Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 25 Phetburi

25 Phetburi

Published by E-Book Library NFE Bangnamphueng, 2019-01-31 02:54:15

Description: 25 Phetburi

Keywords: Phetburi

Search

Read the Text Version

5. งานช่างทอง งานศิลปหัตถกรรมเคร่ืองทองรูปพรรณแบบโบราณ เป็น สัญลักษณ์อย่างหนึ่งของจังหวัดเพชรบุรี ที่มีชื่อเสียงเป็นท่ี ยอมรับกนั ทว่ั ไปวา่ เป็นผลงานดา้ นหัตถศลิ ป์ทม่ี ีคุณคา่ มีความ ประณีต งดงาม แสดงถึงเอกลกั ษณแ์ หง่ ภมู ิปัญญาทีผ่ สมผสาน กับฝมือของช่างทองเพชรบุรี ที่มักสอนหรือถ่ายทอดให้คนใน ครอบครัว และผู้ทม่ี ีใจรกั ในศิลปะ จากหลกั ฐานทป่ี รากฏ ชา่ งทองคนแรกของจงั หวัดเพชรบรุ ี คือ นายหวน ตาลวันนา หลังจากน้ันก็มีตระกูลช่างอ่ืนๆ ท่ีสืบสานงานศิลปหัตถกรรมเครื่องทองจนเป็นที่รู้จักกันดี ใน เวลาต่อมา คือ ช่างทองตระกูล “สุวรรณช่าง” ตระกูล “ทองสมั ฤทธิ์” ตระกูล “ชูบดินทร์” ตระกูลชา่ งทองเหล่าน้ี ได้ ถ่ายทอดความรู้ด้านงานช่างทองแก่ลูกหลานและศิษย์ไว้หลาย คน แตส่ ่วนใหญ่เสยี ชีวติ ไปเกือบหมดแลว้ บางคนอายุมากและ สุขภาพไม่ดีจึงเลิกท�าทอง มีแต่ นางเน่ือง แฝงสีค�า ช่าง ทองเชื้อสายตระกูล “ชูบดินทร์” เพียง คนเดียวท่ียังคง ทา� ทองอยจู่ นถงึ ปัจจบุ ัน ลักษณะเด่นของทองรูปพรรณของช่างทอง เชอ้ื สาย ตระกลู “ชบู ดนิ ทร”์ เปน็ การผสมผสานระหวา่ ง งานช่างกับศิลปะอย่างสมดุล เป็นผลงานท่ีเกิดจาก ความรู้ ผสานกับอารมณ์ ความรู้สึกและใจรัก งานทุก ช้นิ จงึ มีลักษณะเดน่ เฉพาะตัว ให้อารมณ์ความรูส้ กึ ทลี่ กึ ซึ้ง สร้างสรรค์ ไม่เลียนแบบผู้ใด และมีความประณีตงดงาม 150

6. งานแทงหยวก คือ ขั้นเตรยี มหยวกกลว้ ย ขั้นแทงลวดลายลงบนหยวก และขนั้ ประกอบเปน็ ลายชดุ การแทงหยวกหรอื การสลกั หยวกกลว้ ยนน้ั การสลักหยวก หรือ การแทงหยวก เป็นงานฝม ือประเภท ผู้ที่เป็นช่างจะต้องได้รับการฝกหัดจนเกิดความช�านาญ เพราะ ช่างสลักของอ่อน ที่สืบทอดกันมาหลายร้อยป โดยมีประเพณี ช่างจะไม่วาดลวดลายแต่จะจับมีดปลายแหลมสองคมแล้ว ที่เก่ียวเนื่องกับการแทงหยวกกล้วย 2 อย่าง คือ การโกนจุก ลงมอื สลกั ลงบนหยวกกนั เลยทเี ดยี ว จงึ เรยี กวา่ “การแทงหยวก” และการเผาศพ (โดยเฉพาะศพผู้ท่ีมีฐานะปานกลางไปข้ึนไป) ซึ่งประเพณีการโกนจุก จะมีการจ�าลองเขาพระสุเมรุตามความ ช่างแทงหยวกช่ือดังของเมืองเพชรคือ นายประสม เชื่อ แล้วตกแต่งภูเขาด้วยรูปสัตว์ต่างๆ ส่วนภูเขาพระสุเมรุ สุสุทธิ ผู้ถวายงานแทงหยวกประดับตกแต่งพระจิตกาธาน จะต้ังอยู่ตรงกลางร้านม้า ซ่ึงท�าโครงสร้างด้วยไม้แล้วหุ้มด้วย ในงานพระราชพิธีพระราชทานเพลิงพระศพ สมเด็จพระศรี หยวกกล้วยแกะสลักเป็นลวดลายต่างๆ ประเพณีการเผาศพ นครินทราบรมราชชนนี ในวันที่ 9 มีนาคม พ.ศ.2539 และ ก็เช่นกันจะท�าร้านม้าซ่ึงท�าโครงสร้างด้วยไม้ แล้วประดับด้วย เคยถวายงานแทงหยวกตกแต่งพระจิตกาธานในงานพระราช หยวกกลว้ ยแกะสลักอยา่ งงดงาม พิธีพระราชทานเพลิงพระศพ สมเด็จพระเจาพี่นางเธอฯ กระบวนการแทงหยวกน้ัน ต้องเริ่มจากการ พระเมรมุ ณฑลพธิ ที อ้ งสนามหลวงในวนั ท่ี14พฤศจกิ ายน ไหว้ครู เพื่อร�าลึกถึงครูอาจารย์ มีธูป 3 ดอก พ.ศ. 2551 ปจั จบุ นั แมล้ งุ ประสมจะเสยี ชวี ติ ลงแลว้ เทียนขีผ้ ง้ึ 1 เล่ม ดอกไม้ 3 สี สุรา 1 ขวด แต่งานแทงหยวกสกุ ลช่างประสม ก็ได้รับการ ผ้าขาวม้า 1 ผืน เงินค่าครู 142 บาท สืบทอดโดยลูกหลานในตระกูล อีกทั้งเม่ือ ข้ันตอนการแทงหยวกและประกอบ ลงุ ประสมยงั มชี วี ติ อยู่ กไ็ ดถ้ า่ ยทอดศลิ ปะ เข้าเป็นลายชุด มี 3 ข้ันตอนใหญ่ๆ แขนงน้ีให้กับเด็กและเยาวชนในจังหวัด เพชรบรุ ีดว้ ย Phetchaburi 151

7. งานตอกกระดาษ งานตอกกระดาษ คือการน�ากระดาษมาสลักโดยการตอก ด้วยสิ่วให้เป็นลวดลายต่างๆ มีท้ังลายไทย รูปสัตว์ในวรรณคดี สิบสองนักษัตร หรือลายประดิษฐ์อย่างอื่นตามต้องการ ใช้ ส�าหรับประดับหรือตกแต่งสถานท่ี หรือเคร่ืองมือเครื่องใช้ ส�าหรับเมืองเพชรบุรีน้ันจะใช้งานตอกกระดาษท�าเป็นลายไทย แล้วน�ามาติดประดับที่ “ลูกโกศ” ซึ่งเป็นโกศขนาดใหญ่บรรจุ กระดูกที่ล้างท�าความสะอาดแล้วส�าหรับตั้งบ�าเพ็ญกุศล ไม่ เพยี งงานศพเทา่ น้นั แตง่ านตอกกระดาษยงั น�ามาใช้ในงานบุญ เช่น งานบวชและงานแต่งงาน โดยมักใช้กระดาษสีสดใสท�า เป็น “ธงราว” โดยมีลวดลายที่ตอกเป็นลายไทย หรือรูปสัตว์ท้ัง 12 นักษัตร แล้วน�ามาแขวนเรียงราย สร้าง สสี นั และบรรยากาศภายในงาน และใน งานบุญน้ีเราก็มักจะเห็นธงราวอยู่ คู่กับ “พวงมะโหตร” หรือเครื่อง ตกแต่งกระดาษอีกแบบหน่ึง ที่ใช้วิธีการพับเป็นทบและตัด และเม่ือคล่ีกระดาษออกมา ก็จะกลายเป็นพวงระย้าสีสัน สดใสสวยงาม 152

8. งานจ�าหลักหนังใหญ่ เปน็ การฉลลุ ายบนหนงั ววั หรอื หนงั ควายทข่ี ดู ขนหรอื ฟอกหนงั ตากแหง้ ดแี ลว้ ให้ โดยฉลเุ ปน็ รปู ตวั ละครในวรรณคดี หนงั ใหญเ่ มอื งเพชรมชี อ่ื เสยี งโดง่ ดงั ในสมยั รชั กาล ที่ 5 แต่ปจั จุบนั สามารถชมตวั หนังใหญไ่ ด้ท่ี พิพธิ ภัณฑห์ นังใหญ่ วัดพลบั พลาชยั ปัจจุบันมีช่างจ�าหลักหนังใหญ่สกุลช่างเมืองเพชรคือ นายมนู เนตรสุวรรณ ศิลปินสาขาทัศนศิลป์ ที่มีความสามารถด้านศิลปะงานสกุลช่างหลายด้าน เช่น งานปนู ปน้ั งานแกะสลกั ไม้ การทา� หวั โขน ทา� เครอ่ื งประดบั ศริ าภรณ์ และงานจา� หลกั หนังใหญ่ เป็นต้น ปัจจุบันรับราชการในต�าแหน่งผู้เชี่ยวชาญด้านช่างประณีตศิลป์ (ศิราภรณ)์ ที่สา� นักชา่ งสิบหมู่ กรมศิลปากร กระทรวงวัฒนธรรม Phetchaburi 153

9. งานแกะสลักไม งานแกะสลักไม้ หรือ งานจ�าหลักไม้ เป็นงาน ศิลปกรรมเก่าแก่ประเภท หนึ่งของไทย ซึ่งนิยมแกะ สลักไม้ประกอบโบสถ์ วิหาร ศาลาวดั หอพระไตรปฎิ ก ตู้พระ ไตรปฎิ ก พระเจดยี ์ ฯลฯ สามารถหา ชมงานแกะสลักไม้สุกลช่างเมืองเพชร ได้ท่ี ศาลาการเปรียญ วัดใหญ่สุวรรณาราม ที่มีลักษณะที่โดดเด่นจากงานแกะสลักไม้ท่ี สวยงาม โดยเฉพาะบานประตูสลักลายก้านขด ปิดทอง ธรรมาสน์รูปทรงบุษบกแกะสลักลงรัก ปิดทองงดงาม นอกจากน้ียังมีงานแกะสลักไม้ขั้นเทพท่ี วัดกุฏิ ซ่ึงมีพระอุโบสถท่ีสร้างด้วยไม้สักท้ังหลัง โดยพระครูเกษม สุตคุณ (หลวงพ่อชุ่ม) เมื่อ ป พ.ศ.2479 โดยรอบพระอุโบสถด้านนอกสลัก เป็นเร่ืองมหาชาติชาดก 13 กันฑ์ และไซอิ๋ว หน้าบันโบสถ์ทิศตะวันออกแกะสลักเป็นเหรียญ ตรามงกุฎ สมัยรัชกาลที่ 4 ส่วนด้านหลังทาง ทศิ ตะวนั ตกแกะสลกั เปน็ รปู เหรยี ญกษาปณ์ ราคา 1 บาท พร้อมตราแผ่นดินรัชกาลที่ 5 บานประตู เป็นลายเถาทะลุโปร่ง แกะสลักลายลึก ประณีต ละเอยี ดอ่อนดว้ ยฝม ือชา่ งเมืองเพชรช้ันครู 154

10. งานปน หวั โขน หวั ละคร หัวสัตว์ ส่วนใหญ่จะเป็นการปั้นหัวละครที่เป็นตัวเอกในวรรณคดี ตา่ งๆ สว่ นงานปนั้ หวั สัตว์ จะน�าเอาสว่ นท่ีเปน็ เขาของววั ควาย เก้ง หรือกวางท่ีเสียชีวิตแล้ว มาติดเข้ากับหัวท่ีปั้น ขนึ้ แลว้ ประดบั ตามฝาผนงั วดั บา้ นเรอื น หรอื ทา� ขนึ้ เพอ่ื ระลกึ ถงึ หรอื แสดงความผกู พนั ทมี่ ตี อ่ สตั วเ์ ลยี้ ง ซงึ่ จะพบเหน็ ไดท้ วั่ ไป เกือบทุกวัดในเพชรบุรี ปัจจุบันมี การประยกุ ตง์ านปน้ั หวั สตั วเ์ ปน็ ปน้ั สัตวท์ ั้งตวั เสมือนจรงิ Phetchaburi 155

เส้นทางการอนรุ ักษ ¡µ‹ÍҹŶâ§Ö µ¡Ò¹Å´ÍàÇÁÊÒÍ× ¹§à¾ªÃ... 156

“พอแดดร่มลมชายสบายจิต เท่ยี วชมทศิ ทกุ อยา่ งกลางวถิ ี ทั่วประเทศเขตแควน้ แดนพริบพรี เหมอื นจะชไ้ี ม่พน้ แตต่ ้นตาล ท่พี วกทา� นา้� โตนดประโยชนทรพั ย มดี ส�าหรบั เหน็บขา้ งอยา่ งทหาร พะองยาวก้าวตนี ปนี ทะยาน กระบอกตาลแขวนกน้ คนละพวง” “นิราศเมืองเพชร” ของ “สุนทรภู” กล่าวถึงต้นตาลและ วิถีชีวิตของชาวเมืองพริบพรี หรือเพชรบุรี ซ่ึงผูกพันกับต้นตาล มาช้านาน พอจะท�าให้เราๆ ท่านๆ นึกย้อนไปถงึ ภาพของจังหวัด เพชรยุรีในอดีตได้ว่า คงจะมีต้นตาลขึ้นอยู่ทุกหัวไร่ปลายนา จน มีการน�าเอาภาพต้นตาลมาเป็นส่วนหน่ึงของตราสัญลักษณ์ มีการน�าเอาภาพ และธงประจา� จงั หวดั เพชรบรุ ี ควบคกู่ บั ภาพพระนครครี เี ลยที เดยี ว ทวา่ ปจั จบุ นั จา� นวนตน้ ตาลเมอื งเพชรกลบั ลดลงอยา่ ง ต้นตาลมาเปนส่วนหนึง่ มาก อาจจะดว้ ยความเปลยี่ นแปลงของสภาวะธรรมชาติ ของตราสัญลักษณแ์ ละ และวิถีชีวิตของชาวเมืองเพชรเองท่ีอาจส่งผลต่อการอยู่ ธงประจ�าจงั หวัดเพชรบรุ ี รอดของตน้ ตาล ควบค่กู ับภาพ นิตยสาร SBL ขอน�าเสนอบทความว่าด้วยเร่ือง “ตาลโตนดเมอื งเพชร...กอ นถงึ กาลอวสาน” เพอ่ื เผยแพร่ พระนครคีรี ความพยายามในการอนุรักษ์ต้นตาล และภูมิปัญญาการใช้ ประโยชน์จากต้นตาล พันธุ์พืชซ่ึงคร้ังหน่ึงเคยได้ชื่อว่ามีมากที่สุด ในจังหวัดเพชรบุรี เพ่ือให้คนรุ่นใหม่ได้รู้จักต้นตาลและประโยชน์ ของตน้ ตาล ก่อนที่ตาลเมืองเพชรจะกลายเปน็ แค่ต�านานเลา่ ขาน ให้ลกู หลานฟงั Phetchaburi 157

ลกั ษณะทางพฤกษศาสตรของต้นตาล ต้นตาลเป็นพืชตระกูลปาล์มพัดชนิดหนึ่ง ท่ีมีอายุยืนเป็น ร้อยปี ทัว่ โลกพบต้นตาลมากกว่า 4,000 ชนดิ (Species) มชี อ่ื วทิ ยาศาสตรว์ า่ Borasas flabellifer L. จดั อยใู่ นสกลุ Borassas ชือ่ สามญั Palmyra Palm สว่ นในประเทศไทยเรียกช่ือต้นตาล แตกตา่ งกนั ไปในแตล่ ะภมู ภิ าค เชน่ ภาคกลางเรยี ก ตาลใหญ่ ตาลนาไทย ภาคเหนือเรียก ปลีตาล ภาคใตเ้ รียก โนด เขมร เรียก ตะนอย เป็นต้น ตาลโตนดเปน็ พชื ลา� ตน้ เดยี่ ว (Single stem) ขน้ึ จากพน้ื ดนิ เพยี งตน้ เดยี ว ไมม่ กี ารแตกหนอ่ ลา� ตน้ มขี นาดใหญ่ เสน้ รอบวง ประมาณ 2-4 ฟุต ผิวดา� เป็นเส้ียนแขง็ มคี วามสูงจากพน้ื ดนิ ถงึ ยอดประมาณ 25-30 เมตร หลงั จากปลกู ต้นตาลแลว้ ประมาณ 3-5 ปี จะมีความสงู ราว 1 เมตรเทา่ น้ัน แต่หลังจากนนั้ จะเพ่ิม ความสงู ประมาณปีละ 30-40 เซนตเิ มตรเลยทเี ดียว จากหลักฐาน ตาลโตนดทน่ี ยิ มปลกู มี 3 พนั ธ์ุ ได้แก่ ทางประวัตศิ าสตร์ 1. ตาลหมอ้ ซงึ่ มลี า� ต้นแข็งแรง ตาลหมอ้ น้จี ะ พบว่า เม่อื ประมาณ แยกย่อยตามลักษณะของผล หากผลใหญ่เรียกว่า พุทธศตวรรษที่ 11-16 ได้มีตราประทับรปู คนปน ตน้ ตาล 158

“ตาลหม้อใหญ่” มีผิวสีด�ามันแทบไม่มีสีอื่นปนเลย เมื่อสุกแก่มีรอย สว นประกอบของผล แบ่งออกเปน็ 3 สว่ น ขีดตามแนวยาวของผล เมล็ดหนา ใน 1 ผลจะมี 2-4 เมล็ด ใน 1 1. เปลอื กชั้นนอก ผวิ เรียบเป็นมนั เรยี กวา่ Exocarp ทะลายจะมีประมาณ 1-10 ผล โดยจะใหผ้ ลเม่ืออายุ 10 ปขี ึ้นไป ขน้ึ 2. ส่วนทเ่ี ปน็ เสน้ ใยเรยี ก Mesocarp อย่กู บั ความอุดมสมบูรณข์ องต้น ส่วนพนั ธ์ุที่ใหผ้ ลเล็กเรยี กว่า “ตาล 3. ส่วนท่ีเป็นกะลาแข็งหุ้มเมล็ดเรียกว่า Endocarp เม่ือผล หมอ้ เลก็ ” มผี ลขนาดเลก็ สดี า� ผลจะมรี อยขดี เมอื่ แก่ ใน 1 ผล จะมี 2-4 ตาลแก่จัด (สุก) จะมีกล่ินหอม จากการศึกษาพบว่าเน้ือตาลสุก เมลด็ ใน 1 ทะลาย จะมปี ระมาณ 1-20 ผล ไมเ่ ปน็ ทนี่ ยิ มเนอ่ื งจากผล ประกอบดว้ ยแปง และนา�้ ตาลเปน็ จา� นวนมาก นอกจากนย้ี งั มสี ว่ น มีขนาดเล็กและเตา้ หรอื ลอนท่ไี ด้จะมขี นาดเล็กตามไปด้วย ผสมของแคโรทีนอยด์ซ่ึงให้สีเหลือง ใช้แต่งสีและกลิ่นของขนม ต่างๆ เช่น ขนมตาล ขนมสอดไส้ ขนมไขป่ ลา ขนมขห้ี นู เป็นต้น 2. ตาลไข ล�าตน้ แขง็ แรง ผลมขี นาดเลก็ สีคอ่ นข้างเหลอื ง แบง่ ออกเปน็ 2 ชนดิ ได้แก่ “ไข่เล็ก” ผลค่อนข้างเล็ก ใน 1 ทะลายจะมีผล 1-20 ผล เนอื่ งจากผลเล็กจึงท�าให้เต้ามีขนาดเลก็ ตามไปด้วย จะให้ ผลเม่อื อายุ 10 ปีขึ้นไป และ “ไข่ใหญ่” ผลมีขนาดใหญ่กว่าไขเ่ ลก็ สี คอ่ นข้างเหลือง ใน 1 ทะลายจะมีผล 1-10 ผล เต้ามีขนาดใหญก่ วา่ ไขเ่ ล็ก 1ผลจะมี 2-3 เตา้ จะให้ผลเม่ืออายุ 10 ปีขนึ้ ไป 3. ตาลพนั ธลุ กู ผสม ลา� ตน้ ตรงใหญแ่ ขง็ แรง ลกู คอ่ นขา้ งใหญ่ เกอื บเทา่ ตาลพนั ธุห์ ม้อ สดี �าผสมน้�าตาล (เหลอื งด�า) ในผลจะมี 2-3 เตา้ ใหผ้ ลประมาณ 1-20 ผลตอ่ ทะลาย เปน็ ตาลทม่ี จี า� นวนมากทสี่ ดุ ในจงั หวัดเพชรบุรี สว่ นใหญ่จะให้ผลเม่ืออายุ 10 ปีขนึ้ ไป Phetchaburi 159

ก�าเนิดตน้ ตาล และตน้ ตาลในเมอื งเพชร ในอดตี ตน้ ตาลเมอื งเพชรบรุ จี ะขน้ึ อยตู่ ามธรรมชาตมิ ากมาย นกั ชวี วทิ ยาไดศ้ กึ ษาตน้ กา� เนดิ ของตน้ ตาลและพบวา่ ตน้ ตาล บางแหง่ ขนึ้ เกาะกลมุ่ กนั เรยี กวา่ “ดงตาล” สว่ นบางแหง่ ขนึ้ ตามหวั น่าจะมีถิ่นก�าเนิดทางฝังตะวันออกของอินเดีย แพร่ขยายไปสู่ ไร่ปลายนา มองเห็นเป็นแถวจึงเรียกว่า “นาตาลแถว” หรือ “นา ศรีลังกา สหภาพเมียนม่าร์ ไทย อินโดนีเซีย กัมพูชา โดยมีการ ตาลเรียง” เป็นต้น ส่วนสายพันธุ์ต้นตาลเมืองเพชร แบ่งออกได้ สันนิษฐานถึงการแพร่กระจายของต้นตาลว่า น่าจะมาจากสัตว์ เป็น 2 พันธุ์ ดังนี้ เป็นตัวแพร่พันธุ์ เช่น ช้าง เมื่อกินผลสุกของตาลโตนดจะกลืนทั้ง 1. ตาลบ้าน มจี �านวนเตา้ ตาลในแตล่ ะผล 1-4 เต้า แบง่ สาย เมล็ด เม่ือช้างมีการอพยพไปยังถิ่นต่างๆ ก็จะถ่ายมูลไปตามเส้น พนั ธุย์ อ่ ยได้อีก 3 พนั ธ์ุ คือ ตาลหมอ้ --มีผลขนาดใหญ่ ผวิ ดา� คลา�้ ทาง เมล็ดตาลจงึ แพรก่ ระจายจากที่หนง่ึ ไปสอู่ กี ทีห่ น่งึ ได้ ,ตาลไข- -มผี ลสขี าวเหลอื ง ผลขนาดเลก็ กวา่ แตเ่ ตา้ ตาลใหญข่ นาด ส่วนในประเทศไทย มีต้นตาลจ�านวนมากที่จังหวัดเพชรบุรี ใกลเ้ คยี งกบั ตาลหมอ้ (มเี นอ้ื หมุ้ เตา้ ตาลบาง) และตาลจาก--มผี ล สุพรรณบรุ ี นครปฐม สว่ นภาคใต้พบมากท่อี �าเภอสทงิ พระ อ�าเภอ ดกแนน่ คลา้ ยทะลายจาก ระโนด จังหวัดสงขลา โดยสันนิษฐานว่าน่าจะมีการใช้ประโยชน์ 2. ตาลปา มผี ลเลก็ ขนาดตาลไข่ มสี เี ขยี วคลา้� มเี ตา้ 1-2 เตา้ จากต้นตาลมาก่อนสมัยทวารวดี เพราะจากหลักฐานทาง ลา� ตน้ สเี ขยี วสด กา้ นใบยาว (บางคนเรยี กวา่ ตาลกา้ นยาว) พบแถบ ประวตั ศิ าสตรพ์ บวา่ เมอื่ ประมาณพทุ ธศตวรรษที่ 11-16 ได้ มตี รา เขาแด่น อา� เภอบ้านลาด และในเขตอุทยานแหง่ ชาติแกง่ กระจาน ประทบั รปู คน ปนี ตน้ ตาล แสดงวา่ ในสมยั นนั้ ไดร้ จู้ กั วธิ ใี ชป้ ระโยชน์ ตาลปา ยังไมเ่ ปน็ ท่รี ้จู ักกนั มากนกั เพราะมกั ขนึ้ อยใู่ นปา จากตน้ ตาลแลว้ นอกจากนต้ี าลยงั ถกู บนั ทกึ เปน็ ลายลกั ษณอ์ กั ษร ดว้ ยเหตทุ มี่ ตี น้ ตาลขน้ึ เปน็ จา� นวนมากในจงั หวดั เพชรบรุ ี จงึ มี มาตงั้ แตส่ มัยโบราณ เช่น จารกึ วดั แดนเมือง จารึกวดั ศรีคูณเมอื ง การตง้ั ชอ่ื หมบู่ า้ นดว้ ยชอื่ ตาลแตกตา่ งกนั ไป เชน่ บา้ นโตนดหลาย จารึกวดั ศรเี มอื ง จารกึ วัดถา้� สวุ รรณคูหา บา้ นโคกโตนด บา้ นโตนดนอ้ ย บา้ นตาลเดย่ี ว บา้ นโตนดหลวง บา้ น ถนนตาล บา้ นตาลกง ฯลฯ นอกจากนี้ตาลโตนดเมืองเพชร ยงั มีความเก่ียวเนื่องกับหน้าประวัติศาสตร์ของไทยมาต้ังแต่ สมเดจ็ พระนเรศวรฯ สมยั อยธุ ยาเปน็ ราชธานี คอื ในปพี .ศ.2134 สมเดจ็ พระ พร้อมด้วยสมเด็จพระ นเรศวร ฯ พร้อมด้วยสมเด็จพระเอกาทศรถ ได้ เสด็จฯทางสถลมารคไปยังต�าบลสามร้อยยอด เพ่ือ เอกาทศรถ ได้เสดจ็ ฯ ทาง ประพาสทางทะเลและทรงเบด็ ทอดปลาฉลามกลาง สถลมารคไปยังตา� บล ทะเล โดยได้เสด็จฯประทับแรม ณ พระต�าหนัก สามร้อยยอด... โดยได้เสด็จฯ ต�าบลโตนดหลวง (ปัจจุบันอยู่ในเขตต�าบลบาง ประทับแรม ณ พระต�าหนกั เกา่ อา� เภอชะอา� ) เปน็ เวลา 12 วนั จงึ เสดจ็ ฯเขา้ เมอื ง ตา� บลโตนดหลวง เพชรบุรี และในปี พ.ศ.2246 สมเด็จพระเจ้าเสือ ได้ เสด็จประพาสเมอื งเพชรบรุ ี และไดป้ ระทับแรม ณ พระ ตา� หนกั ตา� บลโตนดหลวง เชน่ กนั จากนน้ั ไดเ้ สดจ็ ไปทรงเบด็ ท่ีต�าบลสามร้อยยอด 160

หวานเหมอื นนา้� ตาลเมอื งเพชร เปน็ ทท่ี ราบกนั มาแตโ่ บราณกาลวา่ ...ตน้ ตาลเมอื งเพชรนน้ั ใหผ้ ลผลติ นา้� ตาลโตนดทม่ี รี สชาตหิ วานอรอ่ ยกลมกลอ่ มไมห่ วานแหลมแบบนา�้ ตาล ทราย ทส่ี า� คญั ยงั มกี ลนิ่ หอมตดิ ปากตดิ ใจ จนมกี ารเปรยี บเปรยวา่ “หวาน เหมอื นนา้� ตาลเพชรบรุ ”ี ดงั นน้ั ตน้ ตาลจึงนบั เป็นพืชเศรษฐกิจทส่ี �าคญั ของจังหวัดเพชรบุรี ซ่ึง ชาวนามักจะปลูกต้นตาลไว้บริเวณคันนา นับเป็นการใช้พ้ืนที่อย่างคุ้มค่า และท�าให้มีรายได้มาเจือจุนในครัวเรือนเพ่ิมขึ้นด้วย และคงไม่เกินเลย ไปนักท่ีจะกล่าวว่า...น�้าตาลโตนดสร้างวังได้ เพราะรายได้จากการเก็บ ภาษีสินค้าที่มาจากน�้าตาลโตนดและหม้อตาลเมืองเพชร ยังสามารถน�า มาใช้เป็นส่วนหนึ่งในการก่อสร้างพระราชวังพระนครคีรี (เขาวัง)ได้อย่าง วิจิตรสวยงาม จนกลายเป็นแหล่งท่องเท่ียวทางประวัติศาสตร์ที่ส�าคัญ ของเมอื งเพชรด้วย และท่ีข้ึนชื่อชนิดท่ีเรียกว่า...ใครไปเมืองเพชรแล้วไม่ซ้ือหรือชิมขนม หวานเมอื งเพชร กเ็ หมอื นไปไมถ่ งึ เมอื งเพชรจรงิ ๆ เพราะความอรอ่ ยนนั้ มา จากชาวเมืองเพชรจะใช้นา�้ ตาลโตนดเปน็ ส่วนผสมทส่ี �าคัญในการทา� ขนม หวานเมอื งเพชร จนมชี อ่ื เสยี งโดง่ ดงั มาจนถงึ ปจั จบุ นั ดงั คา� สวดสบุ นิ กมุ าร ทม่ี ีอายุมากกว่าร้อยปี กล่าววา่ ... “เป็นเครือ่ งหวานเพชรบุรี โตนดเต้าแลจาวตาล กินกบั นา้� ตาลป ี ของมากมมี าชว่ ยกัน” Phetchaburi 161

ประโยชนของต้นตาล ตน้ ตาลไมเ่ พยี งแตจ่ ะมปี ระโยชนแ์ คใ่ ชท้ า� นา�้ ตาลโตนด รสอรอ่ ยเทา่ นนั้ แตเ่ รายงั สามารถใชป้ ระโยชนจ์ ากตน้ ตาลได้ ครบทกุ สว่ นต้ังแต่ ผวิ นอกของลกู ตาล เมอ่ื เอามดี ปาดออก เรยี กวา่ “พลอ มออก” ใช้เป็นอาหารสา� หรับวัว ควายได้ มีกล่ินหอมและรส ออกหวานเลก็ น้อย เมล็ดตาลสุก ใช้ท�าของเด็กเล่นได้ โดยน�าเมล็ดตาล ท่ียีเนื้อไปใช้แล้ว ล้างและฟอกให้สะอาด แล้วน�าไปตาก แหง้ เสน้ ใยตาลสเี หลอื งสวยจะมลี กั ษณะฟฝู อย ละเอยี ดนมุ่ สวยงามคล้ายผมตุ๊กตาบาร์บี้ เด็กๆ ผู้หญิงในสมัยโบราณ ที่ยังไม่มีตุ๊กตาส�าเร็จรูปขาย ก็สามารถจินตนาการว่าเป็น หัวตุ๊กตาผู้หญิงผมยาว แล้วใช้หวีหรือแปรงจัดรูปทรงได้ หลายแบบ เปลือกตาล คอื สว่ นท่ีเปน็ กะลา หลังจากที่ผา่ เอาจาว ตาลออกแล้ว ใชท้ �าเชอ้ื เพลิงที่มีคณุ ภาพ เพราะเมื่อเผาแลว้ จะได้ถ่านสีด�าท่ีมีเปอร์เซ็นต์ของคาร์บอนสูง ปัจจุบันมีผู้รับ ซ้ือถ่านที่ผลิตจากเปลือกแข็งของลูกตาลจ�านวนมาก เพื่อ ท�าเป็นสินค้าส่งออก นอกจากนี้ยังใช้เป็นส่วนประกอบของ ยาแก้ท้องอืด ท้องเฟอ และลดกรดในกระเพาะอกี ด้วย ส่วนกะลาลูกท่ีสวยงาม น�ามาผา่ คร่งึ เปน็ สองฝา แล้ว ขัดถูผิวนอกให้เรียบเนียน เซาะขอบด้านในของฝาหน่ึงกับ ขอบนอกของอีกฝาหนึ่ง แล้วครอบปดเข้ากัน คนโบราณ ใช้แทนตลับหรือกล่องส�าหรับเก็บส่ิงของเล็กๆ น้อยๆ เช่น กระดุม เข็ม ใบจาก เส้นยาสูบ ใบตาลและทางตาล สามารถทา� เปน็ พดั โดยตดั เจยี น แล้วเย็บริมขอบให้เขา้ รูป หรอื อาจคัดเลอื กใบตาลอ่อนแลว้ รดี ใหเ้ รยี บ นา� มาจกั เปน็ ใบๆ แลว้ เยบ็ เปน็ พดั ใบตาลแบบพบั กไ็ ด้ ซึง่ เหมาะท่จี ะพกตดิ ตัวไปได้ นอกจากน้ี ใบตาลออ น ยังใช้สานท�าเป็นรูปสัตว์ต่างๆ ส�าหรับแขวนให้เด็กดูเล่นได้ อกี หลายชนดิ เชน่ ปลาตะเพยี น กงุ้ ตกั๊ แตน ชฎา หรอื ทา� เปน็ รูปสัตว์ใสล่ ้อแบบล้อเกวียนให้เดก็ ๆ ลากเลน่ หรือน�ามาจกั เปน็ เส้นตอก ถา้ ใชเ้ สน้ ใหญ่มกั สานขน้ึ เป็นรปู กระเชา้ ถา้ ใช้ ตอกเสน้ เลก็ นยิ มสานเปน็ กระเปา สตางค์ สว่ นใบตาลขนาด ใหญ นยิ มน�ามาผา่ ซกี แลว้ หกั งอผกู กบั สว่ นที่เปน็ กา้ น เรียก ว่า “หักคอม้า” น�าไปมุงหลังคา ท�าปะร�า มุงกระท่อม หรือ โรงนา มอี ายุใช้งานประมาณ 2-3 ปี ทางตาล เป็นส่วนก้านของใบตาล สามารถลอกผิว นอกส่วนท่ีอยู่ด้านบน เรียกว่า “หน้าตาล” มาฟันเป็นเชือก สา� หรบั ผกู ลา่ มววั ควาย เหมาะกบั การใชง้ านทตี่ อ้ งตากแดด ตากฝน เพราะมคี วามชมุ่ นา�้ ซง่ึ หากใชเ้ ชอื กทท่ี า� จากวสั ดอุ นื่ จะเปอ ยผุพงั เรว็ 162

ขาตาล เปน็ สว่ นของทางตาลตอนโคน ซงึ่ อยตู่ ดิ กบั ตน้ ตาล มจี า� นวน 2 แฉก เมอ่ื ทางตาลแกจ่ ดั จนใบแหง้ จะรว่ งหลน่ ลงมาเอง ชาวบา้ นเรยี กสว่ น โคนนี้ว่า “ขาตาล” มีลักษณะบางและแบน จึงเหมาะกับการน�ามาตัดใช้ เป็นคราด หากต่อด้ามหรอื ท�าเป็นกาบ จะเรยี กว่า “กาบตาล” สา� หรบั กอบ สิง่ ของท่เี ป็นกอง เชน่ ใช้กอบมูลวัว กอบขี้เถ้า กอบเมล็ดขา้ ว บางคร้งั ยังมี การน�าขาตาลแก่จัดมาเป็นส่วนประกอบของเก้าอี้แบบเอนนอนเอกเขนก ไดด้ ้วย นอกจากนี้ขาตาลแก่ท่ที ุบจนแตกฝอย ยงั ใช้ทา� เปน็ แปรงหยากไย่ หรอื ท�าไมก้ วาดไดค้ ่ะ ล�าตน้ ตาล ท่ีอายมุ ากกว่า 50 ปีขึน้ ไป สามารถนา� เปลอื กนอก ซ่งึ มี ความแขง็ และมเี สย้ี นตาล เปน็ เสน้ สดี า� แทรกอยใู่ นเนอ้ื ไม้ มา แปรรูปแลว้ จะไดไ้ มก้ ระดาน ขนาด 4-6 น้ิว หรอื น�ามาประดิษฐ์เป็นเฟอร์นิเจอร์ได้หลายรูป แบบ เชน่ โตะ๊ เกา้ อี้ เตยี งนอน หรอื นา� ไป เมลด็ ตาลสกุ ใชท้ �า ท�าของช�าร่วยเล็กๆ เช่น กลอ่ งใส่บุหร่ี ของเด็กเล่นได้ โดยนา� ถว้ ยนา้� ชา แจกนั ใสด่ อกไม้ ครก ฯลฯ เมลด็ ตาลทย่ี ีเนื้อไปใชแ้ ล้ว ล้าง และฟอกให้สะอาด แล้วนา� ไปตากแหง้ เส้นใยตาลสีเหลืองสวยจะมลี กั ษณะ ฟฝู อย ละเอยี ดนุ่ม สวยงาม คล้ายผมตุก๊ ตาบาร์บี้ Phetchaburi 163

อาหารคาว-หวาน จากตาลเมอื งเพชร แทบไมน่ า่ เชอื่ เลยนะคะวา่ ตาลโตนดตน้ เดยี ว จะมบี ทบาทตอ่ วถิ ชี วี ติ ของเราไดม้ ากถงึ เพยี งน้ี นยี่ งั ไมร่ วมถงึ เมนอู าหารคาว-หวาน อกี นะคะ เรามาดกู นั ว่าตาลโตนดจะท�าอาหารอะไรไดบ้ ้างค่ะ ขนมจากลอนตาลออ น ในลกู ตาลออ่ น จะมลี อนตาลอยู่ 2-3 ลอน ในน้ันมีน้�าขังอยู่ สามารถรับประทานได้ทันที หรือน�ามาห่ัน บางๆ ใสน่ า้� แขง็ ไสราดนา้� หวาน และนมขน้ แคน่ ก้ี อ็ รอ่ ยได้ นอกจาก นอ้ี าจน�าไปต้มในน้�าเช่อื มท�าเป็น “ลูกตาลลอยแกว้ ” กไ็ ดค้ ะ่ จาวตาลเชอื่ ม จาวตาลเกดิ จากผลแก่จดั ของต้นตาลตวั เมยี จาวตาลนิยมน�าไปเช่ือมรับประทานเป็นของหวานรับประทาน กบั ขา้ วเหนยี วมนู นา�้ กะทิ เตมิ งาคว่ั ผสมนา้� ตาลทราย เกลอื ปน และ มะพร้าวขดู จะไดข้ นมพนื้ เมอื งของชาวเพชรท่เี รยี กวา่ “ข้าวเหนยี ว โตนด” หรือ “ข้าวเหนียวหน้าโตนด” หรอื “ข้าวเหนยี วลกู ตาล” นา�้ ตาลสด นา� นา้� ตาลสดทเี่ กบ็ ใหมๆ่ จากงวงตาลไปตม้ ใหส้ กุ จะไดน้ า�้ หวานรสชาตหิ วานหอมอรอ่ ย ใสน่ า้� แขง็ ดมื่ ไดช้ นื่ ใจยง่ิ กวา่ เคร่ืองดม่ื น้�าซา่ หรือนา้� ผลไมอ้ ่ืนๆ เชยี วค่ะ ขนมตาล ทา� จากลกู ตาลสกุ นา� มายไี ดเ้ นอ้ื สเี หลอื งมลี กั ษณะ เหลวๆ นา� ไปหอ่ ผา้ ดบิ ใหส้ ะเดด็ นา้� เสรจ็ แลว้ คลกุ เคลา้ กบั แปง และ น้�าเล็กน้อย นวดให้เข้ากันแล้วน�าไปผึ่งแดดประมาณ 2-3 ชว่ั โมง จากน้ันเติมน้�าตาลพอสมควร แล้วกวนผสม ใหเ้ ขา้ กนั นา� มาใสห่ อ่ ใบตองหรอื ใสก่ ระทงนงึ่ ให้ แกงค่วั หัวตาล สุกโรยหน้าด้วยมะพร้าวขูดเป็นเส้นๆ จะได้ คลา้ ยๆ แกงค่ัว ขนมเนอื้ นุ่มฟู เรียกว่า “ขนมตาล” นบั เป็น ชาวเพชรบรุ นี ิยมใชเ้ น้ือย่าง ขนมอีกอย่างหนึ่งที่เกิดจากภูมิปัญญา หรอื เนื้อเคม็ ห่ันบางๆ ผสมลงไป ของชาวบ้าน โดยไม่ต้องใช้ผงแปงฟูแต่ พรอ้ มกบั ใสใ่ บสม้ ซ่าแทนใบมะกรูด อย่างใด เปนอาหารคบู่ า้ นค่เู มอื งของ แกงคั่วหัวตาล ใช้ลูกตาลที่ยังไม่ จังหวัดเพชรบุรมี า แก่จัด น�าเอาส่วนของหัวตาลมาปอกผิว แตโ่ บราณกาล นอกออก แล้วหั่นออกเป็นช้ินบางๆ ก็จะ ได้หัวตาลอ่อนน�าไปท�าแกงคล้ายๆ แกงค่ัว มีส่วนผสมของกะทิ กระชาย ปลาย่าง ปลาก รอบ หรือกุ้งสด พริกแกง ปรุงรสด้วยน้�าตาลเมือง เพชร เปน็ อาหารทม่ี รี สอรอ่ ยกลมกลอ่ ม แตส่ ว่ นใหญแ่ กงหวั ตาลของชาวเพชรบรุ ีนิยมใช้เน้อื ย่าง หรอื เนื้อเค็มหั่นบางๆ ผสมลง ไปพร้อมกับใส่ใบส้มซ่าแทนใบมะกรูด หรืออาจใช้หอยขมมาแกะ เน้ือใส่ผสมลงไปด้วย เป็นอาหารคู่บ้านคู่เมืองของจังหวัดเพชรบุรี มาแต่โบราณกาล ขนมโตนดทอด ใชจ้ าวตาลเชอื่ มมาชบุ แปง ขา้ วเหนยี วทผี่ สม กับน�้าตาลโตนด และหวั กะทิ (บางสตู รผสมแปง ขา้ วเจ้านดิ หน่อย) แล้วน�าไปทอดลงในกระทะน้�ามันร้อนๆ จะได้ขนมโตนดทอดท่ีนุ่ม หอม หวาน นา่ รับประทาน 164

ตาลโตนดเมอื งเพชร...ฤาจะเปน แคตา� นาน แม้ว่าจังหวัดเพชรบุรีจะได้ช่ือว่ามีต้นตาลมากที่สุด ในประเทศไทย แต่จากข้อมูลปี พ.ศ. 2541 พบว่ามี โครงการส่งเสรมิ ต้นตาลอยู่ประมาณ 1,445,000 ต้น มีมากในเขต การปลูกตาลล้านต้น เพ่ือ อ�าเภอเมือง ฯ รองลงมาได้แก่ อ�าเภอบ้านลาด เฉลิมพระเกียรติเนื่องวโรกาส อ�าเภอชะอ�า อ�าเภอเขาย้อย และอ�าเภอท่ายาง ท่ีพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั ตามล�าดับ อ�าเภอท่ีมีต้นตาลน้อยที่สุดคือ อ�าเภอ ทรงมพี ระชนมายุ หนองหญ้าปลอ้ ง ทว่าในปี 2550 ต้นตาลกลับลดลงเหลือเพียง 300,355 ตน้ เทา่ นน้ั (รวมตน้ ตัวผู้-ตัวเมีย และทแ่ี ยก ครบ 80 พรรษา เพศไมไ่ ด)้ เนอื่ งจากปจั จบุ นั มกี ารทา� นา 2 ครง้ั ตอ่ ป(ี หรอื ในป 2550 อาจมากกวา่ นน้ั ) พนื้ ทนี่ าจงึ มนี า้� ขงั มากและนานเกนิ ไป เปน็ ผลใหต้ น้ ตาลปรบั สภาพไมท่ นั เพราะตน้ ตาลไมไ่ ดพ้ กั ตวั หรอื ทชี่ าว เมืองเพชรเรียกวา่ “แต่งตวั ” ในทส่ี ุดก็ตน้ ตาลส่วนใหญก่ ็ตอ้ งยืนตน้ ตาย ดังนน้ั ในสมัยที่ นายสยุมพร ลิม่ ไทย เปน็ ผูว้ า ราชการจงั หวดั เพชรบุรี ท่านเล็งเห็นความส�าคัญของตาลโตนดอันเป็นเอกลักษณ์ ส�าคัญของจังหวัดเพชรบุรี จึงมีกิจกรรมต่างๆ เพ่ือส่งเสริมและอนุรักษ์ ตน้ ตาลเมอื งเพชรไว้ อาทิ ● โครงการสงเสริมการปลูกตาลล้านต้น เพื่อเฉลิมพระเกียรติ เน่ืองวโรกาสที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูหัว ทรงมีพระชนมายุครบ 80 พรรษา ในปี 2550 ● การจัดประกวดต้นตาลท่ีสูงท่ีสุดในจังหวัดเพชรบุรี ซึ่ง ปรากฏว่าต้นท่ีสูงท่ีสุดอยู่ที่ต�าบลโรงเข้ อ�าเภอบ้านลาด มีความสูงถึง 37.22 เมตร และเปน็ ต้นทยี่ งั คงใหผ้ ลผลติ อยู่ นอกจากนท้ี า่ นผวู้ า่ ฯ ยงั ไดม้ อบหมายให้ สา� นกั งานเกษตรจงั หวดั เพชรบุรี ท�าการรวบรวมข้อมูลเกี่ยวตาลโตนดท้ังหมดไว้ เพ่ือเผยแพร่ และสนบั สนนุ สง่ เสริมให้ตาลโตนดไมส่ ญู หายไปจากจงั หวัดเพชรบุรี SBL ขอถือโอกาสนี้เชิญชวนคุณผู้อ่านว่า หากมีโอกาสไป เยือนเมืองเพชร อย่าลืมอุดหนุนน�้าตาลโตนดเมืองเพชรด้วยนะ คะ เพราะนอกจากเราจะได้น้า� ตาลหวานๆ หอมๆ จากธรรมชาติ คณุ ภาพดแี ลว้ ยงั ชว่ ยตอ่ ลมหายใจตน้ ตาลเมอื งเพชร และสานตอ่ ภูมิปญญาการท�าน�้าตาลโตนดเมืองเพชร ให้ยืนยาวคู่กับจังหวัด เพชรบรุ ีดว้ ยค่ะ การเลือกซอ้ื น้า� ตาลโตนดแท้ *ขอขอบคณุ ข้อมลู จาก วธิ สี งั เกตว่านา้� ตาลโตนดที่จะซือ้ นัน้ เปน็ ของแท้หรือเทยี มให้ ส�านกั งานเกษตรจงั หวัดเพชรบรุ ี สงั เกตดังนคี้ ะ่ นา�้ ตลาดโตนดแท้ จะมีสีออกแดง เนอื้ ละเอยี ด ถกู อากาศแล้ว จะนุ่มเหลว รสหวานน่มุ กลมกลอ่ ม มีกลิน่ หอมหวานของตาลโตนด ชดั เจน น�า้ ตาลโตนดเทยี ม จะมสี ีจะออกขาว ลกั ษณะแข็งอยไู่ ดน้ าน เพราะอาจผสมแบะแซ ใหแ้ ข็งตัวและไดป้ ริมาณมาก มีรสหวานเลีย่ น และมกี ล่นิ ตาลโตนดนอ้ ย Phetchaburi 165

เสน ทางการอนุรักษ 166

ªÁ¾à‹Ù ¾ªÃÊÒÂçŒØ ... 180Í¡Õ Ë¹§Öè ¤ÇÒÁËÇÒ¹¤Ùà‹ Á×ͧྪà ÁÒ¡Ç‹Ò »‚ แคฟงช่ือ “ชมพูเพชรสายรุง” ก็ใหรูสึก ถึงความไมธรรมดาของชมพูพันธุนี้ ยิ่งเมื่อไดทราบ ร า ค า ซื้ อ ข า ย ใ น ป  จ จุ บั น ด  ว ย ก็ ยิ่ ง ไ ม  ธ ร ร ม ด า ส ม ชื่อ เพราะราคากิโลกรัมหน่ึงไมตํ่ากวารอยบาท และไมใชวาจะหาซื้อกันไดงายๆ ทั้งๆ ที่ไปถึง ถ่ิน เรามาดูความไมธรรมดาของชมพูพันธุนี้ กนั คะ ประวตั ิของชมพเู พชรสายรุง แตเดิม “ชมพเู พชรสายรุง” มชี ่อื เรยี กหลายชอ่ื เชน ชมพเู ขยี วเสวย เพราะมผี ลสเี ขยี ว บางทอ งทเ่ี รยี ก ชมพูสายนํ้าผึ้ง เพราะเวลาแกจ ะมองเห็นเสน ที่ขา งผล เปนสายๆ บางทองที่เรียกชมพูเพชรเฉยๆ แตปจจุบัน นิยมเรียก “ชมพูเพชรสายรุง” เพ่ือช้ีชัดลงไปวาเปนพันธุ แทต นตาํ รับจรงิ ๆ เพราะปจจบุ นั มีการต้ังช่อื พนั ธชุ มพูทป่ี ลูกใน เมืองเพชรกันหลากหลายช่ือทําใหคนซื้อสับสน เชน เพชรสุวรรณ เพชรจนิ ดา เพชรทูลเกลา ชมพูเพชรสายรุง เปนชมพูที่มีรสชาติหวานกรอบอรอย จนคนถ่ิน อาจพากนั ชน่ื ชมวา “หวานเหมอื นนาํ้ ตาล” กม็ ี และมกั มกี ารหยอกลอ กนั วา ...ชมพเู พชรสายรงุ นี้ เปน ชมพทู ค่ี นกนิ ไมไ ดซ อ้ื คนซอื้ ไมไ ดก นิ เพราะ นยิ มซอื้ ไปเปน ของกาํ นลั แกผ หู ลกั ผใู หญท เ่ี คารพรกั นบั ถอื หรอื ฝากผปู ว ย เพราะเปน ชมพปู ลอดสารพษิ และมรี าคาคอ นขา งแพง บางชว งอาจแพง ถงึ สองรอ ยสามรอ ยบาทตอ กโิ ลกรมั เลย เพราะคนปลกู จะตอ งทะนถุ นอม ทุกขั้นตอนกวาจะถึงมือผูบริโภค เชน ตองทําน่ังรานและหอกระดาษ ปอ งกนั แมลงตง้ั แตผ ลยงั เลก็ เรยี กวา ดแู ลกนั ยง่ิ กวา ไขใ นหนิ เลยทเี ดยี ว ตามประวัติที่เลาตอๆ กันทําใหทราบวายอนหลังไปเมื่อป พ.ศ.2375 พระครูญาณวิมล (หลวงพอพวง) เจาอาวาสองคท่ี 2 ของวัดศาลาเข่ือน (ตอมาไดสมณศักดิ์เปนพระครูญาณเพชรรัตน) ไดเดินทางไปศึกษาพระธรรมที่วัดราชาธิวาส ซึ่งขณะนั้นพระบาท สมเดจ็ พระจอมเกลา เจา อยหู วั ทรงผนวชและเปน เจา อาวาสครองวดั อยู พระองคท รงสอนภิกษสุ ามเณรเกย่ี วกับคันถธรุ ะและทรงเช่ยี วชาญ เรอ่ื งพระไตรปฎ ก และทรงมลี กู ศษิ ยล กู หามากมาย รวมทงั้ หลวงพอ พว ง ก็เปนหนง่ึ ในลูกศิษยดวย Phetchaburi 167

เมื่อศึกษาเสร็จสิ้นแลวหลวงพอพวงก็จะเดินทางกลับจังหวัดเพชรบุรี จากการศึกษาวิจัยพบวาชมพูพันธุน้ีสามารถ พระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัว จึงไดพระราชทานตนอโศกระยา ปลูกไดดีในดินแทบทุกชนิด เชน ดินชุดทามวง 1 ตน และกงิ่ ตอนตน ชมพู 1 ตน ซึง่ เปนตน ชมพทู ่ีปลกู อยใู นวงั ท่ปี ระทับ นอกจากน้ี ดินชุดชัยนาท ดินชุดธนบุรี และดินชุดเชียงใหม พระองคย งั ไดพ ระราชทานหอ งครวั ซง่ึ สรา งดว ยไมส กั จาํ นวน 3 หอ ง และเรอื มาศ 4 แตดินท่ีดีที่สุดคือดินชุดทามวง ซ่ึงเกิดจากการ แจว 1 ลํา เพอ่ื ใชสาํ หรบั บรรทกุ วัสดใุ นการทาํ กุฏิ (ปจ จุบันยงั อยทู ว่ี ัดศาลาเข่ือน) ทบั ถมของตะกอนลาํ นา้ํ ใหม หรือเกดิ จากตะกอนที่ แมนาํ้ ลําคลองพัดพามาทบั ถมทุกๆ ป เปน ดนิ ใหม เมื่อหลวงพอกลับถึงวัดจึงนําก่ิงชมพูที่ไดรับพระราชทานมาปลูกท่ีขางบันได อายนุ อ ยในจังหวัดเพชรบุรี ทางข้ึนที่อยูหนาวัดศาลาเข่ือน ต.ตําหรุ อ.บานลาด จ.เพชรบุรี ในป 2378 เม่ือ ตนชมพูเจริญเติบโตขึ้นหลวงพอไดกออิฐโบกปูนลอมรอบตนชมพูไว ทําใหการ สวนใหญดินชุดทามวงจะอยูบริเวณสองฝง ถา ยเทอากาศไมส ะดวกและการขยายตวั ทางดา นขา งของตน ชมพถู กู จาํ กดั ในทสี่ ดุ แมน้ําเพชรบุรี มีความลาดชัน 5% ระบายน้ํา ตน ชมพูน้ตี ายลงเมือ่ ป 2530 รวมอายุได 152 ป คอนขางดี เปนดินรวนปนทรายสีนํ้าตาลปน พ้ืนดินถนิ่ ปลูกชมพูเพชรสายรุง เหลืองออน หนาดินลึกไมเกิน 30 เซนติเมตร มี อินทรียวัตถุสูง ดินบนเปนดินรวนปนทรายแปง เม่ือผูคนไดชิมรสชาติชมพูชนิดน้ีตางก็พากันติดอกติดใจ และมาขอตอนก่ิงตนนี้เปนจํานวนมาก ทําใหชมพูตนน้ี จนถึงดินรวนเหนียวปนทรายแปง ขยายพนั ธอุ อกไปอยา งรวดเรว็ ปจ จบุ นั มกี ารนาํ ไปปลกู สีน้ําตาล สีน้ําตาลเขม และสี เกือบท่ัวประเทศ แตคุณภาพยังสูท่ีปลูกในจังหวัด น้ําตาลปนเทา ความเปนกรด เพชรบุรีไมไ ด เปนดางประมาณ 5.5-6.5 มีปริมาณฟอสฟอรัสและ โปแตสเซียมคอนขางสูง จึงจะเหมาะกับการปลูก ชมพูเพชรสายรุง ปจจุบันมีเกษตรกร เครือขายปลูกชมพูเพชร สายรุงท่ีตําบลหนองโสน และตําบลบานกุม อําเภอ เมอื งเพชรบรุ ี ตาํ บลทา แรง อาํ เภอ บานแหลม ตําบลทาเสน ตําบลสมอ พลอื ตาํ บลทา ชา ง ตาํ บลถาํ้ รงค อาํ เภอบา นลาด และตําบลทาไมรวก อําเภอทายาง เพราะสภาพ ดินอุดมสมบูรณดังคําท่ีเรียกวา “น้ําไหลทรายมูล” ทําใหไดผลผลิตดีมีคุณภาพ ผลใหญ เนื้อหนา สีสวย และมีรสชาติหวานกรอบอรอย แตกตางไป จากชมพูเขียวทีม่ อี ยเู ดิม ตาํ นานชมพเู พชรสายรงุ หนองโสน แมจ ะมกี ารนาํ กง่ิ พนั ธชุ มพไู ปปลกู ตามทต่ี า งๆ ท่ัวจังหวัดเพชรบุรี แตขึ้นชื่อวาชมพูท่ีปลูกบริเวณ วัดชมพูพน ตําบลหนองโสน อําเภอเมือง จังหวัด เพชรบรุ ี นน้ั ใหผ ลผลติ ดกี วา ชมพทู ปี่ ลกู ในพน้ื ทอี่ นื่ ๆ ซง่ึ มตี าํ นานเลา ขานเกยี่ วกบั เรอ่ื งนว้ี า คนทเ่ี อาชมพู เพชรสายรุงมาปลูกเปนคนแรกในตําบลหนองโสน คือ นายหร่ัง แซโคว เกิดเม่ือป พ.ศ.2438 ซ่ึงตั้ง บานเรือนอยูริมนํ้าเมืองเพชรบุรี ฝงตรงขามวัดขุน ตราแตเดิมเรียกกันวา บานสะพานยายนม 168

นายหรั่ง เปนชาวหนองโสนโดยกําเนิด มีอาชีพคาน้ําตาล ทางเรือ ระหวางเพชรบุรี-กรุงเทพฯ ตอมานายหร่ังไดนําก่ิงตอน พันธุชมพูเพชรมา 3 ก่ิง ไมปรากฏวามาจากสวนแหงใด ชมพู เพชรท้ัง 3 ก่ิงน้ี เปนชมพเู พชรรุนแรกท่ีนาํ มาปลูกในบริเวณแมน ํ้า เพชรบุรี ซึ่งริมนํ้ามีดินดี มีความรวนซุย น้ําทวมถึง มีปุยและอิน ทรียวัตถุอุดมสมบูรณ จึงเจริญเติบโตงอกงามใหผลดี สีสวยและ มีรสชาติอรอย ตอมามีผูขอขยายพันธุชมพูเพชรไปปลูกบาง แต เจา ของไมป ระสงคจ ะใหข ยายกง่ิ พนั ธุชมพเู พชรไปปลกู แพรห ลาย ดงั นน้ั ในระยะแรกชมพเู พชรทง้ั สามตน จงึ ยงั ไมไ ดแ พรพ นั ธไุ ปปลกู ในท่ีแหง ใด ตอมาในชวงหลังสงครามโลกครั้งท่ี 2 จึงมีการขยายพันธุ ดวยการตอนกิ่งชมพูเพชรออกจําหนายใหคนท่ีตองการในราคา ประมาณกิ่งละ 200-250 บาท ซึ่งนับวาเปนราคาท่ีแพงมากใน สมัยน้ัน และภายหลังจากป พ.ศ.2500 เปนตนมา กิ่งชมพูเพชร ก็เปนท่ีแพรหลายไปอยางกวางขวางในทุกพ้ืนที่ของ จ.เพชรบุรี แตไ มอ รอยเทากบั การปลูกทต่ี ําบลหนองโสน การทาํ สวนชมพเู พชรตามแบบฉบบั ของชาวตาํ บลหนองโสน คือ นิยมปลูกในสวนหลังบานคนละ 5-30 ตน ไมนิยมปลูกมาก เนอ่ื งจากตองใชแ รงงานในการดแู ลและเก็บเกย่ี วมาก เพราะตอง หอตั้งแตผลยังเล็ก ซ่ึงตนชมพูสวนใหญจะมีความสูงไมตํ่ากวา 10 เมตร เกษตรกรผูปลูกจึงตองทําหางจาก ไมไผถึง 2-3 ช้ัน สูงราว 8 เมตร เพ่ือ การหอและเก็บเกี่ยวผลผลิต ราคาไมไผในการนํามาทํา ห  า ง ก็ ต ก ท่ี ตั น ล ะ พั น กวาบาทขึ้นไป และ ตองคอยเปลี่ยนเม่ือ ห  า ง ผุ พั ง ด  ว ย เ พ่ื อ ความปลอดภัยของ เกษตรกรเอง นอกจากปญ หา ท่ีวาแลว ยังมีปญหา อันเกิดจากลักษณะ เฉพาะของชมพูซึ่งเปน ผลไมท่ีเนาเสีย หรือมี ตําหนิงาย และในการเก็บ ผลผลติ แตล ะครง้ั แมจ ะทะนถุ นอม อยางดี ก็มักจะมีผลชมพูเนาเสียหรือ มตี าํ หนปิ ระมาณ 30 % ซงึ่ หากมตี าํ หนแิ ลว ราคาจะ ลดลงถึง 50 % หรือกวาน้ัน ดังนั้นจึงพบวามีเกษตรกรปลูกชมพู เพชรสายรงุ ในปจ จบุ ันไมม ากนกั Phetchaburi 169

ตีทะเบยี นชมพเู พชรสายรงุ ใน “โครงการอนุรักษและพัฒนาศักยภาพชมพูเพชรสายรุง” ดวยความโดดเดนของชมพูเพชรสายรุงนี้เอง นายชาย เพื่อใหเ ปน ผลไมม ีช่อื เสียงระดับโลก พานิชพรพันธ อดีตผูวาราชการจังหวัดเพชรบุรี จึงไดนํา โดยกลมุ เกษตรกรทเี่ ขา รว มโครงการจะไดร บั การสนบั สนนุ ทง้ั ชมพูเพชรสายรุงไปตอนรับผูนําและคณะในการประชุมอาเซียน งบประมาณ การสง เสรมิ การตลาดและการผลติ ขณะนม้ี เี กษตรกร ซัมมิท 2009 เม่ือวันท่ี 27 กุมภาพันธ - 1 มีนาคม 2552 ท่ีอําเภอ ทไี่ ดร บั การคดั เลอื กเขา รว มโครงการนาํ รอ ง 2 กลมุ คอื เกษตรกร ชะอาํ จังหวัดเพชรบรุ ดี วย จนเปนที่ชน่ื ชอบและไดรับความสนใจ ตาํ บลทาไมรวก อ.ทายาง และเกษตรกรหนองโสน อ.เมืองฯโดย สง่ั ซ้อื ไปจาํ หนายยังตางประเทศมากขึน้ มีสํานักงานเกษตรจังหวัดเพชรบุรี อบรมใหความรูการผลิตชมพู ท่ีปลอดภัยเพื่อใหผลผลิตไดมาตรฐานตรงความตองการของ แตในขณะเดียวกันมีการแอบอางเอาผลผลิตชมพูพันธุอื่น ผูบรโิ ภคและตลาด ไปจําหนายแทน ทานผูวาฯชาย จึงจดทะเบียนชมพู เพชรสายรุง ในฐานะสิ่งบงชี้ทางภูมิศาสตร เพื่อ แสดงความเปนเจาของในทรัพยสินทาง ปญ ญา และทา นยงั เปน ประธานลงนาม ขอตกลงความรวมมือระหวางผูแทน กลุมเกษตรกรเพาะปลูกชมพูเพชร สายรุง กับผูประกอบการจําหนาย สนิ คา ประเภทของฝากจากเมอื งเพชร 170

วิธเี ลือกซือ้ ชมพเู พชรสายรุงแท ชมพูเพชรสายรุงแทๆ จะมีลักษณะผลท่ีสามารถสังเกตได ชัดคือ ผลแกจะมีสีเขียวออนปนชมพู ตัวผลไมเงาแตจะขุนขาว เนื้อหนาแนนกรอบ รสชาติหวานถึงหวานจัด บริเวณกนชมพู เพชรสายรุงจะมี 4 กลีบเบียดกันแนน ผลแกจัดจะมองเห็นเสน สีชมพูขางผลเปนสาย ผลที่มีขนาดใหญเฉล่ีย 7-9 ผล/1 กิโลกรัม เลยทีเดียว ซึ่งราคาก็จะสูงตามไปดวย บางแหงกิโลกรัมละ สองรอยกม็ ี สําหรับผูท่ีช่ืนชอบรับประทานชมพูแลวเผอิญวาได มีโอกาสไปเท่ียวเมืองเพชรบุรีละก็ อยาลืมแวะหาซื้อชมพู เพชรสายรุงรับประทานดวยนะคะ เดี๋ยวถูกจะกลาวหาวา... ไปไมถึงเมืองเพชร Phetchaburi 171

เสน ทางการอนุรกั ษ ä·Â·Ã§´íÒàÁ×ͧྪà ไทยทรงดําเปนกลุมชาติพันธุหนึ่งที่พูดภาษาตระกูลไท เปนชนชาติไทย สาขาหน่ึง เรียกวา พวกผูไท ซ่ึงแบงออกตามลักษณะสีของเครื่องแตงกาย เชน ผูไทขาว, ผไู ทแดง และผไู ทดาํ เปน ตน ผูไทดาํ นิยมแตงกายดวยสีดาํ จงึ เรยี กวา “ไทยทรงดํา” หรือ เรียกไดหลายชื่อเชน โซง, ซง, ไทยโซง, ไทยซง, ลาวโซง, ลาวซง , ลาวทรงดาํ และ ลาวพงุ ดํา คําวา “โซง” สันนิษฐานวามาจากคําวา “ซวง” ซ่ึงแปลวา กางเกง เพราะ ชาวไทยทรงดํานิยมนุงกางเกงทั้งชายและหญิง คนไทยและลาวพวนจึงเรียกวา “ลาวซวง” ซ่ึงหมายถึงลาวนุงกางเกง ตอมาเพ้ียนเปน “ลาวโซง” เหตุท่ีเรียกไทย ทรงดาํ วา “ลาวโซง” เพราะคําวา “ลาว” เปน คาํ ทีค่ นไทยท่ัวไปใชเรียกคนทอ่ี พยพ มาจากถิ่นอ่ืน แตชาวไทยทรงดาํ ถอื ตนเองวาเปนชนชาติไทย จึงนยิ มเรยี กตนเอง วา “ไทยโซง ” หรือ “ไทยทรงดํา” 172

ทีม่ าของชาวไทยทรงดํา ท่ีเรียกวา “สามลาว” อัน ผลพวงจากสงครามสมยั พระเจา กรงุ ธนบรุ ี (สมเดจ็ ไดแ ก ลาวโซง ลาวพวน และ ลาวเวียง พระเจา ตากสนิ มหาราช) สมยั พระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธ ยอดฟาจุฬาโลก (รัชกาลท่ี 1) มาจนถึงสมัยพระบาท ธ ร ร ม ช า ติ ข อ ง สมเดจ็ พระนง่ั เกลา เจา อยหู วั (รชั กาลที่ 3) ทาํ ใหล าวโซง ลาวโซง หรือไทยทรงดํา หรือไทยทรงดํา ถูกกวาดครวั มาอยเู พชรบรุ ี ชอบอยูท่ีดอนน้ําทวม ไมถึง ชอบภูมิประเทศท่ี ระยะแรกไทยทรงดําตั้งถิ่นฐานอยูที่ตําบล เปนปาเขา เสมือนถ่ินดั้งเดิม หนองปรง อําเภอเขายอย (สมัยพระเจาตากสิน และ ของตน ครัวโซงกลุมน้ีไมชอบ รัชกาลที่ 1) ระยะที่สอง (สมัยรัชกาลที่ 3) โปรดฯ ภูมิประเทศท่ีทาแรง เพราะโลงเกิน ใหมาต้ังบานเรือนอยูที่ตําบลทาแรง อําเภอ ไป จึงไดอพยพยายถ่นิ ฐานบานเรือน บา นแหลมลาวโซง หรอื ไทยทรงดาํ จงึ มาตง้ั ไปเรื่อย ๆ สวนใหญเคลื่อนยายมา ถนิ่ ฐานทที่ า แรง เมอื่ ป พ.ศ. 2378 - 2381 ตั้งถ่ินฐานอยูท่ีสะพานยี่หน ทุงเฟอ กอ นไทยมสุ ลมิ ทา แรง ซง่ึ ถกู กวาดครวั วังตะโก บานสามเรือน เวียงคอย เขามาภายหลังโซง ไทยมุสลิมหรือ เขายอ ย ตามลําดับ ที่เรียกวา แขกทาแรง มาสูเพชรบุรี เอกลักษณเฉพาะของชาวไทย ในลักษณะถูกกวาดครัวเขามาอยู ทรงดาํ ณ เมืองเพชรบุรีราวป พ.ศ. 2328 ภาษาของชาวไทยทรงดํามี เนอ่ื งดวยเหตผุ ลทางสงครามเชน กนั ลักษณะคลายกับภาษาไทยอ่ืนๆ ทวั่ ไป แตม ลี กั ษณะเฉพาะในการออก สงครามครง้ั นน้ั พวกลาวพวน หรอื เสียงและศัพทเฉพาะบางคํา และมี ไทยพวน พวกลาวเวียง หรือไทยเวียง ซึ่ง อกั ษรเขยี นของตน ซง่ึ ปจ จบุ นั มผี อู า น เปน ชนชาตไิ ทยดว ยสาขาหน่งึ ไดถูกกวาดครัว ไดนอ ยลง มาดวยกัน เมืองเพชรจึงประกอบดวยชนกลุมนอย Phetchaburi 173

ลักษณะการแตงกาย เนนดวยผา สีดําหรือสีกรมทา โดยแบงออกเปนของ ผูชายและผูหญิง การแตงกายผูชาย คือ ใสเสื้อไทติดกระดุมเงินต้ังแต 11 เม็ดขึ้น ไป สวมซวงกอม หรือ (กางเกงขาสั้น) คาดดวยสายคาดเอว หรือ (ฝกเอว) ใสเส้ือฮีชายในชุดพิธีกรรม การแตง ก า ย ผู  ห ญิ ง คื อ ใ ส  เ ส้ื อ ก  อ ม ติ ด ก ร ะ ดุ ม เงินไมเกิน 11 เม็ด ฮางผาซ่ินลาย แตงโม ทรงหนาวัว หรือหนาส้ันหลังยาว ผาดบา ดวยผาเปยว สะพายกะเหล็บ ใสเ ส้ือฮหี ญงิ ในชุดพธิ ีกรรม ท ร ง ผ ม นับเปน เอกลักษณอีกอยางหนึ่งท่ี นา สนใจโดยเฉพาะทรงผมของ ผหู ญงิ มถี งึ 8 แบบ แตล ะแบบจะ บงบอกถึงสถานภาพของสตรีผูนั้น ไดแก เอื้อมไร สบั ปน นกกะแลหรอื ชอดอกแค จกุ ตบ ขอกะตอ ก ขอดซอย ปนเกลาตว ง ปนเกลา ตก (หญงิ ท่สี ามเี สียชีวติ ) ลักษณะทอี่ ยอู าศยั โซง ปลกู บา นทมี่ ลี กั ษณะของตนเองแบบหลงั คาไมม จี ว่ั หลงั คายกอกไกส ูง มุงดวยตบั ตนกกมิใชต บั จาก รปู หลงั คา 174

ลาดคุมเปนรูปคลายกระโจม คลุมลงมาต่ําเต้ียจรดฝา ดูไกลๆ จะดู เหมือนไมมีฝาบาน เพราะหลังคาคลุมมิดจนมองไมเห็น บานโซง จะไมมีหนาตาง เนื่องจากโซงมาจากเวียดนามและลาว อยูตาม เทือกเขา อากาศหนาวเย็น ไมชอบมีหนาตางใหลมโกรก พ้ืนปู ดว ยฟากไมไ ผ รองพนื้ ดว ยหนงั สตั ว มใี ตถ ุนบา นสงู โดยใตถ นุ บาน ใชเ ปนท่เี ลี้ยงสตั วด ว ย ชาวไทยทรงดาํ กบั การกอสรา งพระนครครี ี ในชวงท่ีมีการกอสรางพระราชวังบนเขา ในยุคที่เคร่ืองจักรกลหรือ เคร่ืองทุนแรงยังไมมี ดังนั้นการแผวถางปรับสภาพยอดเขาทั้งสามยอดใหมีทาง ขึ้นลงเชอื่ มตอกนั การลําเลยี ง อิฐ หิน ดนิ ทราย อุปกรณก ารกอสราง จาํ เปนตอ ง ใชแ รงงานคนจํานวนไมน อ ย พระเจายาศรีสุริยวงศ (ชวง บุนนาค) ซ่ึงในขณะนั้นดํารงตําแหนง พระสมหุ กลาโหม ในฐานะแมกองงานใหญ ในการกอ สรางพระราชวงั บนเขา มที ง้ั อาํ นาจทางทหารกาํ ลงั ไพรพ ลในการควบคมุ ดแู ลโซง ทไี่ ดก วาดครวั มาไวท เ่ี พชรบรุ ี สมยั รชั กาลที่ 3 (พ.ศ. 2378-พ.ศ. 2381) ไดอ พยพมาจากทา แรง โดยตง้ั ถนิ่ ฐานใหม ท่ีเชิงเขากวิ่ สะพานยีห่ น เวียงคอย วงั ตะโก ซึ่งอยูใกลก ับเขาสมน จึงถกู กําหนด เกณฑม าใชเ ปน แรงงาน สรางพระราชวงั ในครั้งนี้ Phetchaburi 175

นับเน่ืองแต พ.ศ. 2401-พ.ศ. 2405 เปนตนมาทุกเชาจรดเย็น แรงงานโซง นุงกางเกง (ซวง) สีดํา สวมเสื้อกอมยอมสีครามดํา เดินออกจากหมูบานสะพานยี่หน มงุ ตรงไปยงั เขาสมน นบั วัน นบั เดอื น นบั ป ดวยความซ่อื สัตย และจงรักภักดีตอหนา ที่ เมื่อพระราชวังบนเขา พระนครคีรี สําเร็จเปนที่แปรพระราชฐาน ทรงงาน รับรองพระราชอาคันตุกะตางประเทศ และเปนท่ี พกั ผอ นสว นพระองคแ ลว พระบาทสมเด็จพระจอมเกลา เจาอยูหัว รัชกาลท่ี 4 ทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ให บุตรหลานเจาเมืองและคหบดีที่มีชื่อ มารับราชการ เปนมหาดเล็ก และโปรดเกลาฯใหคัดเลือกโซงมาเปน เด็กชาดวย เน่ืองจากทรงเห็นความดีความชอบจากที่ โซงมาเปนแรงงานกอนสราง ชวงกอสรางพระราชวัง พระนครคีรี ดว ยความอดทน อตุ สาหะ 176

ชาวไทยทรงดาํ ในเพชรบรุ ี ปจจุบันชาวไทยทรงดําในเพชรบุรีสวนใหญ อาศัยอยูในอําเภอเขายอย มีอาชีพหลักคือทํานา ทาํ ไร หาของปา และจบั สตั วป า นอกจากนย้ี งั มคี วาม สามารถเปนพิเศษในการจับปลาตามหวย หนอง ลาํ คลอง สว นอาชพี รอง คอื อาชพี จกั สานเปน อาชพี ที่แพรหลายของชาวไทยทรงดําในเขตอําเภอ เขายอ ย โดยเฉพาะการจักสานหลวั หรอื เขง **คนควาขอ มลู เพม่ิ เติมไดที่ www.khaoyoi-thaisongdam.com Phetchaburi 177





เสนทางสู AEC ธรรมเนยี มปฏิบตั ใิ น เมียนมารแ ละเวยี ดนาม ศูนยขอมูลประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน กรมเจรจาการคาระหวางประเทศ กระทรวงพาณิชย ไดให ขอมูลที่เปนเกร็ดความรูท่ีถึงธรรมเนียมปฏิบัติหรือส่ิงที่ควรทําและไมควรทํา เพ่ือการเตรียมตัวใหพรอมเม่ือตองไป ดําเนินธุรกิจหรือพํานักในประเทศกลุมอาเซียน ซึ่งฉบับท่ีแลวเราไดนําเสนอประเทศสาธารณรัฐประชาธิปไตย ประชาชนลาวและราชอาณาจกั รกมั พชู าไปแลว ฉบบั นขี้ อนาํ เสนออกี 2 ประเทศคอื สาธารณรฐั แหง สหภาพเมยี นมารแ ละสาธารณรฐั สงั คมนยิ มเวยี ดนามคะ เรามาดกู นั วา ธรรมเนยี มปฏบิ ตั ขิ องประเทศเขาเปน อยา งไรบา งคะ สาธารณรฐั แหง สหภาพเมยี นมาร เปน เงนิ จา ด โดยมขี อ พงึ ระวงั วา เงนิ ดอลลาร สําหรับการคาชายแดนได เพ่ือใหการคา สหรัฐท่ีนํามาแลกตองมีความสมบูรณ ไมมี ชายแดนมคี วามคลอ งตวั ธรรมเนียมปฏบิ ัตใิ นเมียนมาร รอยพับเพราะมักจะถูกปฏิเสธไมรับเงิน 1. ควรใชมือขวาเทานั้นในการรับและ ดอลลารสหรัฐที่มีรอยพบั หรือรอยยับยยู ี่ 8. สหภาพเมียนมารมภี าษาทอ งถนิ่ ถงึ 100 ภาษา โดยนักธุรกิจสามารถใชภาษา ยน่ื ส่ิงของใหแ กกัน 6. คนตางชาติที่พํานักในสหภาพเมีย อังกฤษในการส่ือสารได สําหรับนามบัตร 2.ไมควรพูดเร่ืองการเมืองภายใน นมารและจําเปนตองจายคาสาธารณูปโภค ควรมีคําแปลเปนภาษาพมาอยูในน้ันและ หรอื สนิ คา ทผ่ี ลติ โดยราชการหรอื องคก รของ เม่ือไดรับนามบัตรมาควรอานกอนที่จะเก็บ ประเทศ รัฐเชน คานาํ้ คา ไฟ คาโทรศัพท หรือนาํ้ มนั เพ่อื เปน การใหเกยี รติ 3. การเดินทางเขาไปในสหภาพเมีย ตองจายดวยเงินสกุลดอลลารสหภาพเมีย นมาร ซง่ึ ไดจ ากการนําเงนิ ดอลลารไ ปแลก 9. ชาวพมาไมนิยมนัดหมายหรือ นมารเครื่องประดับหรือส่ิงของมีคาควร สอ่ื สารผา นทางอเี มล ควรตดิ ตอ ทางโทรศพั ท ติดตัวไปใหนอยที่สุด เพราะตองแจงบัญชี 7. รัฐบาลของสหภาพเมียนมารใหใช โทรสารหรือพบปะหารือ ทรัพยสินตอเจาหนาท่ีศุลกากรเวลาเขา เงินบาท เงินจาด และเงินดอลลารสหรัฐ เมือง และตองแสดงวาอยูครบเวลาจะเดิน 10. ส่ิงของที่นิยมมอบเปนของที่ระลึก ทางกลับจากสหภาพเมียนมาร หากไมครบ ใหกับชาวพมาคือ นิตยสาร หนังสือที่เปน ตอ งเสยี ภาษที นั ทเี พราะศลุ กากรจะถอื วา นาํ ภาษาอังกฤษและเครื่องสาํ อางแบรนดเนม. ทรัพยส ินนน้ั ไปขาย ขอ ควรระวงั ในการพาํ นกั อยใู นเมยี นมาร 4. การใชจายภายในประเทศตองใช 1.ไมควรพูดคุยเร่ืองทางการเมืองของ เงินสดเทานั้น ไมม ีการรับบัตรเครดิต เมยี นมารกับบุคคลท่วั ไปที่ไมร จู กั มักคนุ 5. การเดินทางไปยังเมียนมารตองเต 2.ไมควรใสกระโปรงสั้น หรือกางเกง รียมเงินดอลลารสหรัฐเพ่ือมาแลกเปล่ียน ขาสั้นในสถานท่ีสาธารณะ และในสถานท่ี สําคญั ทางศาสนา 3. ไมควรถายรูปในบริเวณสนามบิน สถานีรถไฟ และสถานท่ีราชการกอนไดรับ อนุญาต เม่ือจะถายรูปชาวเมียนมารก็ควร ขออนุญาตเชน กนั 4. ควรมีความสํารวมในวัดและศาสน สถาน ไมส ง เสยี งดงั รบกวนผอู ่ืน 5. ระมัดระวังการพูดเชิงลบเก่ียวกับ ประเทศหรือชาวเมียนมารในท่ีสาธารณะ เพราะมีชาวเมียนมารจํานวนมากท่ีเขาใจ ภาษาไทยไดดี 180

6. เมียนมารไดเปล่ียนช่ือประเทศ อนามัย โดยเฉพาะนํา้ ด่ืม ควรดมื่ นา้ํ ท่บี รรจุ แลว จึงไมควรใชชื่อเดิม (Burma) กับชาว ในขวดปด ผนึกเรียบรอ ย เมียนมาร 9. ทางการเมียนมารอาจหามชาวตาง 7. ผทู มี่ ปี ญ หาสขุ ภาพควรจดั เตรยี มยา ชาติเดินทางไปยังบางเมืองหรือบางพ้ืนท่ี ประจาํ ตัวมาดว ย หากประสงคท่ีจะเดินทางไปเมืองที่ไมใช แหลง ทอ งเทยี่ วของเมยี นมาร ควรตรวจสอบ 8. ควรระมัดระวังเลือกรับประทาน ขอมลู กอ น อาหารและนํ้าด่ืมจากรานท่ีสะอาดถูกสุข สาธารณรฐั สงั คมนยิ มเวยี ดนาม 7. ชาวเวยี ดนามจะใหค วามสําคัญกบั ขอ ควรระวงั ในการพาํ นกั อยใู นเวยี ดนาม การเคารพผูอาวุโส ซ่ึงคลายกับชาวไทยจึง 1. การใชเ งนิ ในเวยี ดนาม ใชไ ดท ง้ั สกลุ ธรรมเนยี มปฏบิ ัติของชาวเวยี ดนาม เปน โอกาสทนี่ กั ธรุ กจิ ไทยจะเขา ถงึ และสรา ง 1. การแตง กายเพอ่ื ไปเจรจาธรุ กจิ หาก ความประทบั ใจไดม ากกวา นกั ธรุ กจิ ทม่ี าจาก ดองของเวียดนาม และเงินยูเอสดอลลาร ชาตติ ะวนั ตก ดังนั้นไมจําเปนตองแลกเงินเวียดนามเยอะ ใสเ ครอ่ื งประดบั มาก เกนิ ไปชาวเวยี ดนามจะ มากนกั เพราะคณุ จะงงและสบั สนกบั ตวั เลข มองวาเปน มารยาททีไ่ มเหมาะสม 8. การพบกันครั้งแรกควรมีการแลก มากมายได แลกไวพอใชจายสําหรับซอ้ื ของ นามบัตรกันโดยใชมือทงั้ 2 ขา งยนื่ นามบัตร เล็กๆ นอยๆ หรือตอนรับประทานอาหาร 2. ระหวา งประชมุ ไมค วรปฏเิ สธการรบั จากน้ันไมควรเก็บใสกระเปาทันที แตควร พ้ืนเมืองตามรานเล็กๆ สวนเงินดอลลาร ชา กาแฟหรอื ของวา ง เพราะตามธรรมเนยี ม อานชื่อแบบออกเสียงเพื่อแสดงถึงความ ไวสําหรับจายคาโรงแรมหรือแพ็กเกจทัวร ถอื วา หยาบคาย ใสใจ ระหวางทาง ซ่ึงควรมีติดตัวไวเปนธนบัตร หลาย ๆ จาํ นวน 3. หา มแสดงความคดิ เหน็ เรอ่ื งสงคราม 9. หา มมอบผา เชด็ หนา เปน ของขวญั ให การเมืองกฎหมาย ศาสนา แกช าวเวยี ดนาม เพราะถอื วา เปน สญั ลกั ษณ 2. การบริโภคอาหารและน้ําดื่มใน ของความโศกเศรา เวียดนามตองระมัดระวัง ควรซ้ือน้ําด่ืมที่ 4. เม่ือตองการนัดเจรจาธุรกิจควรนัด บรรจุเปนขวด หรือกรองนํ้าแลวตมกอนจะ ลวงหนาอยา งนอ ย 1 สัปดาห 10. การประชุมควรเริ่มจากกลาวคํา ดื่ม และการบรโิ ภคอาหารประเภทผกั ผลไม ขอบคุณท่ีใหโอกาสเขาพบ การเจรจาควร ตอ งลางใหส ะอาดกอ น 5. ชาวเวยี ดนามตรงตอ เวลา ขอนดั เพอื่ พูดใหตรงประเด็นไมออมคอม หากชาว เจรจาธุรกจิ กค็ วรไปใหต รงเวลา เวียดนามพยักหนาในระหวางที่ดําเนินการ 3. อยานําส่ิงตองหามเหลาน้ีเขา เจรจาไมไ ดมีความหมายวาจะยอมรับ ประเทศเวียดนาม เชน อาวุธ วัตถุระเบิด 6. การทักทายของชาวเวียดนามบาง อุปกรณทางการทหาร ยาเสพติด สารเคมี คนจะใชการสัมผัสมือแบบสองมือ โดย ประทัดและดอกไมไฟ วีดีโอเทป (สําหรับ วางมอื ซา ยไวบนขอมือขวา วิดีโอเทปศุลกากรจะกักไวระยะหน่ึง เพื่อ การตรวจสอบ) สิง่ ทท่ี ําใหเส่อื มเสยี ศลี ธรรม และเปน ภยั ตอ การเมอื งและความมนั่ คง สอ่ื ลามกอนาจาร 4. อยาตกลงซื้อของหรือใชบริการใดๆ โดยทีไ่ มสอบถามราคาใหแนใ จเสียกอน ไม เชน นั้นจะเสียใจภายหลงั ได Phetchaburi 181

เสนทางสขุ ภาพ ออกกาํ ลงั กาย ใหเ หมาะสมกับวัย (วัยเดก็ ) ขอแนะนําในการออกกําลงั กาย 1. กจิ กรรมการออกกาํ ลงั กาย ควรเนน ความสนกุ สนาน รปู แบบ ท่ีงา ยๆ 2. ควรคาํ นงึ ถงึ ความปลอดภัย ไมหนกั เกนิ ไป 3. ควรจดั กจิ กรรมในลกั ษณะคอยๆ เพ่มิ ระดบั ความหนักของ การออกกําลงั กายจนถงึ ระดบั หนกั ปานกลาง 4. ควรอบอุนรางกายกอนออกกําลังกาย และผอนคลาย รา งกายหลังการออกกําลงั กายทกุ ครั้ง 5. การออกกําลังกายเพ่ือเพ่ิมความแข็งแรงของกลามเน้ือ ควรใชก จิ กรรมลุกน่ัง ดนั พ้ืน โหนบาร ยกลูกนํา้ หนกั ทีไ่ มห นักมาก วัยเด็กเปนวัยที่อยูในชวงของการพัฒนาทางดานรางกาย ขอควรระวังในการออกกาํ ลงั กาย จติ ใจ อารมณ สังคม และสตปิ ญญา การออกกาํ ลงั กายจะชว ย 1. เม่อื เด็กไมส บายมไี ข ตวั รอน ไมควรออกกําลงั กาย สงเสริมใหระบบตางๆ ของรางกาย เชน ระบบกระดูก ระบบ 2. หลีกเล่ียงกิจกรรมท่ีมีการปะทะกระทบกระเทือนหรือใช กลามเน้ือ ระบบขอ ตอ ตา งๆ รวมทั้งสง เสรมิ สุขภาพจติ ของเด็ก ไดอ กี ดว ย มาดกู นั วา การออกกาํ ลงั กายทเี่ หมาะสมสาํ หรบั เดก็ ๆ ความอดทนมากเกนิ ไป ลกู หลานทีเ่ รารักควรเปนอยางไรกนั คะ 3. ควรหลีกเล่ียงสภาพอากาศรอน หรอื มแี สงแดดมาก และตอ งใหเ ดก็ ดมื่ นา้ํ เปนระยะๆ หลกั ของการออกกําลงั กายในวยั เดก็ แคจัดหากิจกรรมการออกกําลัง 1. กิจกรรมการออกกําลังกาย ไดแก วิ่ง เลนกีฬา กายใหบุตรหลานอยางเหมาะสมกับวัยและ สภาพรางกายหรือความพรอมของเด็กเอง ก็จะชวยให ตางๆ เชน ฟตุ บอล บาสเกตบอล เทนนิส แบดมนิ ตัน พวกเขามสี ุขภาพสมบรู ณแข็งแรง สดใส รา เรงิ ไดค ะ วา ยนํ้า เปนตน 2. ความหนักของการออกกําลังกาย โดยใหอ ตั ราการเตน ของหวั ใจอยรู ะหวา ง 60-80% ของอัตราการเตนของหัวใจ สงู สุด 3. ความนานของการออก กาํ ลงั กาย ใชเ วลา 20-60 นาที 4. ความบอยของการ ออกกําลังกาย 3-5 วันตอ สปั ดาห ท่ีมา: คณะวิทยาศาสตรการกีฬาและสุขภาพ สถาบนั การพลศกึ ษา วิทยาเขตชมุ พร 182

เสน ทางความงาม สิว!รักษาผวิ ไมใหเกิด 4. ยาลอกขุยและยาทําใหผิวแหง เชน เด๋ียวนี้มีปจจัยหลายอยางนะคะที่ทําใหเกิดสิวบนใบหนาได ไมวา Salicylic acid, Resorcinol, Sulphur, จะเปน กรรมพนั ธขุ องผวิ ทอ่ี าจแพง า ย หรอื มคี วามมนั ไดง า ย ความสกปรก Aluminum oxide ชวยในการลอกขุย และ จากฝุนควันหรือเชื้อโรคตางๆ ท่ีเราไปสัมผัสมา สิวที่เกิดแลวไมยอม ทําใหสวิ แหงหลดุ ออกมา จางหายไปไหนแตจะสรางความรําคาญทุกครั้งที่สองกระจกน้ันก็คือ สิวอุดตัน ทาํ ใหส าวๆ อาจจะตองกลบรองพื้นมากหนอ ยเวลาแตง หนา นอกจากนกี้ ย็ งั มกี ารรกั ษาสวิ อดุ ตนั โดย เพื่อลบรอยสิวดําๆ แตหารูไมยิ่งกลบก็ย่ิงจะเพ่ิมความเสี่ยงที่จะเปน การพบแพทยผูเช่ียวชาญ ซ่ึงจะมีกรรมวิธี สวิ อุดตันที่จดุ อนื่ ๆ ของใบหนา ตอไปไดอีก ต้ังแตการกดสิวอุดตันใหหลุดออกมา, การ ฉายดวยแสงเลเซอรสีแดงซ่ึงทําหนาท่ีคลาย เรามาดูวิธีการปองกันและรักษาสิวอุดตันกันนะคะวามีอะไรที่พอ กบั ยาแกอ กั เสบทาํ ลายเชอื้ แบคทเี รยี ทที่ าํ ให จะชวยเราไดบ า งคะ เกดิ สิว พรอ มกบั ชวยลดการทาํ งานของตอม ไขมัน ทําใหสวิ แหง เรว็ , การทาํ Treatment 1. รักษาความสะอาดของใบหนาไมใหมีคราบสกปรกหลงเหลือ เพ่ือใหผิวหนังมีการผลัดเปล่ียนผิวท่ีรวดเร็ว ตกคางอยู ขอควรระวังคือ หากเร่ิมมีสิวอุดตันบนใบหนาควรงดการ มากย่ิงข้ึน และการทํา Iontophresis จะชวย ผลกั ตวั ยาใหเ ขา สชู น้ั ผวิ หนงั ทลี่ กึ ซงึ่ การทายา แตงหนาดวยเคร่ืองสําอาง เพราะจะย่ิงทําใหเกิดการอุดตันของ โดยปกตทิ วั่ ไปไมส ามารถทาํ ได มกั จะใชร ว มกบั สิวมากยง่ิ ขึน้ ยาทาสวิ อดุ ตนั กลมุ Tretionoin หรอื Retin-A 2. ทายารักษาสิวซึ่งสวนใหญมักจะอยูในรูปแบบของโลช่ัน ไมวาจะรักษาดวยวิธีใดก็ตามยอมมี ครีมแตม โดยเลือกที่มีสวนประกอบของกลุมเบนซอยลเพอรออก ผลขางเคียงไมอยางใดก็อยางหนึ่งเสมอ ไซต (BP) แตควรเริ่มใชจากคาเปอรเซ็นตนอยๆ กอนนะคะ, กรด ทางที่ดีเราควรหาทางปองกันจะดีกวา ไซลิไซลิก (BHA) และกลุมคลินดามันซิน เปนตน สวนครีมทาสิว ปลอยใหเกิดสิวอุดตันดีกวานะคะ เชน อุดตันในกลุม Tretionoin ที่มีลักษณะเปนเจลหรือน้ํา ยิ่งมีความ รกั ษาความสะอาดของใบหนา รบั ประทาน เขมขนสูงก็ยิ่งละลายสิวอุดตันไดดี แตจะมีผลคางเคียงทําให ผักผลไมท่ีมีกากใยสูง และออกกําลังกาย เพอ่ื ใหก ระตนุ ใหต อ มนา้ํ เหลอื งในรา งกาย ใบหนาเกิดความระคายเคืองมากขนึ้ ตามไปดว ย ทํางานไดดีขึ้น เชน การแกวงแขนวันละ 3. ยารักษาสิวชนิดรับประทานในกลุม Retinoids 500-1,000 คร้ังคะ (วิธีนี้ผูเขียนทดลอง อาทิ เชน Roaccutane, Isotretionoin, โดยมีขนาดตั้งแต มาดวยตนเองแลว) เพราะนอกจากจะ 10-20mg.ใชต ามลกั ษณะความรนุ แรงของอาการประโยชน ประหยัดสตางคมากกวาแลวยังไมเจ็บตัว คือชวยลดปญหาผิวมัน โดยการลดการทํางานของตอม ดว ยคะ ไขมันในรา งกาย ทาํ ใหหนา แหงและมีความมนั นอ ยลง

¡Å‹ÁØ ºÃÉÔ ·Ñ ¹Ñ¹ÂÒ§à·ç¡«ä ·Å ¾Ñ¹¸¡¨Ô ..mission àÃÒÁ‹§Ø ÁèѹÃÇÁ¾Åѧ·Ò§¸ÃØ ¡Ô¨ â´Â¡ÒÃÃǺÃÇÁ·Ã¾Ñ Âҡõ‹Ò§æ à¾Íè× µÍºÊ¹Í§¤ÇÒÁµŒÍ§¡ÒâͧÅÙ¡¤ÒŒ ·§Ñé ¤Ø³ÀÒ¾áÅФÇÒÁÃÇ´àÃÇç àÃҨз‹ÁØ à·¾Å§Ñ ÍÂÒ‹ §Á§Ø‹ Áѹè à¾Íè× Ê‹§ÁͺÊÔ¹¤ŒÒµÒÁ¡íÒ˹´ àÃÒ¨ÐäÁ‹ Ë嫯 ¹Ôè§ã¹¡ÒäԴ¤¹Œ ¾Ñ²¹Ò¼ÅµÔ Àѳ± ¡Ãкǹ¡Ò÷ҧ¸ØáԨ áÅÐ ºØ¤ÅÒ¡Ã à¾×èͤÇÒÁà¨ÃÞÔ àµºÔ âµÍÂÒ‹ §ÁÑ蹤§¢Í§Í§¤¡ Òà ÇÊÔ Ñ·ÑÈ ..vision ¤Ò‹ ¹ÔÂÁËÅÑ¡ ¨µÔ ÊíÒ¹Ö¡¢Í§¤ÇÒÁÃѺ¼Ô´ªÍº¤ÇÒÁÃѺ¼Ô´ªÍº ¡Å‹ØÁºÃÉÔ Ñ·¹¹Ñ ÂÒ§à·ç¡«ä·ÅàÃÒ ¶Í× Ç‹ÒÅ¡Ù ¤ŒÒ¤Í× ËÑÇ㨢ͧ¸Øá¨Ô àÃÒµ§Ñé µ‹Í˹Ҍ ··Õè äèÕ ´ŒÃѺÁͺËÁÒµÒÁ¤Òí Áѹè ÊÑÞÞÒ·Õèä´ŒãËŒäÇŒ ã¨ÁÕÊÇ‹ ¹ÃÇ‹ Á㹤ÇÒÁÊÒí àÃ稷ҧ¸Øá¨Ô â´Â»¯ÔºÑµ§Ô Ò¹´ÇŒ ¤ÇÒÁ Á‹Ø§Áѹè áÅз‹ØÁà· à¾èÍ× ãËŒ§Ò¹ ¢Í§ÅÙ¡¤ŒÒ â´Â㪷Œ ÃѾÂҡ÷¡Ø ´ŒÒ¹·èÕÁÕ ºÃÃÅؼÅÊíÒàèç áÅÐÃºÑ ¼Ô´ªÍºµÍ‹ ¼Å¨Ò¡¡ÒáÃзíÒ »ÃСͺ¡ºÑ ¤ÇÒÁ¤´Ô ÊÃÒŒ §ÊÃä Á‹§Ø ๹Œ ¤ÇÒÁ¾Ö§¾Í㨢ͧš٠¤ÒŒ â´Â·ÁÕ §Ò¹ÁÍ× ÍÒªÕ¾¢Í§àÃÒ ¡ÒÃãˤŒ ÇÒÁÊÒí ¤ÑÞ àÍÒã¨ãʋ㹡ÒüÅÔµÊ¹Ô ¤ŒÒ ºÃÉÔ ·Ñ ¹Ñ¹ÂÒ§à·ç¡«ä·Å ¨íÒ¡Ñ´ ã˺Œ Ã¡Ô Òà á¡äŒ ¢»˜ÞËÒà¾Í×è µÍºÊ¹Í§µ‹Í¤ÇÒÁµÍŒ §¡Òà µéѧÍÂà‹Ù Å¢·èÕ 185,186,189 ËÁ‹Ù 2 ¶¹¹à¾ªÃà¡ÉÁ ¢Í§Å¡Ù ¤ÒŒ ÍÂÒ‹ §¶Ù¡µŒÍ§áÅÐÃÇ´àÃÇç ÃÇÁ¶Ö§¡Òþ²Ñ ¹Ò »ÃºÑ »ÃاÍÂÒ‹ §µ‹Íà¹è×ͧ à¾×Íè ÊÃÒŒ §ÊÃ䤏 ÇÒÁ¾§Ö ¾Í㨠µ.à¢ÒÂÍŒ  Í.à¢ÒŒ͠¨.ྪúÃØ Õ Ê§Ù ÊØ´á¡Å‹ Ù¡¤ÒŒ ºÃÔÉ·Ñ ¹¹Ñ ÂÒ§á¿ºÃ¤Ô ¨íÒ¡Ñ´ µéѧÍ‹à٠Ţ·Õè 187-188 ËÁÙ‹ 2 ¶¹¹à¾ªÃà¡ÉÁ µ.à¢ÒÂÍŒ  Í.à¢ÒŒ͠¨.ྪúØÃÕ

µÑÇá·¹¨Òí ˹ҋ ¨ѧËÇ´Ñ ÃÐÂͧ ¤³Ø ¾ÅÍ (Ìҹ¾ÅÍÂÊÇ ˌҧáËÅÁ·Í§) T.087-110-4532, ¤Ø³ºÕÁ (ÌҹººÕ ժ͍ » µÅÒ´¹Ñ´ÊµÒÃ) T.081-055-8283, ¤Ø³áÁ¡ç (·ÑºÁÒ) T.086-331-6330


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook