ๑.กิจกรรมแนะแนว ๒.กจิ กรรมนกั เรยี น ๔. สงั คมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ๕. สุขศึกษาและพลศกึ ษา ๖. ศลิ ปะ ๓. กิจกรรมเพื่อสงั คมและสาธารณประโยชน์ ๗. การงานอาชพี และเทคโนโลยี ๘. ภาษาตา่ งประเทศ คณุ ภาพของผู้เรยี นระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน 32 คมู่ อื นกั เรยี น ผู้ปกครอง และครู
โรงเรียนชลราษฎรอารงุ 33
34 คมู่ ือนกั เรยี น ผปู้ กครอง และครู
โรงเรียนชลราษฎรอารงุ 35
36 คมู่ ือนกั เรยี น ผปู้ กครอง และครู
โรงเรียนชลราษฎรอารงุ 37
38 คมู่ ือนกั เรยี น ผปู้ กครอง และครู
โรงเรียนชลราษฎรอารงุ 39
40 คมู่ ือนกั เรยี น ผปู้ กครอง และครู
โรงเรียนชลราษฎรอารงุ 41
42 คมู่ ือนกั เรยี น ผปู้ กครอง และครู
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128