Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เมียนมาร์-myanmar

เมียนมาร์-myanmar

Published by E-Book Library NFE Bangnamphueng, 2019-08-26 05:01:06

Description: เมียนมาร์-myanmar

Search

Read the Text Version

กระทรวง ข้อมูลตดิ ตอ่ (M9.inกiรsะtrทyรวoงfพEลnงั eงrาgนy) ท ่อี ย ู่ BMuyiladninmgaNr o . 6 , Nay Pyi Taw City, เโวท็บรไศซัพตท ์ ์ h0t9t5p-:/6/7w4w1w10.m60odins.net/ myanmarinfo/ministry/energy.htm อเี มล [email protected] 10. กระทรวงการขนสง่ ทางรถไฟ เวบ็ ไซต์ http://www.modins.net/ (Ministry oftRioanil)Transporta- yanmarinfo/ministry/rail.htm เว็บไซต ์ http://www.moh.gov.mm 11. กระทรวงสาธารณสุข (Ministry of Heath) เวบ็ ไซต์ http://www.commerce.gov.mm 12. กระทรวงพาณชิ ย์ (Minister of Commerce) 100

กระทรวง ขอ้ มูลตดิ ต่อ 13. กระทรวงการโรงแรมและ ทอี่ ยู่ The Republic of the Union of (Ministกeาrรทoอ่f งHเทoย่ีteวls and Myanmar Building No. 33, Naypyitaw โทรศัพท ์ 067- 406454, 406061, 406130 Tourism) เอวเี บ็มไลซ ต ์ hmttop.m://[email protected],. o r g [email protected], [email protected] เว็บไซต ์ http://www.myanmar.com/finance/ 14. กระทรวงการคลงั และสรรพากร (MinisteRreovfeFniunea)nce and 15. เกทรคะโทนรโวลงยกีสาารรสสื่อนสเทารศและ เว ็บ ไ ซ ต ์ hmtytpa:n/m/wawrinwf.om/modininisst.nrye/tc/pt.htm (Ministry of Communications, Posts and Telegraphs) เว็บไซต ์ http://www.mora.gov.mm 16. กระทรวงกจิ การศาสนา (Minister of Religious Affairs) ระบบบรหิ ารราชการของสาธารณรัฐแห่งสหภาพเมยี นมาร์ 101

กระทรวง ขอ้ มูลตดิ ต่อ เว็บไซต์ http://www.construction.gov.mm 17. กระทรวงโยธาธกิ าร (Minister of Construction) 18. กรแะลทะรเทวงควโนิทโยลายศี าสตร์ เว็บไซต ์ hmtitnpi:s/t/rwy/wscwie.mncoed.hintsm.n e t/myanmarinfo/ (Ministry of Science and Technology) (1M9.inกiรstะeทrรoวงfวCัฒuนltธuรrรeม) เวบ็ ไซต ์ http://www.myanmar.com/ministry/ culture/ 20. กระทรวงการอพยพ เว็บไซต ์ http://www.myanmar.com/Ministry/ และประชากร imm&popu/ (Ministry of Immigration & Population) 102

กระทรวง ขอ้ มูลติดตอ่ เว็บไซต์ http://www.myanmar-information. Net 21. กระทรวงสารสนเทศ (Minister of Information) 22. กระทรวงสหกรณ์ ท ีอ่ ย ู่ MNoin.i1st6ryNoafyCPoyoi pTaewra,tiMveysanBmuialdring (Ministry of Co-operatives) โเวทบ็ รไศซพั ตท ์ ์ 0h9t5tp-0:/6/7w-4w1w0.0m3y3ancoop.gov.mm อเี มล [email protected] 23. กระทรวงกิจการชายแดน เวบ็ ไซต ์ http://www.modins.net/myanmarinfo/ B(oMrdienrisAtrryeafosrapnrdogNraetsisonoaf l ministry/border.htm Races and Development Affairs) 24. กระทรวงพลังงานไฟฟา้ เวบ็ ไซต ์ http://www.modins.net/myanmarinfo/ ministry/electric.htm ( Ministry of Electric Power) ระบบบริหารราชการของสาธารณรฐั แห่งสหภาพเมียนมาร์ 103

กระทรวง ขอ้ มูลตดิ ตอ่ 25. กระทรวงการกฬี า เว็บไซต์ http://www.modins.net/myanmarinfo/ (Minister of Sports) ministry/sport.htm เวบ็ ไซต์ http://www.myanmar.com/Ministry/ Forest/ 26. กระทรวงป่าไม้ (Ministry of Forestry) (T2h7e. กMรiะnทisรtวrงyมoหfาดHไoทmยe เว็บไซต์ http://www.mora.gov.mm Affairs) เว็บไซต์ http://www.modins.net/myanmarinfo/ ministry/mine.htm 2(M8.inกiรsะtทryรวoงfเหMมinอื eงแs)ร่ 104

กระทรวง ข้อมูลติดตอ่ เวบ็ ไซต ์ http://www.myanmar.gov.mm/ministry/ MSWRR/ 2ส9ง.เคกรราะะทหร์แวลงะสกวาัสรดตกิ ั้งาถร่นิ สฐังาคนมใกหามร่ (MReinliiesftearnodf RSeosceiattlleWmelefnarte) , 30.แกลระะกทารรวพงปัฒศนุสาัตชวน์ บปทระมง เวบ็ ไซต ์ http://www.livestock-fisheries.gov.mm (MFiinshisetreier sofanLdiveRsutroaclk, Development) ระบบบริหารราชการของสาธารณรัฐแหง่ สหภาพเมียนมาร์ 105

4 .3หจร�ำอืนควุณนขลา้ ักรษาชณกะาหรลทักว่ั ใปนรกะาเทรเศขพา้ รสอู้ป่ มรคะณุชาลคกั มษอณาเะซหียลนกั 4.3.1 จ�ำนวนข้าราชการทั่วประเทศ จ�ำนวนข้าราชการเมียนมาร์ท่ัวประเทศ (Population of Civil Servants) จากรายงาน เม่ือวันท่ี 1 เมษายน พ.ศ. 2556 ว่ามีเกือบ 2 ล้านคนโดยแยกเป็นข้าราชการประจ�ำ 1.2 ล้านคน เป็นพนักงาน 740,000 คน และขา้ ราชการเมยี นมารท์ เ่ี กษยี ณอายรุ าชการเมอ่ื อายคุ รบ 60 ปี ท่ีรบั บ�ำนาญอกี 760,000 คน[20b] 4.3.2 คุณลกั ษณะหลกั ของขา้ ราชการเมยี นมาร์ จากการท่ีรัฐบาลเมียนมาร์ปกครองโดยระบอบเผด็จการทหารมา อยา่ งยาวนาน แม้ว่าจะเปดิ ให้มกี ารเลอื กตัง้ แตก่ ฎระเบียบต่างๆ ยงั คง อยู่ คุณลกั ษณะข้าราชการของเมียนมารจ์ งึ พอสรปุ ไดด้ งั น้ี 1. ต้องไมเ่ ปน็ บุคคลทีม่ คี วามผิดตามกฎหมายท่ีเปน็ ขอ้ หา้ มส�ำหรับ ผทู้ ีเ่ ขา้ รับราชการ 2. ตอ้ งไมเ่ ปน็ บคุ คลทเ่ี ปน็ โรคตอ้ งหา้ มตามกฎหมายทกี่ �ำหนดส�ำหรบั ผู้ทเ่ี ขา้ รบั ราชการ 3. ตอ้ งเขา้ ใจในกฎวินยั ข้าราชการ 4. ตอ้ งปฏิบัติตามระเบียบราชการ 5. ต้องรับใช้ประเทศดว้ ยความซ่ือสัตย์ 106

4.3.3 คณุ ลักษณะหลักของขา้ ราชการในการเข้าสู่ ประชาคมอาเซยี น จากการจดั การประชมุ ขา้ ราชการอาวโุ สอาเซยี นครง้ั ท่ี 17 ณ ประเทศ เมยี นมาร์ เมอ่ื วนั ที่ 26-27 กนั ยายน พ.ศ. 2556 ซงึ่ สมั มนาถงึ สาระส�ำคญั ของข้าราชการพลเรือนท่ีรัฐบาลเมียนมาร์ประกาศถึงวัตถุประสงค์ว่า ต้องการให้ข้าราชการอาวุโสมีความเข้าใจร่วมกับรัฐบาลเมียนมาร์ใน การเตรียมการเขา้ สู่สงั คมอาเซียนดงั น้ี • เพอ่ื ใหแ้ นใ่ จวา่ ขา้ ราชการอาวโุ สเขา้ ใจองคป์ ระกอบทสี่ �ำคญั ตา่ งๆ และนโยบายของรฐั • เพื่อใหแ้ น่ใจวา่ ขา้ ราชการอาวโุ สคุน้ เคยกบั หลกั ธรรมาภบิ าล ทงั้ ใหก้ ารสนบั สนนุ ในการปฏบิ ตั ิ เพอื่ ท�ำใหเ้ กดิ การปกครองทสี่ ะอาดโปรง่ ใส • เพื่อให้แน่ใจว่าข้าราชการระดับอาวุโสต้องรอบรู้เรื่องการเมือง เศรษฐกิจ สงั คม และมีความรดู้ ้านการบริหารกลไกบรหิ ารของชาติ • เพื่อให้แน่ใจว่าข้าราชการอาวุโสมีความรู้แน่นเกี่ยวกับกฎหมาย ข้าราชการพลเรือน และกฎหมายระหว่างประเทศในระดับที่แน่นอน และเพอื่ ปฎบิ ตั หิ นา้ ท่ีบริหารตามกฎเกณฑ์ • เพ่ือให้แนใ่ จว่าขา้ ราชการอาวโุ สมคี วามรอู้ ย่างละเอยี ดรอบคอบ ในจริยธรรมของข้าราชการ กฎข้อบังคับ และระเบียบต่างๆ รวมถึง วิธีปฏิบัติการ • เพื่อให้แน่ใจว่าข้าราชการอาวุโสได้รับรู้ระบบความนึกคิดใหม่ๆ และทันสมัยในด้านการบริหาร และเร่ิมต้นเพิ่มระดับความสามารถ ในการเปน็ ผนู้ �ำในภาคการบริหารจัดการ ระบบบริหารราชการของสาธารณรฐั แหง่ สหภาพเมียนมาร์ 107

• เพ่ือให้แน่ใจวา่ ขา้ ราชการอาวุโสได้ยกระดบั สมรรถนะ การจัดการอบรมขา้ ราชการอาวุโสขา้ งต้น เปน็ โครงการน�ำร่อง ก่อน ทจี่ ะจดั อบรมพฒั นาบคุ ลากรในระดบั อนื่ ๆ ทใี่ หส้ อดคลอ้ งกบั การท�ำแผน พฒั นาท่เี มียนมาร์เปน็ ประธานอาเซยี นต่อจากประเทศบรไู น ส่วนในด้านความพร้อมของการเตรียมบุคลากรนั้น เมียนมาร์มี ความพร้อมแล้ว ซ่ึงดูได้จากการประชุมธรรมาภิบาลอาเซียนท่ีย่างกุ้ง (the ASEAN Good Governance Forum in Yangon) ที่จัดโดย คณะกรรมการข้าราชการพลเรือนสหภาพเมยี นมาร์ (The Union Civil Service Board) และ โปรแกรมพัฒนาของสหประชาชาติ (United Nations Development Programmed - UNDP) เม่ือวันที่ 24 กนั ยายน 2557 ท่ีผา่ นมา U Kyaw Thu ประธานกรรมการขา้ ราชการ พลเรือนพมา่ ได้กล่าวถึงการพฒั นาขา้ ราชการพลเรือนของเมียนมารใ์ ห้ สอดคลอ้ งกบั การเปลย่ี นแปลง โดยตอ้ งมกี ารตอบสนองตอ่ ความตอ้ งการ ของประชาชนตามความสามารถในการท�ำงานเพอ่ื ชว่ ยใหก้ ารด�ำเนนิ งาน ของรัฐเป็นไปอย่างดีย่ิงขึ้น โดยเน้นให้ความส�ำคญั ในเรอ่ื งของจรยิ ธรรม ในการท�ำงานของขา้ ราชการพลเรอื น[28a] อย่างไรก็ตาม จากการก่อต้ัง ASEAN ข้ึนน้ัน ได้มีความร่วมมือ ทางด้านการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ร่วมกันระหว่างประเทศสมาชิก โดยเมียนมาร์ได้รับผิดชอบในเร่ือง การฝึกอบรม (“Training of Trainers”) ทง้ั นี้เมยี นมารไ์ ดด้ �ำเนนิ การจัดหลกั สตู รอบรมต่างๆ ร่วมกับ ประเทศสมาชกิ เชน่ สงิ คโปร์ ในโครงการความรว่ มมอื (SCP) โดยเปน็ การ ใหข้ า้ ราชการเมยี นมาร์ไดเ้ ขา้ ฝึกอบรมกบั รฐั บาลสิงคโปร์ [30] เป็นต้น 108

5 ยุทธศาสตร์ และภารกิจของแตล่ ะ กระทรวง และหน่วยงานหลักทร่ี บั ผิดชอบ งานทเ่ี กย่ี วกบั ASEAN ระบบบริหารราชการของสาธารณรฐั แห่งสหภาพเมยี นมาร์ 109

ยุทธศาสตรก์ ารพฒั นาประเทศของเมยี นมาร์ เน่ืองจากประเทศเป็นจุดเช่ือมระหว่างภูมิภาคเอเชียใต้ เอเชีย ตะวันออก และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ประชากรส่วนใหญ่อยู่ใน วัยท�ำงาน และคา่ แรงต�่ำ ประกอบกบั มีทรพั ยากรธรรมชาตจิ �ำนวนมาก เช่น พลังงาน แร่ธาตุ ป่าไม้ พื้นที่การเพาะปลูก ตลอดจนทรัพยากร ทางทะเล และจัดเป็นประเทศในกลุ่มประเทศที่ยากจนที่สุด (Least Developed Country) ซง่ึ ไดร้ บั การยกเวน้ ภาษี และสทิ ธพิ เิ ศษทางการ คา้ จากหลายประเทศ ประกอบกบั เมยี นมารไ์ ดเ้ ปลย่ี นแปลงการปกครอง เป็นระบอบประชาธิปไตยและเปิดประเทศให้ผู้สนใจเข้าไปลงทุนได้ เสรีมากข้ึน โดยผ่านนโยบายส่งเสริมการลงทุนจากต่างประเทศของ เมยี นมาร์ การพฒั นาภาคการเงนิ การเดนิ หนา้ ปฏริ ปู และใชป้ ระโยชนจ์ าก ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละแรงงาน การสร้างบรรยากาศการลงทนุ รวมทัง้ การพัฒนาโครงข่ายคมนาคมในประเทศเชิงรุกท้ังทางถนน รถไฟ และ ทา่ เรอื ท�ำให้เมียนมาร์มกี ารพฒั นาอย่างมีนยั ส�ำคญั โดยมกี ารขยายตวั ทางเศรษฐกจิ ในปี พ.ศ. 2555 คิดเป็นรอ้ ยละ 6.3 ซึ่งสูงกว่าค่าเฉลีย่ ของ 5 ปที ผี่ า่ นมาทอี่ ยรู่ อ้ ยละ 54 อยา่ งไรกด็ รี ะบบการเมอื งและนโยบายของ เมยี นมารย์ งั ไมแ่ นน่ อน ระบบสาธารณปู โภคขน้ั พน้ื ฐานยงั ขาดแคลนและ มรี าคาสูง รวมถงึ เครอื ขา่ ยคมนาคมยังไมส่ มบรู ณ์ นอกจากนีเ้ มียนมารม์ ี ข้อจ�ำกัดทางด้านเงินทุนและระบบการเงินที่ไม่สามารถเคล่ือนย้ายได้ อย่างเสรี ประกอบกับในอดีตที่ผ่านมาเมียนมาร์ได้ร้บผลกระทบจาก มาตรการควำ่� บาตรของประชาคมโลก จงึ ท�ำใหค้ า่ ใชจ้ า่ ยในการลงทนุ ของ ภาครัฐและภาคเอกชนมีต้นทุนเฉล่ียสูงกว่าประเทศอื่นๆ ในภูมิภาค ดงั นั้น เมยี นมาร์จึงไดม้ ีการก�ำหนดแนวทางในการพัฒนาเศรษฐกจิ และ 110

สังคมของชาตติ ามแผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสังคมแหง่ ชาตเิ ม่ือวันท่ี 19 กรกฎาคม พ.ศ. 2555 ซ่ึงรัฐบาลจะเดินหนา้ สกู่ ารปฏริ ปู ระยะท่ี 2 โดย จะให้ความส�ำคัญตอ่ ประเด็นตา่ งๆ ดังนี้ 1. การจดั ท�ำแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ 20 ปี (พ.ศ. 2554-2574) (National Comprehensive Development Plan- NCDP) 2. ใหค้ วามส�ำคญั ตอ่ ภาคการคา้ และการลงทนุ รวมถงึ การระดมการ ลงทนุ ระหวา่ งประเทศ 3. การพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมทมี่ ปี ระชาชนเปน็ ศนู ย์กลาง 4. การบรหิ ารจดั การความชว่ ยเหลอื จากตา่ งชาตใิ หม้ ปี ระสทิ ธภิ าพ และสอดคลอ้ งกบั เปา้ หมายของประเทศในการปฏิรูประยะที่ 2 คือ การ พัฒนาเศรษฐกิจและยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชนชาวเมียนมาร์ ให้ดขี ึน้ 5. ส�ำหรบั การจดั ท�ำแผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมดงั กลา่ วขา้ งตน้ เมยี นมารม์ เี ป้าประสงคย์ ึดหลักประชาชนระดบั รากหญ้า (Bottom up) ไดร้ ับประโยชนส์ งู สดุ (People-centered Approach) จากการบริหาร จัดการของรัฐ และมีส่วนร่วมในการก�ำหนดทิศทาง นโยบาย และ กระบวนการในการพฒั นา ซงึ่ มปี จั จยั ส�ำคญั ในการปรบั ปรงุ คณุ ภาพชวี ติ ด้านต่างๆ เช่น ด้านส่ิงแวดล้อม ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน สภาพความเป็นอยู่ภายในชุมชน เป็นต้น ซ่ึงตามกรอบแผนพัฒนา เศรษฐกจิ และสงั คม (The Framework on Economic and Social Reform: FESR) จะมีโครงการเร่งดว่ นเพอ่ื ให้เกดิ ความเจรญิ เตบิ โตทาง ด้านเศรษฐกจิ และสงั คมอยา่ งต่อเนอ่ื ง ดงั นี้ ระบบบรหิ ารราชการของสาธารณรัฐแห่งสหภาพเมยี นมาร์ 111

1) ปฏิรปู ภาษีและการเงิน 2) ปฏิรปู ภาคการคลังและการเงิน รวมถงึ ธนาคารกลาง 3) เปดิ เสรีทางการค้าและการลงทนุ 4) พฒั นาธุรกิจภาคเอกชน โดยปฏริ ูปกฎหมายและระเบยี บท่ี ส�ำคัญส�ำหรบั ภาคการท่องเที่ยว 5) พัฒนาระบบโทรคมนาคมและการสือ่ สารให้ทันสมยั 6) พัฒนาสาธารณสขุ และการศึกษา 7) สร้างความมัน่ คงด้านอาหารและความเจริญเตบิ โตภาค การเกษตร 8) สรา้ งระบบบริหารจดั การให้มีความโปรง่ ใส โดยเนน้ ความ โปร่งใสในการจัดท�ำและด�ำเนนิ งานทใ่ี ชจ้ ่ายจาก เงนิ งบประมาณภาครฐั 9) พฒั นาโครงสรา้ งพ้ืนฐาน โดยปรับปรุงระบบคมนาคมขนสง่ สาธารณะและพลงั งาน รวมทงั้ ปรบั ปรงุ กฎหมายเกยี่ วกบั การ จา้ งงานและการให้เอกชนร่วมลงทุนในกิจการของรัฐ 10) สร้างความมีประสิทธภิ าพและประสิทธผิ ลจากการ ด�ำเนินงานของรัฐ 11) ส�ำหรับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ 20 ปี (พ.ศ. 2554-2574) ตามกรอบดงั กลา่ วขา้ งต้น เมียนมาร์ได้ ก�ำหนดเป้าหมายท่ีส�ำคญั ไว้ ดงั นี้ (1) ปรับปรุงคณุ ภาพชวี ิตของประชาชนชาวเมียนมาร์ (2) เพมิ่ รายไดป้ ระชากร (3) พัฒนาโครงสร้างพน้ื ฐานทางด้านเศรษฐกจิ สังคม และ 112

สาธารณปู โภค เชน่ การคมนาคม แหลง่ นำ้� และสขุ าภบิ าล พลงั งานไฟฟา้ การศึกษา การสาธารณสขุ และระบบประกันสังคม เป็นตน้ (4) จัดให้มีการจา้ งงานเพิม่ มากขึ้น (5) อนุรักษท์ รัพยากรธรรมชาติ (6) บรรลเุ ปา้ หมายการพฒั นาแหง่ สหสั วรรษ (Millennium Development Goals: MDGs) ตามวัตถุประสงค์ของสหประชาชาติ และประชาคมอาเซียน 5.1 ยทุ ธศาสตร์ และภารกิจของแต่ละกระทรวง หลงั จากเหตกุ ารณล์ กุ ขนึ้ สู้ ปี พ.ศ. 2531 ของประชาชน ท�ำใหก้ องทพั เมยี นมารท์ มี่ กี �ำลงั ถงึ 2 แสนคน[20a] ยงั หวน่ั ไหว และไดม้ กี ารเปลย่ี นแปลง เชงิ โครงสรา้ ง ในเรอ่ื งความมนั่ คงทางทหารและความมน่ั คงทางการเมอื ง ซึ่งทหารได้รักษาความเป็นเผด็จการ ซ่อนไว้ในรัฐธรรมนูญและกลไก ทุกอย่าง มีการเพ่ิมก�ำลังทหารถึงในปัจจุบันคาดว่ามีถึง 4 แสนคน ซึ่งเป็นตัวเลขที่ชี้ว่า กองทัพเมียนมาร์มีก�ำลังพลมากเป็นอันดับสองใน เอเชยี ตะวันออกเฉียงใต้รองจากเวียดนาม และเป็นกองทพั ทใ่ี หญ่อนั ดับ 12 ของโลก[20a] และตั้งแต่ พ.ศ. 2533 เมียนมาร์ได้ปรับเปล่ียนท่ีต้ัง กองบัญชาการให้เข้มแข็งขึ้น โดยการวางระบบป้องกันตนเองเน้นเร่ือง อุโมงค์ใต้ดินและย้ายเมืองหลวงไปที่เนปิดอว์ เรียกว่าเป็นการสร้าง “ก�ำแพงเหล็ก” ของเมียนมาร์ โดยระบบอุโมงค์ใต้ดินของเมียนมาร์จะ ใชเ้ พอื่ ท�ำสงครามอโุ มงค์ (Tunnel Warfare) ปอ้ งกนั การโจมตที างอากาศ และสงครามกองโจร ระบบบริหารราชการของสาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมาร์ 113

จากจุดแตกหัก (Breaking Point) ของเหตุการณ์ในปี พ.ศ 2531 ที่เรียกว่า “ลุกขึ้นสู้ 1988” (Uprising 1988) ซึ่งมีความหมายต่อ ความคิดทางยุทธศาสตร์ของกองทัพเมียนมาร์สูง ท�ำให้กองทัพ เมียนมาร์ปรับเปล่ียนนวัตกรรมทางยุทธศาสตร์คือภูมิรัฐศาสตร์ โดย หาศูนย์อ�ำนาจแห่งใหม่ท่ีกรุงเนปิดอว์ สาเหตุการย้ายเมืองหลวง หากจะมองแบบนักการทหารพบได้ว่า สภาพผังเมืองกรุงย่างกุ้งมีความ สุ่มเสี่ยง แม้รฐั บาลเมยี นมารจ์ ะพยายามจดั ระเบียบหลายคร้ัง บทเรยี น จากเหตกุ ารณ์ 1988 ยงั คงอยู่ในกลุ่มทหาร การท่ีสถานทตู หลายแห่งมี การต้ังสถานีขา่ วกรองทางการทหาร และสถานทตู บางแหง่ มกี ารติดต่อ เชื่อมต่อกับนักข่าวต่างประเทศ ส่งผลให้การจัดเก็บข้อมูลร่ัวไหล สู่ภายนอก อีกทั้งประชาชนหรือฝูงชนตั้งถ่ินฐานไม่เป็นระเบียบปะปน ไปกับสถานที่ราชการ การพบปะระหว่างราชการกับประชาชนมีความ หละหลวมไมร่ ัดกมุ แนน่ หนา จึงเป็นสาเหตหุ นึง่ ทตี่ ้องการเปิดพนื้ ทใี่ หม่ มีการวางผังเมืองใหม่ วางระบบความมั่นคงใหม่ รวมถึงประชากร พลเรือน ประชาชน ขา้ ราชการ และกองทพั ใหม้ ีลักษณะทแ่ี ยกสว่ นกัน เพื่อง่ายต่อการควบคุมและสั่งการ เป็นการท�ำการอย่างไม่เปิดเผย แม้กระทั่งนักการทูตตะวันตกก็ไม่ทราบเร่ืองการย้ายเมือง จวบจน 7 ปีผ่านไป เนปิดอว์เพิ่งจะเปิดตัวออกสู่โลกภายนอก ลับ ลวง พราง 7 ปี ยอ้ นหลงั สะทอ้ นยทุ ธศาสตรก์ องทพั เมยี นมาร์ เรอื่ งการปอ้ งกนั การ ลุกข้ึนสู้ (Uprising) เห็นได้จากผังเมืองกรุงเนปิดอว์ท่ีถูกสร้างขึ้นมา อยา่ งมรี ะบบ มกี ารแบง่ โซนอพารท์ เมนทส์ �ำหรบั ขา้ ราชการเพอ่ื อยอู่ าศยั ให้ง่ายต่อการบังคับบัญชา ส่วนกองทัพและกองบัญชาการกระทรวง กลาโหมแยกไปสว่ นทร่ี าบสงู ตะวนั ออกของเมอื งฉาน และมกี ารเจาะแนว 114

ภูเขาสร้างคลังสรรพาวุธต่างๆ เก็บเข้าไปในเขตภูเขา มีการแบ่งส่วน กรุงเนปิดอว์ได้อย่างชัดเจน มีการแบ่งศูนย์ราชการแผ่นดินคล้าย ปตุ ราจายา สว่ นเขตเมอื งเกา่ มพี ลเมอื งเปน็ เกษตรกร สว่ นใหญอ่ ยทู่ เ่ี มอื ง เปียงมะนา และโซนนี้เปน็ เขตกองทัพทหารเมยี นมาร์ ซึง่ อยู่ติดกับเขอ่ื น ทะเลสาบเยซิน และขึ้นไปจะเป็นส่วนอ�ำนวยความสะดวกให้กองทัพ ตา่ งๆ จะเหน็ ได้ชดั วา่ มกี ารสรา้ งถนน 8-20 เลน มีคา่ ต่อทางยุทธศาสตร์ แม้เมืองน้ีมีประชากรไม่แน่นขนัดต่างจากกรุงย่างกุ้ง เพื่อป้องกัน เหตุการณ์ลุกขึ้นสู้ (Uprising) ท่ีประชาชนปิดล้อมถนนได้อย่าง ท่ีเคยกระท�ำในกรุงย่างกุ้ง แต่ประชาชนจะถูกล้อมกรอบด้วยกองพล รถถังแทน หากมองในเชิงยุทธศาสตร์ทางทหาร ต้องเข้าใจแรงกดดันจาก ภายนอก ชว่ งปี พ.ศ. 2533 (ค.ศ. 1990) เมยี นมารอ์ ยใู่ นระบอบเผดจ็ การ โดยทหาร ช่วงน้ันมีเสียงกดดันจากต่างประเทศ ไม่ว่าจะเป็นเสียง เรียกร้องจากทางผู้ปกครองซาอุดิอาระเบียให้สหประชาชาติส่งกองทัพ ล้มระบอบทหารในเมียนมาร์ เพราะจากเหตุการณ์มุสลิมโรฮิงญา ถูกขบั ออกจากรฐั ยะไข่ หรือรฐั อาระกนั หรือแม้แต่ จอร์จ ดับเบลิ ยู บชุ ก็บอกว่าเมียนมาร์เป็นรัฐนอกคอก มีการคุกคามเมียนมาร์ผ่านส่ือแบบ เดียวกับท่ีคุกคามอิรัก และอัฟกานิสถาน ในช่วงดังกล่าวรัฐบาลทหาร เมยี นมารไ์ ดใ้ หค้ วามส�ำคญั กบั การตง้ั รบั แนวลกึ ตอ้ งถอนกองบญั ชาการ จากยุทธศาสตร์ชายฝั่งเข้าสู่ภายใน โอบล้อมด้วยขุนเขาและแนวป่า กองทัพเมียนมาร์ให้ความส�ำคัญกับสงครามแบบกองโจรมากขึ้น มีการ ป้องกันในแนวลึก ซ่ึงดูได้จากการเจาะอุโมงค์ใต้ดินเพื่อท�ำเป็นคลัง สรรพาวธุ ระบบบรหิ ารราชการของสาธารณรฐั แห่งสหภาพเมยี นมาร์ 115

นอกจากนี้ สิ่งท่ีสะท้อนคุณค่าทางยุทธศาสตร์ทางการทหารของ กรุงเนปิดอว์ [8a] คือผลกระทบลักษณะลูกโซ่ต่อการเติบโตของเมือง ยุทธศาสตรท์ ่อี ย่รู ายรอบ หรอื กลมุ่ เมอื งบรวิ ารท่ัวประเทศเมียนมาร์ทมี่ ี คุณค่าในการพัฒนาทางโลจิสติกส์ ซ่ึงต้องมีการท�ำความเข้าใจกับเมือง ยุทธศาสตร์โดยรอบว่าจะส่งผลอย่างไรต่อการสร้างแนวปราการเหล็ก ของรฐั บาลเมยี นมาร์ ยกตวั อยา่ ง เชน่ “เมอื งยา่ งกงุ้ ” เปน็ เมอื งทา่ ส�ำคญั ทางเศรษฐกิจ แม้ว่าเมียนมาร์จะย้ายเมืองหลวงไปแล้ว แต่ในทาง ยุทธศาสตรย์ งั คงเป็นฐานทมี่ ั่นท่ีเข้มแข็งของกองทัพเรอื เมยี นมาร์ ข้นึ ไป อีก 70 ไมล์ เป็น “เมืองตองอู” เป็นเมืองยุทธศาสตร์แห่งสงคราม กองโจร เปน็ เมอื งทก่ี องทพั เมยี นมารใ์ ชเ้ ปน็ ฐานเขา้ ไปรบกบั รฐั กะเหรยี่ ง รัฐคะยา อยู่ในเขตลุ่มน้�ำสะโตง ซ่ึงเป็นด่านหน้าก่อนถึงกรุงเนปิดอว์ และอยู่ไม่ไกลจากขุนหยวง แม่ฮ่องสอน ถัดขึ้นไปรัฐบาลเมียนมาร์ได้ สร้างทางหลวงสายพิเศษ พินลวง–ตองจี ผ่านเมืองยุทธศาสตร์ คือ กะลออองบัน ในเขตที่ราบสูงฉาน แล้วไปบรรจบกับเมืองตองจี เมอื งหลวงของรฐั ฉาน ซง่ึ เปน็ ฐานทม่ี นั่ ทางภาคตะวนั ออกของเมยี นมาร์ ใช้ในการระดมสรรพก�ำลังเพื่อรบกับกองก�ำลังชนกลุ่มน้อย ในเขต ที่ราบสูงฉานมีทางหลวงสายพิเศษตัดกลางเข้าเมืองตองจี จากน้ัน ขึ้นแนวระเบียงยุทธศาสตร์ไปด้านบนจะพบกับเมืองขนาดใหญ่ คือ “เมืองมิจทรี า” เมอื งศูนย์กลางกองทพั อากาศ เครื่องบนิ รบ ย้ายมาจาก ฐานทัพอากาศมินกาลาดง ซึ่งอยู่ไม่ไกลจากเนปิดอว์ มีเส้นทางหลวง พิเศษเชื่อมกับเส้นทางรถไฟสายพิเศษเช่ือมต่อระหว่างเมืองหลวงกับ เมอื งมจิ ทรี า แลว้ ขนึ้ มาดา้ นบนเปน็ “เมอื งมณั ฑะเลย”์ ซง่ึ เปน็ เมอื งใหญ่ อนั ดบั สองของเมยี นมาร์ และเปน็ ทอ่ี ยขู่ องศนู ยบ์ ญั ชาการกลาง (Central 116

Command) ทั้งยังเป็นเมืองที่เต็มไปด้วยประชากรเมียนมาร์ และเป็น ฐานกองทพั ทหารราบเมยี นมาร์ ซ่ึงมรี าว 17-18 กองพัน เมืองสุดท้าย คือเมืองปินอูลวินอว์หรือเมืองเมย์เมียว เป็นเมืองเวสต์พอยท์ (West Point) ของกองทพั เมยี นมาร์ และเปน็ ทอี่ ยขู่ องวทิ ยาลยั ปอ้ งกนั ประเทศ โรงเรียนศึกษาทางทหาร และล่าสุดมีการสร้างเป็นเมืองไซเบอร์ (Cyber City) ขน้ึ มา โดยเจาะเขา้ ไปในหบุ เขา เพอ่ื เปน็ เมอื งแหง่ วทิ ยาการ สารสนเทศ ท้ังหมดนี้ คือ แนวระเบียงทางยุทธศาสตร์เพื่อเป็น แนวปราการเหล็กป้องกันส�ำหรับกองทัพเมียนมาร์ท่ีมีฐานบัญชาการ ท่เี นปดิ อว์ [8a] มองในมุมยุทธศาสตร์ หากมีศึกเข้ามา เมืองย่างกุ้งจะเป็นด่านแรก ท่ีรับศึกทางทะเล เมืองตองอูจะเป็นจุดยันไม่ให้ข้าศึกร่ัวมาถึงใจกลาง หุบเขาสะโตง และเป็นฐานท่ีรบกับกะเหร่ียง กลุ่มชาติพันธุ์ท่ีถูก ปลุกปั่นให้สร้างความปั่นป่วนในเมียนมาร์ เหล่านี้เป็นภาพสะท้อนจาก ระบบบริหารราชการของสาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมาร์ 117

ปราการเหลก็ วา่ รฐั บาลเมยี นมารย์ า้ ยเมอื งเพราะตระหนกั ถงึ คณุ คา่ ทาง ยุทธศาสตร์ และการเติบโตของเนปิดอว์ มีผลต่อเส้นทางการล�ำเลียง ยุทธปัจจัย ส่งก�ำลังบ�ำรุงจากเนปิดอว์เชื่อมไปยังเมืองส�ำคัญต่างๆ ขณะเดียวกันฐานทพั อากาศทีเ่ มอื งมิจทีราจะเปน็ ฝา่ ยปกป้องนา่ นฟา้ ให้ กรุงเนปิดอว์ และยังไม่รวมเหล่าเมืองวิทยาการ เมืองมัณฑะเลย์ เมือง ปินอูลวินอว์ และจากที่น่ันไม่ไกลกันมีเมืองแปรอุตสาหกรรมผลิตอาวุธ ให้กบั กองทพั ยทุ ธศาสตร์ หรือวงแหวนทางยทุ ธศาสตร์จะจ�ำกดั วง และ สร้างปราการเหล็กเป็นชั้นๆ ในการล้อมกรุงเนปิดอว์ในยามศึกสงคราม จากภาพท่ีเห็นเป็นการปรากฏตัวของนวัตกรรมทางภูมิศาสตร์ และ ภมู ิยุทธศาสตรภ์ ายในประเทศเมียนมาร์ การที่เมียนมารเ์ ปดิ ประเทศมที ้งั คณุ และโทษ ซึ่งจะเปน็ ประโยชนใ์ น ระยะแรก และภายหลังอาจเกดิ ความส่มุ เส่ียงท�ำใหป้ ระเทศมหาอ�ำนาจ 118

เข้ามารุกประเทศเมียนมาร์มากข้ึน ซ่ึงเห็นได้จากเหตุการณ์ในรัฐคะฉิน รัฐฉาน และรัฐยะไข่ (รัฐอาระกัน) ที่สหประชาชาติเข้าไปตรวจสอบ ตดิ ตามประเทศเมยี นมาร์ แตก่ ารเปดิ ประเทศท�ำใหเ้ มยี นมาร์ เปดิ โอกาส การพัฒนา มายืนอยู่กบั นานาชาตไิ ดอ้ ยา่ งภาคภมู ิ นอกจากน้ี เมยี นมารย์ ังมียทุ ธศาสตรก์ ารพฒั นาดา้ นอ่ืนๆดงั น้ี 1. ยทุ ธศาสตรก์ ระทรวงสหกรณ์ [13] วสิ ยั ทศั น์ สหกรณเ์ มยี นมารจ์ ะมงุ่ มน่ั ในการพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาติ ของประเทศและเพอ่ื รกั ษาเอกลกั ษณข์ องสหกรณท์ ส่ี ง่ เสรมิ ความรว่ มมอื ทางเศรษฐกจิ และสงั คมให้มีความเป็นอยทู่ ด่ี ี พนั ธกจิ ภารกจิ คือ การตระหนกั ถึงความจรงิ ตามวตั ถปุ ระสงค์ ตอ่ ไปนี้ • ปฏิบตั ิตามคา่ นิยม จรยิ ธรรม และหลกั การสหกรณ์ • มุ่งม่ันและประยุกต์ความรู้ท่ีทันสมัย วิธีการน�ำเทคนิคและ เทคโนโลยที ี่กา้ วหนา้ มาใชใ้ นสงั คมสหกรณ์ • มีส่วนร่วมในการสร้างและการพัฒนาประเทศที่ทันสมัย โดย การด�ำเนนิ งานทม่ี ีประสทิ ธิภาพของสหกรณท์ มี่ ีความอตุ สาหะ 2. ยทุ ธศาสตรก์ ระทรวงคมนาคม [13] • การจดั การบริการในสนามบินและทา่ เรือนำ้� ลึกทม่ี ีประสทิ ธิภาพ • การส่งเสริมกิจกรรมการขนถ่ายและพักสินค้า เช่น การจัดส่ง สินคา้ การจัดสนิ คา้ ลงเรือ ฯลฯ ระบบบรหิ ารราชการของสาธารณรฐั แห่งสหภาพเมียนมาร์ 119

• การตรวจตราดูแลที่เข้มแข็ง รับประกันได้ว่าปลอดภัย และ มมี ัน่ คงของภาคการเดนิ เรอื และการบนิ • เสริมสรา้ งการพัฒนาทรพั ยากรมนุษยส์ �ำหรบั ภาคการขนสง่ • ดูแลรักษาสภาพแวดล้อมทางธรรมชาติอย่างจริงจังในวิถีต่างๆ ของการขยายการด�ำเนนิ งานในรปู แบบของการขนส่ง • การวางแผนอย่างเข้มข้นและจริงจังในการพัฒนาการขนส่งท่ีมี ความปลอดภัยและราบร่นื ส�ำหรบั พืน้ ท่ีชนบท • วางแผนมาตรการปอ้ งกันภัยพิบตั ทิ างธรรมชาติ 3. ยทุ ธศาสตรก์ ระทรวงเกษตรและชลประทาน [13] (Ministry of Agriculture and Irrigation) กระทรวงเกษตรและชลประทานเมียนมาร์ จัดตั้งขึ้นโดยมี วตั ถปุ ระสงคเ์ พอื่ สนองตอ่ ความตอ้ งการบรโิ ภคภายใน และสนบั สนนุ การ ส่งออกผลผลิตด้านการเกษตรที่เกินความต้องการบริโภค เพื่อสร้าง รายได้ให้กับประเทศ รวมถึงให้ความช่วยเหลือเพื่อการพัฒนาชนบท ผ่านการพัฒนาทางการเกษตรในลกั ษณะการเพิ่มรายได้ให้กบั เกษตรกร ด้วยการเพิ่มผลผลิตพืชผลทางการเกษตร โดยมีกลยุทธ์การพัฒนาและ หนา้ ทีส่ ําคัญ ดงั น้ี กลยุทธก์ ารพัฒนา • การใช้ประโยชน์จากเมล็ดพนั ธุ์ทม่ี กี ารปรบั ปรุงคุณภาพใหด้ ีข้ึน • การจัดตั้งฟาร์มต้นแบบสําหรับถ่ายทอดเทคโนโลยีด้วย เทคนคิ วิทยาศาสตร์สมยั ใหม่ 120

• การใช้ประโยชน์ของปัจจัยการผลิตทางการเกษตรได้อย่างมี ประสทิ ธภิ าพในเวลาที่เหมาะสม • การลดการสูญเสียในระหว่างการผลิต (จากการเตรียมดิน จนถงึ การเก็บเกย่ี ว) • การสร้างความเข้มแข็งในการเข้าถึงตลาดทั้งภายในและ ตา่ งประเทศ หน้าท่ี • จดั เตรียมแผนพฒั นาการเกษตรทงั้ ในระยะส้ัน ระยะกลาง และ ระยะยาว รวมถึงโครงการต่างๆ และติดตามประเมินผลโครงการท่ีมี การนําไปปฏิบัติแล้ว เพ่ือนําเสนอต่อรัฐมนตรีว่าการกระทรวงฯ และ หนว่ ยงานตา่ งๆ ทเ่ี กยี่ วขอ้ ง พรอ้ มวเิ คราะห์ รวมถงึ การเตรยี มการจดั ทํา และย่ืนโครงการพิเศษที่สอดคล้องกับนโยบายต่างๆ ตามวัตถุประสงค์ ของรัฐบาล • เก็บรวบรวมข้อมูลสถิติด้านการเกษตร วิเคราะห์ เพ่ือจัดทํา รายงานเสนอต่อหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้อง รวมถึงเผยแพร่ข้อมูลต่อ สาธารณชน และสรา้ งความรว่ มมอื ทางวชิ าการดา้ นการเกษตรกบั องคก์ ร ระหว่างประเทศ • ส่ือสาร สร้างแรงจูงใจให้แก่ผู้ประกอบการท้องถิ่นและต่างชาติ เพอ่ื ใหเ้ กดิ การพฒั นาธรุ กจิ ในภาคการเกษตร มกี ารบรหิ ารจดั การการคา้ และกิจกรรมทางธุรกิจ เพื่อส่งเสริมให้เกิดความร่วมมือในการส่งออก สินคา้ เกษตรกบั หนว่ ยงานที่เก่ยี วขอ้ งในสังกัดกระทรวงฯ • การมีส่วนร่วมในการสร้างความร่วมมือขององค์กรต่างๆ กับ ระบบบริหารราชการของสาธารณรัฐแห่งสหภาพเมยี นมาร์ 121

หน่วยงานอ่ืนท่ีเกี่ยวข้องด้านเกษตรกรรม และการพัฒนาบุคลากรด้าน การเกษตรของเมียนมาร์ร่วมกับหน่วยงานต่างๆ ท่ีเก่ียวข้อง เป็นต้น ทง้ั นี้ กระทรวงฯ ได้มกี ารเตรยี มความพรอ้ มสปู่ ระชาคมอาเซยี น โดยจดั ตั้งหน่วย “ASEAN” ขึ้น ภายใต้การบริหารจัดการของฝ่ายวางแผน การเกษตร ซึ่งจะมีหน้าที่ คือ เป็นผู้แทนประสานงานกับกระทรวง อ่ืนๆ ที่เกี่ยวกับกิจการอาเซียน การร่วมมือกับหน่วยงานอ่ืนในสังกัด กระทรวงฯ ดําเนินกิจกรรมเกษตรในการประชุมภาคเกษตรและป่าไม้ ของอาเซยี น การศกึ ษาและทบทวนภาวะเศรษฐกจิ ของประเทศสมาชกิ อาเซยี น การรว่ มมอื กบั AFTA ในการลดภาษศี ลุ กากรตามกรอบอาเซยี น และรายงานความก้าวหน้าและจัดทําข้อเสนอท่ีเก่ียวข้องกับกิจรรม อาเซยี นให้แก่ภาครัฐ 4. ยุทธศาสตร์กระทรวงอุตสาหกรรม (Ministry of Industry) [13] ณ เมืองเนปิดอว์ บทบาทของกระทรวงอุตสาหกรรมเมียนมาร์ จะทําหน้าท่ีควบคุมดูแลภาคการผลิตของอุตสาหกรรมประเภทต่างๆ 122

ทั้งอุตสาหกรรมขนาดใหญ่ อาทิ น้�ำตาล เครื่องดื่มท่ีมีและไม่มี แอลกอฮอล์ เป็นต้น และอตุ สาหกรรม SMEs เชน่ สิง่ ทอ อาหาร และ เครอ่ื งใชภ้ ายในบา้ น รวมถึงให้การสนับสนุนการจดั ตัง้ โรงงาน ตลอดจน จัดตั้งศูนย์ฝึกอบรมอุตสาหกรรม และบุคลากรเพื่อเพ่ิมประสิทธิภาพ ทกั ษะแรงงานในภาคการผลติ สําหรบั โครงสรา้ งอตุ สาหกรรมจะประกอบ ด้วย จาํ นวนสถานประกอบการ จําแนกตามลกั ษณะเจ้าของ (ขอ้ มูลปี 2553) แบง่ เป็น ของรฐั บาล จํานวน 791 สถานประกอบการ และของเอกชนจํานวน 101,000 สถานประกอบการ การจ้างงานภาคอุตสาหกรรม มีประมาณ 4.8 ลา้ นคน ขนาดของอุตสาหกรรม แบง่ เป็น 3 ขนาด ไดแ้ ก่ • ขนาดเล็ก เงินลงทุน 1 ล้านจดั๊ คนงาน 50 คน การผลิต 2.5 ลา้ นจดั๊ /ปี (62.5 ลา้ นบาท) • ขนาดกลาง เงนิ ลงทนุ 1-5 ลา้ นจด๊ั คนงาน 50-100 คน การผลิต 2.5-10 ลา้ นจด๊ั /ปี (62.5-250 ล้านบาท) • ขนาดใหญ่ เงนิ ลงทนุ 5 ล้านจด๊ั ขน้ึ ไป คนงาน 100 คนขึ้นไป การผลิตมากกวา่ 10 ล้านจด๊ั /ปี (250 ลา้ นบาท) ระบบบริหารราชการของสาธารณรฐั แห่งสหภาพเมียนมาร์ 123

อตุ สาหกรรมสําคัญ อุตสาหกรรมสําคัญของเมียนมาร์ ได้แก่ อุตสาหกรรมเคร่ืองด่ืม ท่ีมแี อลกอฮอลแ์ ละไมม่ ีแอลกอออล์ อตุ สาหกรรมน้ำ� ตาล อุตสาหกรรม แปรรูปการเกษตร อุตสาหกรรมประมง อุตสาหกรรมแปรรูปไม้และ เฟอรน์ เิ จอร์ อตุ สาหกรรมสง่ิ ทอ อตุ สาหกรรมเหมอื งแร่ เชน่ อญั มณี และ อตุ สาหกรรมพลงั งาน เชน่ นำ้� มนั ไฟฟา้ จากเขอื่ น กา๊ ซธรรมชาติ เปน็ ตน้ โดยในปัจจุบัน รัฐบาลกําลังพัฒนาอุตสาหกรรมขนาดเล็กในพ้ืนที่ ชนบทภายใต้แนวคิด หนึ่งหมู่บ้านหนง่ึ ผลติ ภณั ฑ์ (One Village One Product: OVOP) ตามตน้ แบบทีม่ าจากญ่ีป่นุ เพอ่ื ช่วยพฒั นาเศรษฐกจิ ในชนบทใหเ้ กดิ การจา้ งงาน และประชาชนมรี ายไดเ้ พม่ิ ขนึ้ ซงึ่ จะเปน็ การ ลดชอ่ งว่างความยากจนในชนบทให้เหลือน้อยลง การพฒั นาภาคอุตสาหกรรมของเมยี นมาร์ จะดําเนินการภายใต้แนวคิด “กลุ่มอุตสาหกรรม (Industrial Cluster)” และการกําหนดเขตอุตสาหกรรม (Industrial Zone) โดยมีการ กําหนดอุตสาหกรรมบนฐานการเกษตร (Agro-based Industry) เป็นอตุ สาหกรรมเปา้ หมาย ตลอดจนการเตรยี มความพรอ้ ม ส่ปู ระชาคมอาเซยี น (AEC) 5. ยุทธศาสตรก์ ระทรวงปศสุ ัตว์และการประมง (Ministry of Livestock and Fisheries) [13] ณ เมอื งเนปดิ อว์ บทบาทกระทรวงปศสุ ัตว์และการประมงเมียนมาร์ จะทําหนา้ ทพ่ี ฒั นาดา้ นเกษตรในกลมุ่ ปศสุ ตั วแ์ ละประมง โดยกระทรวงฯ มกี ารวางกรอบการพฒั นาท้งั ระยะสั้นและระยะยาว กลยทุ ธ์ทีเ่ ก่ียวข้อง 124

กบั การปอ้ งกนั และอนรุ กั ษท์ รพั ยากรสตั วน์ ำ�้ อน่ื ๆ ตลอดจนการใหค้ วาม ช่วยเหลือเกษตรกรในการพัฒนาปศุสัตว์ในชนบท โดยการแพร่ขยาย พันธุ์สัตว์ ให้ความช่วยเหลือเรื่องอาหารสัตว์ สัตวแพทย์ และยารักษา โรค การป้องกันและการรกั ษาโรคปศสุ ัตว์ เปน็ ต้น ซึง่ จะสอดรบั กับแผน พฒั นาประเทศระยะ 30 ปี (พ.ศ. 2543-2573) ของรฐั บาล นอกจากนี้ กระทรวงฯ ยังใหก้ ารสนับสนุนภาคเอกชนในเรือ่ งเทคโนโลยี การตลาด และการลงทนุ ในอตุ สาหกรรมประมงและปศสุ ตั ว์ เพอ่ื สง่ เสรมิ การแปรรปู และสรา้ งมลู คา่ เพม่ิ ให้กับสนิ ค้า สําหรบั สาระโดยสรปุ คอื เมยี นมารม์ ชี ายฝง่ั ทะเลยาวประมาณ 2,832 กโิ ลเมตร เปน็ เขตไหลท่ วปี ประมาณ 228,781 ตารางกิโลเมตร และเขต เศรษฐกจิ จ�ำเพาะประมาณ 486,000 ตารางกิโลเมตร โดยมพี ื้นทช่ี ุ่มนำ้� ประมาณ 500,000 เฮกตาร์ หรือประมาณ 3,100,000 ไร่ (1 เฮกตาร์ เทา่ กบั 6 ไร่ 1 งาน) ส่งผลให้มแี หลง่ ทรพั ยากรทางทะเลที่หลากหลาย และอดุ มสมบรู ณ์ จากรายงานการสํารวจทางทะเลพบวา่ ในนา่ นนำ�้ ของ เมียนมาร์สามารถจับสัตวน์ ำ้� ได้สูงสุดถึงปีละ 1.05 ลา้ นตนั (Maximum Sustainable Yield) แตม่ กี ารใช้ประโยชน์เพียงร้อยละ 70 นอกจากนี้ ยงั มแี หลง่ นำ้� ธรรมชาตภิ ายใน ทป่ี ระกอบไปดว้ ยทะเลสาบ อา่ งเกบ็ นำ้� บงึ แม่น�้ำ และคลอง มีพน้ื ท่รี วมกนั ประมาณ 8.2 ลา้ นเฮกตาร์ หรอื ประมาณ 51.2 ลา้ นไร่ 5.2 หนว่ ยงานหลกั ทร่ี บั ผดิ ชอบงานทเ่ี กย่ี วกบั ASEAN หนว่ ยงานหลกั ทร่ี บั ผดิ ชอบงานทเ่ี กยี่ วกบั ASEAN ของเมยี นมาร์ คอื กรมกจิ การอาเซยี น กระทรวงการตา่ งประเทศ โดย มีองค์ประกอบและ ผ้รู บั ผิดชอบดังน้ี ระบบบริหารราชการของสาธารณรฐั แหง่ สหภาพเมยี นมาร์ 125

• อธิบดี - U Aung Lin • รองอธบิ ดี - U Aung Htoo • รองอธบิ ดี - U Myint Thu • รองอธิบดี - Daw Ei Ei Khin Aye • กองการเมอื งและการรักษาความปลอดภยั Tel: 95-67-412 360 • กองความร่วมมือทางเศรษฐกิจ Tel: 95-67-412-357 • กองประสานงาน Tel: 95-67-412 345 เน่ืองจากในปีนี้พม่าได้เป็นประธานอาเซียนเป็นปีแรก จึงได้มี การจัดต้ังคณะเลขาธิการแห่งชาติเมียนมาร์อาเซียน (The ASEAN Myanmar National Secretariat) ขน้ึ มบี ทบาทในการเปน็ ประธาน อาเซียนภายใต้แนวคิดที่ว่า “Moving Forward in Unity to a Peaceful and Prosperous Community” (ก้าวไปข้างหน้า ในการสร้างความสามัคคีให้ชุมชนแห่งความสงบสุขและเจริญรุ่งเรือง) โดยองคก์ รนข้ี น้ึ ตอ่ กระทรวงการตา่ งประเทศ ซงึ่ มรี ายละเอยี ดการตดิ ตอ่ ดงั น้ี ส�ำนักงานเลขาธิการแห่งชาติเมียนมาร์อาเซียน (The ASEAN Myanmar National Secretariat) ตั้งท่ีส�ำนักงานหมายเลขที่ 9 กระทรวงต่างประเทศ ติดต่อหมายเลขโทรศัพท์ในเมียนมาร์: +95-67-412057, 412227 โทรสาร : +95-67-412057 126

ส่วนการติดต่อ e-mail กับหน่วยท�ำงานเพื่อประธานอาเซียน ปี พ.ศ. 2557 มีดงั นี้ หน่วยงาน e-mail address 1 ประชาคมการเมอื งและความมนั่ คงอาเซียน [email protected] (Asean Political-Security Community) 2 ประชาคมเศรษฐกจิ อาเซยี น [email protected] (Asean Economic Community) 3 ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน [email protected] (Asean Socio-Cultural Community) 4 ส�ำนักงานเลขาธิการแห่งชาต ิ [email protected] เมียนมาร์อาเซยี น (The ASEAN Myanmar National Secretariat Office) 5 ขอ้ มลู ข่าวสาร (Information) [email protected] 6 พิธีการทูต (Protocol) [email protected] 7 การบรหิ ารจดั การ (Administration) [email protected] 8 โลจสิ ติกส์ (Logistics) [email protected] ในการหาขอ้ มลู ทจ่ี ะดบู ทบาทของเมยี นมารใ์ นฐานะประธานอาเซยี น สืบค้นได้ท่ีเวบ็ ไซต์ดังนี้ - http://asean2014.gov.mm/contact-us - http://asean2014.gov.mm/2014-chairmanship ระบบบริหารราชการของสาธารณรฐั แหง่ สหภาพเมยี นมาร์ 127

ในส่วนของส�ำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน (UCSB) ที่ต้องมีหน้าท่ีรับผิดชอบในงานของอาเซียนน้ัน ทางส�ำนักงาน คณะกรรมการข้าราชการพลเรอื น (UCSB) ได้มอบภารกจิ งานใหแ้ ผนก คดั เลอื กและฝกึ อบรมขา้ ราชการ (The Civil Service Selection and Training Department - CSSTD) เปน็ ผ้มู บี ทบาทในการเป็นตัวแทน หรอื เข้ารว่ มในงานบรู ณาการกิจกรรมอาเซียน (Initiative for ASEAN Integration (IAI) framework) และเป็นส่วนหน่ึงของการจัดประชุม ระดับอาเซียนว่าด้วยงานราชการ (ASEAN Conference on Civil Service Matter - ACCSM) อีกทงั้ สง่ ขา้ ราชการเข้าอบรมในหลักสตู ร การพัฒนานกั ฝึกอบรม (Training of Trainers) 128

6 ระบบการพัฒนาข้าราชการ ระบบบรหิ ารราชการของสาธารณรัฐแหง่ สหภาพเมยี นมาร์ 129

6.1 ภาพรวมของการพฒั นาข้าราชการ กฎหมายคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน (รัฐสันติภาพและ การพัฒนากฎหมายสภา No. 24/2010) ถูกตราขึ้นสอดคล้องกับ รัฐธรรมนูญแห่งสาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมาร์ 2551 (ค.ศ. 2008) เมื่อวันท่ี 28 ตุลาคม พ.ศ. 2553 (ค.ศ. 2010) ท�ำให้ส�ำนักงานคณะ กรรมการข้าราชการพลเรือน (Union Civil Service Board-UCSB)[23] ได้รับมอบงานและท�ำหน้าท่ีแทนคณะกรรมการการคัดเลือกข้าราชการ พลเรือนและการฝึกอบรมข้าราชการพลเรือน (CSSTB) ท้ังหมด และ “กฎหมายคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน” ได้ก�ำหนดให้มี คณะกรรมการอย่างนอ้ ย 5 คน และมากทสี่ ุดไม่เกิน 7 คน องค์กรการพัฒนาข้าราชการภายใต้ส�ำนักงานคณะกรรมการ ขา้ ราชการพลเรือน (UCSB) มดี ังน้ี 1. ส�ำนักงานการคัดเลือกและการฝึกอบรมข้าราชการพลเรือน (The Civil Service Selection and Training Department) หรือ CSSTD 2. ส�ำนกั งานกจิ การขา้ ราชการพลเรอื น (The Civil Service Affairs Department) หรือ CSAD 3. สถาบันกลางของข้าราชการพลเรือน Phaung gyi หรือ (The Central Institute of Civil Service) หรือ Phaung gyi 4. สถาบันกลางของข้าราชการพลเรือนภาคเหนือตอนบนของ เมยี นมาร์ (The Central Institute of Civil Service) หรือ Upper Myanmar 130

6.2 กลยทุ ธ์การพัฒนาขา้ ราชการ ตามกฎหมายของสภาผู้แทนราษฎร 4/77 ประกาศในปี พ.ศ. 2517 (ค.ศ. 1974) และโดยเน้ือหากฎหมายของคณะกรรมการการคัดเลือก ขา้ ราชการพลเรอื น และการฝกึ อบรมบททสี่ ามวา่ ดว้ ย “ความรบั ผดิ ชอบ และอ�ำนาจหน้าที่” เพ่ือยกฐานะสถาบันกลางของข้าราชการพลเรือน มีภารกิจดงั ตอ่ ไปนี้ • การด�ำเนินการหลักสูตรเก่ียวกับการเข้ารับต�ำแหน่งส�ำหรับ ขา้ ราชการดา้ นการจัดการและด้านเทคนคิ ระดับตา่ งๆ • การด�ำเนินการหลักสูตรการฟนื้ ฟสู �ำหรับการจัดการระดบั กลาง • การจดั สมั มนาส�ำหรับผบู้ รหิ ารระดับอาวุโส เชน่ เดยี วกับสมาชกิ ของสว่ นกลางและท้องถิน่ • การท�ำวิจัยที่เก่ียวข้องกับการฝึกอบรมเทคนิคการบริหาร ข้าราชการพลเรือน วตั ถปุ ระสงค์ 1. การฝกึ อบรมบคุ ลากรการบรกิ าร เพอื่ ท�ำใหบ้ คุ ลากรเหลา่ นไี้ ดร้ บั ประสบการณ์อย่างเต็มที่ มีความคุ้นเคยกับสายงานตามหน้าท่ีและ ความรบั ผดิ ชอบ และกลายเปน็ ผใู้ หบ้ รกิ ารทดี่ ี ใหบ้ รกิ ารทน่ี า่ สนใจแกผ่ คู้ น ในการมสี ว่ นรว่ มในภาคเศรษฐกจิ สงั คม และการบรหิ ารจดั การภาครฐั 2. เพอื่ หาวธิ กี ารแกไ้ ขปญั หาการจดั การในทางปฏบิ ตั ดิ ว้ ยวธิ กี ารของ การอภิปรายร่วมกัน และเพื่อยกระดับคุณภาพของการปฏิบัติงาน โดยการแลกเปลีย่ นความคดิ และประสบการณ์ ระบบบริหารราชการของสาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมาร์ 131

3. เพื่อพัฒนาเทคนิคและการบริหารจัดการความรู้ด้วยวิธีการวิจัย การมสี ว่ นรว่ ม การกระจายเนอ้ื หาของวทิ ยานพิ นธ์ และเอกสารรายงาน ตามหวั ขอ้ ตา่ งๆ 4. เพื่อสนับสนุนการปอ้ งกนั แหง่ ชาติของประเทศ 6.3 หน่วยงานท่รี ับผิดชอบดา้ นการพฒั นาขา้ ราชการ ส�ำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน (UCSB) เป็นผู้รับผิด ชอบการด�ำเนินการหลักสูตรการฝึกอบรมขั้นพื้นฐานส�ำหรับข้าราชการ ทุกระดับในเมียนมาร์ทั้งหมด โดยมีสถาบันฝึกอบรมที่จัดตั้งข้ึนภายใต้ ก�ำกบั ดูแลของ UCSB ดงั นี้ [21] 1. สถาบนั กลางของขา้ ราชการพลเรอื น (Phaung gyi) กอ่ ต้ังขึน้ ในปี พ.ศ. 2508 (ค.ศ. 1965) โดยจดั ตัง้ เป็นโรงเรียนการฝึกอบรมกลาง ของประชาชน (Central People’s Training School) ตง้ั อยใู่ กลห้ มบู่ า้ น Phaung gyi, Hlegu หา่ งจากย่างกงุ้ 50 ไมล์ โดยไดก้ �ำหนดเป้าหมาย ในการฝึกอบรมไว้จ�ำนวน 3,000 คร้ังต่อปี และได้ย้ายมาอยู่ในก�ำกับ ส�ำนักงานคณะกรรมการขา้ ราชการพลเรอื น (UCSB) ในปี พ.ศ. 2520 (ค.ศ. 1977) และยกสถานะข้ึนเป็นสถาบัน ซ่ึงปัจจุบันตั้งอยู่บนเนื้อที่ ประมาณ 9 พนั กวา่ ไร่ (3,951 เอเคอร)์ มหี อ้ งประชมุ ขนาดใหญท่ ร่ี องรบั ผู้เข้าฟังการฝึกอบรมได้ 2,000 คน มีห้องประชุมขนาดกลาง 2 ห้อง พร้อมอปุ กรณ์ทันสมยั ระบบ CCTV ทีร่ องรบั คนได้ 500 คน มีห้องเรยี น ท่ีรองรับคนได้ 200 คนอีก 13 ห้องเรียน มีห้องคอมพิวเตอร์ส�ำหรับ รองรบั คนกวา่ 100 เครอื่ ง มหี อ้ งแลบ็ ส�ำหรบั การฝกึ ภาษาพรอ้ มอปุ กรณ์ 132

ส�ำหรับผเู้ ขา้ ฝกึ อบรมมากกวา่ 80 เครื่อง ทงั้ มอี ปุ กรณก์ ารชว่ ยสอนอีก มากมาย แผนกวิจัยมีส่วนช่วยเหลือในการฝึกอบรม การสื่อสาร มี คณะกรรมการด้านพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ มีห้องสมุดที่บรรจุหนังสือ มากกวา่ 50,000 เลม่ และมหี นว่ ยงานภายใตก้ ารก�ำกบั อกี 6 แผนก ดงั นี้ (1) แผนกการบรหิ ารการจดั การ (Management Department) (2) แผนกเศรษฐกิจ (Economics Department) (3) แผนกรฐั ศาสตร์ (Political Science Department) (4) แผนกสงั คมศาสตร์ (Social Science Department) (5) แผนกกฎหมาย (Law Department) (6) แผนกวทิ ยาศาสตร์ทางทหาร (Military Science Depart- ment) นอกจากนี้ยังมีโปรแกรมพัฒนาทีมงานของสถาบันเอง ส่งเสริม ให้ครูผู้ฝึกอบรมได้ศึกษาในระดับปริญญาโท ปริญญาเอก หรือ ประกาศนียบัตรเฉพาะทาง ท้ังส่งบุคลากรไปดูงานในต่างประเทศ เชน่ ไทย มาเลเซีย สิงคโปร์ เกาหลี จีน ฯลฯ 2. สถาบันกลางของข้าราชการพลเรือนภาคเหนือตอนบนของ เมยี นมาร์ (Upper Myanmar) สถาบนั นตี้ ง้ั อยใู่ กลห้ มบู่ า้ น Zeebingyi ซึ่งอยู่ห่างจากเมืองมัณฑะเลย์ 24 ไมล์ เปิดท�ำการมาต้ังแต่วันที่ 7 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2542 โดยมีห้องประชุมขนาดใหญ่ที่รองรับผู้เข้าฟัง การฝึกอบรมได้ 1,750 คน มีห้องประชุมขนาดกลางพร้อมอุปกรณ์ ทันสมยั ทีร่ องรับคนได้ 500 คน มีหอ้ งเรยี นทร่ี องรับคนได้ 200 คนอีก 8 หอ้ งเรียน มหี ้องคอมพิวเตอรส์ �ำหรับรองรับคนอกี 60 เครอ่ื ง มีหอ้ งแล็บ ส�ำหรับการฝึกภาษาและมีอุปกรณ์ส�ำหรับผู้เข้าฝึกอบรมอีก 96 เคร่ือง ระบบบรหิ ารราชการของสาธารณรัฐแหง่ สหภาพเมียนมาร์ 133

และมีห้องสมดุ ท่บี รรจุหนังสือมากกวา่ 5,000 เล่ม ตงั้ แต่เปิดท�ำการมา สถาบันกลางของข้าราชการพลเรือนภาคเหนือตอนบนของเมียนมาร์น้ี ได้จัดการฝึกอบรมให้บุคลากรของเมียนมาร์มามากกว่า 1 ล้านคนแล้ว และมีหนว่ ยงานภายใตก้ �ำกับอีก 6 แผนก ดงั น้ี (1) แผนกการบรหิ ารการจดั การ (Management Department) (2) แผนกเศรษฐกิจ (Economics Department) (3) แผนกรฐั ศาสตร์ (Political Science Department) (4) แผนกสงั คมศาสตร์ (Social Science Department) (5) แผนกกฎหมาย (Law Department) (6) แผนกวทิ ยาศาสตรท์ างทหาร (Military Science Depart- ment) ส่วนด้านการฝึกอบรมและการพัฒนาที่เป็นมากกว่าการก�ำหนด หลักสูตรภาคบังคับ สถาบันฯ ยังเปิดอบรมเร่ืองการพัฒนาทักษะด้าน การบรหิ ารจัดการ (Management Skill Development) ทค่ี วบค่ไู ป กับการดูงานในต่างประเทศ เช่น มีการดูงานในประเทศไทย หรือ เรื่องการบริหารภาครฐั (Public Administration) ไปดูงานในประเทศ เกาหลี เปน็ ต้น นอกจากนี้ข้าราชการพลเรือนมีการเรียกร้องให้การฝึกอบรมพัฒนา มีความเป็นพลวัต (Dynamic) มากขึ้น โดยให้ความส�ำคัญในการให้ ข้อมูลท่ีรวดเร็วและถูกต้อง ซ่ึงเรื่องน้ีเป็นสิ่งส�ำคัญส�ำหรับการวางแผน การตรวจสอบ และการตดั สนิ ใจ ดงั นน้ั ระบบสารสนเทศดา้ นงานบรหิ าร ทรัพยากรมนษุ ย์ (Human Resource Management Information Systems: HRMIS) ซ่ึงให้ความส�ำคัญในการใช้ระบบสารสนเทศ 134

เพอ่ื การจดั การทรพั ยากรมนษุ ยส์ �ำหรบั ขา้ ราชการพลเรอื นจงึ เปน็ เรอื่ งที่ ส�ำคญั ซงึ่ รฐั บาลได้จัดการประชุมเชิงปฏบิ ัติการ ในการน�ำ HRMIS มา ใช้ส�ำหรบั ขา้ ราชการพลเรอื นที่ La Cannelle, Domaine Les Pailles และมกี ารเสนอใหข้ า้ ราชการพลเรอื นปรบั ปรงุ การใหบ้ รกิ าร การสง่ มอบ งานบริการ เพ่ือตอบสนองความคาดหวังของผู้รับบริการท่ีเพ่ิมมากขึ้น ทุกวัน โดยมีการน�ำระบบสารสนเทศด้านงานบริหารทรัพยากรมนุษย์ มาลดภาระงานทอี่ าจไมจ่ �ำเปน็ ลง อนั จะท�ำใหเ้ กดิ การเพมิ่ ประสทิ ธภิ าพ และประสิทธิผลในการบริหารจัดการ อีกทั้งข้าราชการพลเรือนยุคใหม่ ควรมแี นวคดิ ให้ทุกคนในองคก์ ารเป็นผ้รู ับผิดชอบในการพฒั นาองคก์ าร ให้บรรลุผลอย่างย่ังยืนและสามารถแข่งขันได้ โดยเน้นความส�ำคัญของ การใชน้ วัตกรรม มาประยุกต์ใช้ในการท�ำงาน และเนน้ การใช้เทคโนโลยี ทที่ ันสมยั มาจดั การกบั ขอ้ มลู และสารสนเทศตา่ งๆ การน�ำระบบเทคโนโลยเี พอ่ื การสอื่ สารและสารสนเทศ (Information and Communication Technology: ICT) มาใช้ในสถานท่ีท�ำงาน จะช่วยให้บุคลากรท�ำงานได้ดีขึ้น และเกิดความพึงพอใจในงาน มากขน้ึ ขา้ ราชการพลเรอื นทเ่ี ขา้ รว่ มการประชมุ เชงิ ปฏบิ ตั กิ าร เพอื่ หารอื เกย่ี วกบั รา่ งขอ้ ก�ำหนดของระบบและการปรกึ ษาหารอื โครงการ HRMIS ท่ีพัฒนาความร่วมมือกับธนาคารโลก โดยคาดหวังว่าระบบ HRMIS จะอ�ำนวยความสะดวกในการจัดการและการวางแผนเชิงกลยุทธ์ของ ทรัพยากรมนุษย์ในข้าราชการพลเรือนโดยรวม โดยมีวัตถุประสงค์ เพอ่ื สรา้ งฐานขอ้ มลู รว่ มกนั ส�ำหรบั เจา้ หนา้ ทภี่ าครฐั และเพอื่ ใหก้ ระทรวง และหน่วยงานต่างๆ ใช้เคร่ืองมือน้ีส�ำหรับการจัดการร่วมกันระหว่าง หน่วยงานและการวางแผนทรพั ยากรมนุษย์ ระบบบริหารราชการของสาธารณรฐั แห่งสหภาพเมยี นมาร์ 135

นอกจากนี้ยังมีการจัดหลักสูตรการจัดการส�ำหรับเจ้าหน้าท่ีรัฐระดับ อาวุโสที่ใช้เวลาส่ีสัปดาห์ ณ. สถาบันกลางของข้าราชการพลเรือน (Phaung gyi) ซ่งึ มีส�ำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน (UCSB) เป็นผู้รับผิดชอบ โดยได้รับความช่วยเหลือด้านเทคนิคจากโครงการ พัฒนาแห่งสหประชาชาติและธนาคารโลกในการปรับปรุงการบริหาร จดั การและความสามารถในการบรหิ ารบคุ ลากรของขา้ ราชการพลเรอื น ในเมียนมาร์ ซึ่งอยู่ในกระบวนการปฏิรูปของตนเอง ท่ีมุ่งเน้นการสร้าง สภาพแวดล้อมท่ีเอ้ืออ�ำนวยต่อการพัฒนา และเจ้าหน้าที่รัฐบาลระดับ อาวุโสของรัฐบาลเมียนมาร์เปรียบดังหัวรถจักรที่เป็นผู้ผลักดันนโยบาย และวางกรอบกฎหมาย นาย Toily Kurbanov ผอู้ �ำนวยการโครงการพฒั นาแหง่ สหประชาชาติ ประเทศเมยี นมารก์ ลา่ ววา่ “เจา้ หนา้ ทร่ี ฐั บาลระดบั อาวโุ สเปน็ ผทู้ ช่ี ว่ ยให้ สถาบันฯ ขับเคล่ือนงานและบุคลากรท่ีจะท�ำงาน” อีกทั้งหลักสูตร การฝกึ อบรมนีจ้ ะสะทอ้ นถงึ ความรับผดิ ชอบของผจู้ ัดการอาวโุ สที่จะน�ำ ทีมงานและสร้างคุณค่าของสภาพแวดล้อมที่จะท�ำให้เกิดกระบวนการ เปลี่ยนแปลงของเมียนมาร์ ซ่งึ ทาง UNDP จะชว่ ยเมยี นมารท์ ง้ั หมดดว้ ย การปฏิบัติท่ีดีที่สุดท่ัวโลกและเข้าถึงประชาชนได้อย่างมีประสิทธิภาพ เพอ่ื ใหเ้ มยี นมารเ์ ขา้ สกู่ ระบวนการเปลย่ี นแปลงและปรบั ตวั อยา่ งประเทศ ท่ีก้าวผ่านการปฏิรูปได้แล้วมากขึ้น ซึ่งเมียนมาร์ได้เร่ิมต้นการท�ำงาน ในทศิ ทางน้แี ล้วภายใต้ขนั้ ตอนที่สามของการปฏริ ูป นาย Toily Kurbanov กลา่ วเพมิ่ เตมิ อกี วา่ UNDP จะมสี ว่ นรว่ มมาก ขึ้นและท�ำงานอย่างใกล้ชิดกับรัฐบาล เป็นส่วนหน่ึงของความพยายาม ที่จะเพ่ิมขีดความสามารถของประเทศ ท้ังจะให้ความช่วยเหลือ UCSB 136

ในความพยายามท่ีจะเพ่ิมขีดความสามารถโดยรวมของการส่งมอบ การฝกึ อบรมส�ำหรบั ปรบั ปรงุ การจดั การบรกิ ารสาธารณะของประชาชน นอกจากนั้น UNDP ยงั ชว่ ย UCSB รา่ งนโยบายการฝึกอบรมแห่งชาติ ของรฐั บาลและก�ำลังการผลิต UNDP ตอ้ งรายงานการประเมิน เพ่ือให้ UCSB น�ำไปพัฒนาปรบั ปรุงตอ่ ไป หน่วยงานการฝึกอบรมจะไดร้ ับการ ก่อตั้งขึ้นใน UCSB เพื่อช่วยปรับปรุงขีดความสามารถของเจ้าหน้าท่ี รัฐบาล และท�ำงานร่วมกับโครงการพัฒนาแห่งสหประชาชาติส�ำหรับ การสง่ มอบความช่วยเหลือด้านการพัฒนา ระบบบรหิ ารราชการของสาธารณรฐั แหง่ สหภาพเมยี นมาร์ 137

วารสารของขา้ ราชการพลเรอื นเมยี นมาร์ 138

7 กฎหมายสำ�คญั ท่คี วรรู้ ระบบบรหิ ารราชการของสาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมาร์ 139

7.1 กฎระเบียบขา้ ราชการ หนา้ ทแี่ ละอ�ำนาจของคณะกรรมการขา้ ราชการพลเรอื น (UCSB) ตาม มาตรา 8 9 และ 10 ในบททสี่ ามของกฎหมาย UCSB จะด�ำเนนิ การ กับการปฏิบัตหิ นา้ ทข่ี องคณะกรรมการทกี่ ฎหมายอา้ งถงึ [22] มาตรา 8 หนา้ ท่ีของคณะกรรมการมีดงั น้ี (ก) ระบบการคัดเลอื กการบรรจุขา้ ราชการพลเรอื นในมาตรา 3 (ข) การฝึกอบรมและการฝึกฝนบุคลากรในการให้บริการอย่างมี ประสิทธิภาพ (ค) สนบั สนุนรัฐบาลในการพจิ ารณาจรยิ ธรรม กฎระเบียบ ขัน้ ตอน มาตรฐานท่ีเกี่ยวข้องกับบุคลากรการบริการ และช่วยวางแนวทาง นโยบาย (ง) การปฏบิ ตั กิ ารท�ำวจิ ยั ทเี่ กยี่ วขอ้ งกบั กจิ การตา่ งๆ ของบคุ ลากรที่ ให้บรกิ าร (จ) การตดิ ตอ่ สื่อสารกบั หนว่ ยงานของสหประชาชาติ องค์กรระดบั ภูมิภาค และองค์กรระหว่างประเทศด้วยความเห็นชอบของรัฐบาล สหภาพในส่วนที่ได้รับการยอมรับในกิจการของบุคลากรที่ให้บริการ ต่างๆ (ฉ) การวิเคราะห์กิจการต่างๆ ของบุคลากรด้านการให้บริการ ซ่ึงได้รับการสอบถามโดยองค์กรของบุคลากรด้านการให้บริการ และ การตอบกลบั ใหส้ อดคลอ้ งกับกฎระเบยี บและขั้นตอนต่างๆ ทมี่ ีอยู่ 140

(ช) การด�ำเนินการบันทึกเน้ือหาสาระอย่างเป็นระบบเกี่ยวกับ การตอ่ ตา้ นบุคลากรด้านการให้บรกิ าร (ซ) การวเิ คราะหแ์ ละการประสานงานในความน่าเชอ่ื ถอื ของเนอื้ หา การคัดเลือก การฝึกฝน และธ�ำรงรักษาวินัยต่างๆ ของสหภาพองค์กร บคุ ลากรฝ่ายบริการ และฝา่ ยบรกิ ารของเขตหรอื รัฐ (ฌ) การประสานงานและด�ำเนนิ การจดั ตง้ั องคก์ รบคุ ลากรดา้ นการให้ บริการ เพื่อด�ำเนินงานต่างๆ ซึ่งบริหารจัดการโดยรัฐบาลส่วนภูมิภาค หรือส่วนรัฐให้ส�ำเร็จลุล่วงไปได้ และการแต่งต้ังบุคลากรด้านการให้ บริการที่จ�ำเป็น เพ่ือให้สอดคล้องกับกฎหมายสหภาพท่ีเกี่ยวข้องกับ บคุ ลากรดา้ นการใหบ้ รกิ าร หรอื โดยการประสานงานลว่ งหนา้ กบั รฐั บาล กลาง (ญ) การรายงานผลการด�ำเนินงานของคณะกรรมการเป็นประจ�ำ ทกุ ปีให้แกป่ ระธานาธิบดี และสง่ รายงานระหว่างกาลหากจ�ำเป็น (ฎ) การปฏิบตั ิหนา้ ทท่ี ี่ได้รับมอบหมายจากรฐั บาลไดท้ นั ตามเวลา มาตรา 9 อ�ำนาจของคณะกรรมการท่ีเกี่ยวข้องกับการคัดเลือกเพ่ือการ นดั หมายและการสง่ เสรมิ บุคลากรการใหบ้ รกิ าร มดี ังน้ี (ก) การก�ำหนดวา่ มเี พยี งต�ำแหนง่ บคุ ลากรดา้ นการใหบ้ รกิ ารต�ำแหนง่ ใด ท่ีจะต้องได้รับการคัดเลือกจากคณะกรรมการ โดยได้รับความเห็น ชอบจากรฐั บาลกลาง (ข) การก�ำหนดการคดั เลอื กบคุ ลากรดา้ นการใหบ้ รกิ ารในต�ำแหนง่ ท่ี เหลือ ซึ่งได้รับการคัดเลือกโดยองค์กรบุคลากรด้านการให้บริการที่ ระบบบรหิ ารราชการของสาธารณรัฐแหง่ สหภาพเมยี นมาร์ 141

เกี่ยวข้อง ซึ่งสอดคล้องกับค�ำสั่งของคณะกรรมการ ยกเว้นในส่วน การก�ำหนดล�ำดับต�ำแหน่งข้าราชการ ซึ่งต้องได้รับการคัดเลือกจาก คณะกรรมการเทา่ น้นั (ค) ส�ำหรับต�ำแหน่งท่ีได้รับการก�ำหนดตามหวั ขอ้ ยอ่ ย (ข) ในมาตรา 9 น้ัน ให้แต่งตั้งองค์กรบุคลากรด้านการให้บริการส่วนกลางเป็นผู้ คัดเลือกบุคลากรด้านการให้บริการด้วยการก่อตั้งหน่วยงาน โดยมี หัวหน้าองคก์ รบคุ ลากรด้านการให้บริการทเี่ กย่ี วข้องเป็นผกู้ ่อต้งั (ง) ให้หัวหน้าองค์กรบุคลากรด้านการให้บริการส่วนภูมิภาคหรือ ส่วนรัฐเป็นผู้ด�ำเนินการตามค�ำส่ังของคณะกรรมการในเรื่องเก่ียวกับ บุคลากรด้านการให้บริหารตามท่ีระบุในหัวข้อย่อย (ฌ) ในมาตรา 8 ภายใตข้ อ้ ก�ำหนดทรี่ ะบไุ วใ้ นหัวขอ้ ยอ่ ย (ซ) ในมาตรา 8 (จ) การให้ค�ำแนะน�ำแก่ส�ำนักงานรัฐบาล ถ้ามีความจ�ำเป็นท่ีจะ แต่งตั้งบุคลากรต�ำแหน่งต่างๆ ในทุกองค์การท่ีต้องการบุคลากรการให้ บรกิ ารสามารถติดตอ่ ในวาระจรได้ (ฉ) การพิจารณาตามเง่ือนไขข้อก�ำหนดที่เก่ียวข้องกับการส่งเสริม เนอื้ หาสาระทแ่ี นะน�ำ โดยองคก์ รทเี่ ชย่ี วชาญดา้ นบคุ ลากรการใหบ้ รกิ าร ซง่ึ ไดร้ บั ความเชอื่ ถอื และสง่ เสรมิ ตามการจดั ล�ำดบั เจา้ หนา้ ทตี่ ามประมวล หนังสอื ของรัฐบาล มาตรา 10 อ�ำนาจของคณะกรรมการที่เก่ียวข้องกับการศึกษาท่ีมีประสิทธิภาพ ของบุคลากรการใหบ้ ริการ มดี งั น้ี (ก) การจัดตั้งมหาวิทยาลัยและโรงเรียนของบุคลากรการให้บริการ 142

สามารถฝึกอบรมและฝึกฝนบคุ ลากรทใี่ หบ้ รกิ ารอยา่ งมีประสทิ ธิภาพ (ข) การครอบคลุมการฝึกอบรม การอภิปราย และการสมั มนา (ค) การจดั เตรยี มนโยบายทเี่ กย่ี วขอ้ งกบั การฝกึ อบรมสง่ ไปยงั รฐั บาล เพ่ือรับการอนุมตั แิ ละด�ำเนนิ การ (ง) การประสานงานโดยให้สอดคล้องกับนโยบายการฝึกอบรมท่ี ได้รับ นโยบายนี้ต้องเช่ือมโยงกับหลักสูตรการฝึกอบรมเพ่ือพัฒนา ประสิทธิภาพของหน่วยงาน ซงึ่ เปิดสอนโดยองค์กรตา่ งๆ ด้านบคุ ลากร การใหบ้ รกิ ารของสหภาพส�ำหรบั บคุ ลากรดา้ นการใหบ้ รกิ ารในองคก์ รนน้ั ๆ 7.2 กฎหมายคณะกรรมการข้าราชการพลเรอื น[25] คณะกรรมการข้าราชการพลเรือน คือ หน่วยงานที่ท�ำหน้าที่ก�ำกับ ดูแลข้าราชการพลเรือนต้ังแต่การสรรหาคัดเลือก การฝึกอบรม การ เล่ือนต�ำแหน่ง และการดูแลในหลายๆ ด้าน โดยมีกฎหมายที่บังคับใช้ ส�ำหรับคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน ดังน้ี บทท่ี 1 ชื่อ การบังคับใชแ้ ละค�ำจ�ำกัดความ 1: (ก) ใหเ้ รยี กกฎหมายฉบบั นวี้ า่ กฎหมายคณะกรรมการขา้ ราชการ พลเรือน (ข) กฎหมายฉบบั นใี้ หบ้ งั คบั ใชต้ ง้ั แตว่ นั ทป่ี ระกาศในรฐั ธรรมนญู 2: ค�ำทีอ่ ยใู่ นกฎหมายฉบบั นใ้ี หม้ คี วามหมายดงั น้ี (ก) รัฐธรรมนูญ หมายถึง รัฐธรรมนูญแห่งสาธารณรัฐสหภาพ เมยี นมาร์ ระบบบริหารราชการของสาธารณรฐั แหง่ สหภาพเมยี นมาร์ 143

(ข) คณะกรรมการ หมายถึง คณะกรรมการข้าราชการพลเรือน ซึ่งจัดต้ังขึ้นภายใตร้ ฐั ธรรมนูญและกฎหมายน้ี (ค) ประธาน หมายถงึ ประธานคณะกรรมการขา้ ราชการพลเรอื น (ง) สมาชิก หมายถึง สมาชกิ คณะกรรมการข้าราชการพลเรอื น (จ) องคก์ ารบรกิ ารบคุ ลากร หมายถึง องคก์ ารบุคลากรพลเรือน ทเี่ กดิ ขน้ึ และสอดคลอ้ งกบั บทบญั ญตั ทิ ม่ี อี ยใู่ นรฐั ธรรมนญู และกฎหมาย ทีม่ ีอยู่ (ฉ) การบริการบุคคล หมายถึง การให้บริการด้านบุคลากร พลเรอื นทไี่ ดร้ บั การแตง่ ตง้ั ในต�ำแหนง่ ทมี่ อี ยขู่ องบคุ ลากรองคก์ ารบรกิ าร 3: กฎหมายฉบบั นใ้ี หใ้ ชก้ บั ทกุ บรกิ ารของบคุ ลากรพลเรอื นของแตล่ ะ องคก์ รบคุ ลากรบรกิ าร ยกเวน้ บคุ ลากรบรกิ ารทางแพง่ ทก่ี ลา่ วถงึ ในสว่ น 291 และ 292 ของรัฐธรรมนูญ บทท่ี 2 การก่อตงั้ แตง่ ตง้ั และการก�ำหนดหน้าที่ของคณะกรรมการ ขา้ ราชการพลเรอื น การก่อตงั้ คณะกรรมการ 4: ประธานของสหภาพจะสร้างคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน ที่มีสมาชิกอย่างน้อยห้าคนแต่ไม่เกินเจ็ดคน รวมทั้งประธานกรรมการ เพ่ือด�ำเนินการตามหน้าที่ในการคัดเลือก การฝึกอบรมบุคลากรในการ ให้บรกิ าร และการก�ำหนดกฎระเบียบของขา้ ราชการพลเรอื น การแตง่ ตงั้ และการก�ำหนดหนา้ ทใี่ หป้ ระธานกรรมการและสมาชกิ 5: ประธานของสหภาพแต่งต้ังประธานกรรมการและสมาชิกจาก กล่มุ บุคคลท่มี ีคุณสมบตั ดิ งั ตอ่ ไปนี้ 144

(ก) ผทู้ ี่มอี ายุ 50 ปีบริบรู ณ์ (ข) บุคคลท่ีตอบสนองคุณสมบัติที่ก�ำหนดไว้ส�ำหรับสภาผู้แทน- ราษฎร ท่กี ล่าวไว้ในมาตรา 120 ของรฐั ธรรมนูญ ยกเวน้ การจ�ำกัดอายุ (ค) บุคคลที่ยงั ไม่ได้ละเมิดบทบญั ญตั ทิ ี่กล่าวถึงในส่วน 121 ของ รัฐธรรมนูญซึ่งห้ามบุคคลท่ีมาจากการการเลือกตั้งเป็นตัวแทนของ สภาผแู้ ทนราษฎร (ง) ปญั ญาชนและผู้มีประสบการณ์ (จ) บุคคลทม่ี คี วามจงรกั ภกั ดีตอ่ ประชาชนและประเทศ (ฉ) บุคคลที่ไม่ได้เปน็ สมาชิกของพรรคการเมอื ง (ช) บุคคลท่ไี ม่ได้เป็นตวั แทนของสภาผแู้ ทนราษฎร 6: (ก) ประธานกรรมการอยู่ในความดูแลของประธานสหภาพ เมียนมาร์ (ข) สมาชกิ จะอยใู่ นความดแู ลของประธานกรรมการ และประธาน สหภาพโดยผา่ นทางประธานกรรมการ 7: ประธานกรรมการและสมาชกิ (ก) มีบุคลากรข้าราชการพลเรือนท่ีจะต้องด�ำเนินการตามบท บัญญัติของสว่ นยอ่ ย (ค) มาตรา 246 ของรฐั ธรรมนูญ (ข) เปน็ บคุ คลทจี่ ะไม่ลงแขง่ ขันในการเลือกตั้งทัว่ ไปใดๆ เพ่อื ไม่ ให้เสียสิทธิท่ีจะได้รับการเลือกตั้งจากพลเมืองตามมาตรา 38 (ก) ของ รัฐธรรมนูญ ส่วนย่อยเกี่ยวกับสิทธิที่จะด�ำเนินกิจการขององค์กร และ กิจกรรมขององค์กรระหว่างประเทศที่เก่ียวข้องกับการเลือกตั้งตาม บทบญั ญัตทิ ม่ี อี ยู่ในส่วน 120 และ 121 ของรฐั ธรรมนญู นบั จากวันทไี่ ด้ มีการประกาศ ระบบบรหิ ารราชการของสาธารณรฐั แห่งสหภาพเมยี นมาร์ 145

บทที่ 3  หน้าที่ และอ�ำนาจของคณะกรรมการ 8: การปฏิบัติหน้าท่ขี องคณะกรรมการมดี ังน้ี (ก) การคัดเลอื กข้าราชการพลเรอื นตามมาตราท่ี 3 ของระบบ (ข) การฝึกอบรมขา้ ราชการพลเรือนอยา่ งมีประสิทธภิ าพ (ค) การสนับสนุนของรัฐบาลเมียนมาร์ เพ่ือการพิจารณา ด้านจริยธรรม ระเบียบ ขัน้ ตอน มาตรฐานท่ีเกย่ี วข้องกับการใหบ้ รกิ าร ด้านบคุ ลากร และการเปิดใชง้ านในการวางแนวทางการด�ำเนินงานนน้ั (ง) การด�ำเนินการวิจัยที่เก่ียวข้องกับกิจกรรมของข้าราชการ พลเรือน (จ) การติดต่อส่ือสารกับหน่วยงานขององค์กรสหประชาชาติ ระดบั ภมู ภิ าค และองคก์ รระหวา่ งประเทศ ตามความเหน็ ชอบของรฐั บาล เมียนมารใ์ นสว่ นทีเ่ กย่ี วกบั เร่อื งของข้าราชการพลเรอื น (ฉ) การวิเคราะห์เร่ืองของข้าราชการพลเรือนโดยองค์กร ข้าราชการพลเรือน ในเรื่องของความสอดคล้องต่อกฎระเบียบและ ขน้ั ตอนทม่ี อี ยู่ (ช) การเก็บรักษาข้อมูลอย่างเป็นระบบในส่วนที่เก่ียวกับ การด�ำเนนิ การของขา้ ราชการพลเรอื น (ซ) การวิเคราะห์และประสานงานในส่วนท่ีเก่ียวกับเรื่องของ การเลือก การบ�ำรุงรักษาสาขาวิชาองค์กรข้าราชการพลเรือน และ พนกั งานรฐั (ฌ) การประสานงานและการด�ำเนินการในรูปแบบองค์กร ข้าราชการพลเรือน ส�ำหรับการบริหารงานโดยภาครัฐหรือรัฐบาลใน การแต่งตั้งบุคลากรเป็นข้าราชการพลเรือนจ�ำเป็นต้องสอดคล้องกับ 146

กฎหมายทเี่ กยี่ วขอ้ งกบั สหภาพพนกั งานบรกิ ารหรอื โดยการประสานงาน กับรัฐบาลเมียนมาร์ล่วงหน้า (ญ) รายงานผลการด�ำเนินงานของคณะกรรมการเป็นประจ�ำ ทุกปีให้แก่ประธานาธบิ ดี และส่งรายงานระหว่างปีหากจ�ำเป็น (ฎ) ปฏิบัติหน้าที่ท่ีได้รับมอบหมายจากรัฐบาลเมียนมาร์เป็น ครัง้ คราว 9: อ�ำนาจของคณะกรรมการที่เก่ียวข้องกับการคัดเลือก แต่งตั้ง และเลอ่ื นต�ำแหน่งข้าราชการมดี ังนี้ (ก) ก�ำหนดตามความเห็นชอบของรัฐบาล ซ่ึงต�ำแหน่งของ ข้าราชการพลเรอื นจะต้องได้รับการคดั เลอื กจากคณะกรรมการ (ข) การพิจารณาในการคัดเลือกข้าราชการทหาร โดยองค์กร ข้าราชการพลเรือนให้สอดคล้องกบั ค�ำสัง่ ของคณะกรรมการ นอกเหนือ จากการจัดอันดับท่ีก�ำหนดของส�ำนักงานที่ได้รับการคัดเลือกโดย คณะกรรมการ (ค) การมอบหมายให้องค์กรสหภาพบริการบุคลากร เพื่อ คัดเลือกบุคลากรบริการส�ำหรับต�ำแหน่งตามมาตราย่อย (ข) โดยการ สรา้ งโครงสร้างโดยหวั หน้าองคก์ ารที่เกยี่ วข้องกบั การบรกิ ารบคุ ลากร (ง) การก�ำหนดหัวหน้างานของบุคลากรองค์การภาครัฐท่ีจะ ด�ำเนินการตามค�ำส่ังของคณะกรรมการในเร่ืองที่จ�ำเป็นในการแต่งต้ัง บคุ ลากรข้าราชการท่ีมอี ยูใ่ นส่วนย่อย (ฉ) ของมาตรา 8 ตามบัญญตั ทิ ม่ี ี อยู่ในสว่ นยอ่ ย (จ) ของมาตรา 8 (จ) การให้ค�ำแนะน�ำแก่ส�ำนักงานของรัฐบาล ในกรณีจ�ำเป็น ของการแต่งตั้งต�ำแหน่งของบุคลากรข้าราชการใดๆ ในบริการใดๆ ระบบบริหารราชการของสาธารณรัฐแหง่ สหภาพเมยี นมาร์ 147

ของบุคลากรองคก์ ารเนอ่ื งจากสถานการณท์ ่ผี ิดปกติใดๆ (ฉ) การวิเคราะห์และการด�ำเนินการตามค�ำแนะน�ำโดยองค์กร ท่ีเกี่ยวข้องกับการบริการบุคลากรในส่วนของการเลื่อนขั้นในการจัด อันดับของเจา้ หน้าที่รัฐให้เป็นไปตามข้อก�ำหนดที่เก่ียวข้องกับการเล่ือน ต�ำแหนง่ 10: อ�ำนาจของคณะกรรมการที่เก่ียวข้องกับการฝึกอบรม และ การดแู ลขา้ ราชการพลเรอื นทม่ี ีประสิทธภิ าพ มดี งั น้ี (ก) การจัดต้ังมหาวิทยาลัยและโรงเรียนของข้าราชการ เพื่อ ใหก้ ารฝกึ อบรมและการดูแลขา้ ราชการได้อยา่ งมีประสิทธิภาพ (ข) การจัดฝกึ อบรม การอภปิ ราย และการสัมมนา (ค) การจดั ท�ำนโยบายทเี่ กยี่ วขอ้ งกบั การฝกึ อบรมสง่ ไปยงั รฐั บาล เพอื่ การอนมุ ตั ิ (ง) การประสานงานที่สอดคล้องกับนโยบายการฝึกอบรมท่ี เก่ียวข้องกับการใช้ความสามารถของภาควิชาหลักสูตรการฝึกอบรมท่ี เปิดโดยแตล่ ะองคก์ รขา้ ราชการของเมยี นมาร์ส�ำหรบั การให้บรกิ าร 11: คณะกรรมการอาจจดั โครงสรา้ งของผใู้ ตบ้ งั คบั บญั ชาทม่ี สี มาชกิ ในการด�ำเนินงานของคณะกรรมการ 12: คณะกรรมการมีสิทธิที่จะขอความช่วยเหลือจากองค์กรบริการ ส่วนบุคคล หรือบุคลากรผู้เช่ียวชาญด้านความช่วยเหลือทางเทคนิคท่ี จ�ำเปน็ ในการปฏิบัติหนา้ ท่ีของคณะกรรมการ 13: คณะกรรมการมีสิทธิจะขอข้อเท็จจริงที่จ�ำเป็นเกี่ยวกับ ขา้ ราชการที่เกี่ยวข้องกับองคก์ รบริการบุคลากร 148

บทที่ 4 วาระการด�ำรงต�ำแหน่ง การลาออก การส้ินสุดจากหน้าท่ี และการบรรจแุ ละแต่งตัง้ ประธานกรรมการและสมาชิก 14: วาระการด�ำรงต�ำแหน่งของประธานกรรมการและสมาชิกจะ เหมือนกนั กบั ประธานาธิบดี 15: (ก) ถา้ ประธานกรรมการปรารถนาทจ่ี ะลาออกจากต�ำแหนง่ ตาม ความตั้งใจของตนเองส�ำหรับสาเหตุใด ๆ ก่อนที่จะครบวาระการด�ำรง ต�ำแหน่งของตน อาจลาออกจากต�ำแหน่งหลังจากส่งข้อความเป็น ลายลกั ษณอ์ กั ษรวา่ มคี วามจ�ำนงจะลาออกจากต�ำแหนง่ ยนื่ ใหแ้ กป่ ระธาน สหภาพ (ข) หากสมาชิกปรารถนาท่ีจะลาออกจากต�ำแหน่งท่ีมีอยู่ใน ส่วนย่อย (ก) อาจจะลาออกจากต�ำแหน่งหลังจากส่งข้อความว่ามี ความจ�ำนงที่จะลาออกเป็นลายลักษณ์อักษรต่อประธานสหภาพผ่าน ประธานกรรมการ 16: ประธานกรรมการอาจขึ้นตรงกับประธานสหภาพ หากสมาชิก ที่ไม่สามารถปฏิบัติหน้าท่ีท่ีได้รับมอบหมายได้อย่างมีประสิทธิภาพหรือ ไม่ปฏิบัติตามจริยธรรมและวินัยที่มีอยู่ในมาตรา 18 ให้ลาออกจาก ต�ำแหน่งใดๆ หากไม่ปฏบิ ตั ติ ามค�ำสงั่ ของประธานาธบิ ดจี ะถกู ยกเลกิ ใน การปฏิบัตหิ นา้ ที่ 17: หากต�ำแหน่งประธานกรรมการหรือสมาชิกใดๆ ว่างลงจาก การลาออกพ้นจากหนา้ ที่ การตาย หรือสาเหตอุ น่ื ใด ประธานาธิบดีอาจ แต่งตั้งและก�ำหนดหน้าท่ีประธานใหม่ หรือสมาชิกที่สอดคล้องกับ บทบญั ญตั ทิ เ่ี กย่ี วขอ้ งกบั การแตง่ ตงั้ ประธานกรรมการหรอื สมาชกิ ทมี่ อี ยู่ ในรฐั ธรรมนญู ตามวาระการด�ำรงต�ำแหนง่ ของประธานฯหรอื สมาชกิ นนั้ ระบบบริหารราชการของสาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมาร์ 149


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook