สถานีเกษตรแบ่งปัน ณ ราชบุรี การพัฒนาต้นแบบชุมชนอาหารเพื่อสุขภาวะ เชิงบูรณาการสู่วิถีชุมชน การอภิบาลชุมชน สู่การประกาศข่าวดีวิถีใหม่ เสริมสร้างชุมชนแห่งความรักผ่านวิถีชีวิต โดย ขับเคลื่อนชุมชนอาหารเพื่อสุขภาวะ พัฒนารูปแบบเศรษฐกิจชุมชน ผ่านการบริหารจัดการวิสาหกิจชุมชน การออกแบบตราสัญลักษณ์ (LOGO) เกษตรแบ่ งปั น กิ นพอดี อยู่ พอเพี ยง โดยชุมชนคาทอลิก วัดนักบุญอักแนส ต.ท่าเคย อ.สวนผึ้ง จ.ราชบุรี ด้วยการสนับสนุนจากสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.)
ร่วมกันขับเคลื่อนชุมชนสู่พลเมืองอาหารเพื่อสุขภาวะ ภายใต้ระบบอาหารที่ยั่งยืน เสริมสร้างการผลิต/เชื่อมโยง/ การบริโภคอาหารเพื่อสุขภาวะ ให้เกิดความมั่นคงทางอาหาร อาหารปลอดภัยและการบริโภคที่ถูกหลักโภชนาการ เกษตรแบ่งปัน : กินพอดี อยู่พอเพียง
วัตถุประสงค์การออกแบบ ตราสัญลักษณ์ (LOGO) เกษตรแบ่ งปั น กิ น พ อ ดี อ ยู่ พ อ เ พี ย ง ตราสัญลักษณ์ (Logo) วัตถุประสงค์ของการ ออกแบบให้สื่ อสัญลักษณ์ถึงสื่ อถึงความหมายที่บ่งบอก ถึงศูนย์รวมเรื่องราวของ “ความรัก” และ “การแบ่งปัน” มาหยิบหยกเรื่องราวนำทางด้วยลายเส้นรูปหัวใจ โดยโอบ ล้อมของพลังความใส่ใจการให้ที่ยิ่งใหญ่ของการดูแลจาก ชุมชนและผู้บริโภคของการทานที่ดี ความปลอดภัยเพื่อสุข ภาวะที่ดีของผู้บริโภคโดยองค์ประกอบอักษร คำว่า เกษตร แบ่งปัน และภาพคนมาร้อยเรียงเรื่องราวที่ทรงพลังสื่อได้ ทั้ง 2 สี ได้แก่ สีส้มแสดงถึงความหนักแน่น และสีฟ้าในตัว คนก็ยังเป็นตัวแทนวัด (สีประจำของวัด น.อักแนส) ที่ร่วม ไม้ร่วมมือให้ที่เป็นการเชื่อมโยงที่แสดงการพัฒนาผลิต เกษตรอินทรีย์ที่มี \"คุณภาพอย่างมีส่วนร่วมและยั่งยืน\" เกษตรแบ่งปัน : กินพอดี อยู่พอเพียง
9รูปแบบการออกแบบ ตราสัญลักษณ์ (LOGO) เกษตรแบ่ งปั น กิ นพอดี อยู่ พอเพี ยง เกษตรแบ่งปัน : กินพอดี อยู่พอเพียง
ความหมายของแบบโลโก้ \"เกษตรแบ่งปัน\" ทั้ง 9 แบบ ความหมายของแบบโลโก้ “เกษตรแบ่งปัน” เป็ นการแสดงบ่งบอกถึงเอกลักษณ์ ในการสื่อความหมายที่เกิดขึ้นจากรูปแบบ สี ภาพ และเรื่องราว ที่เป็ นการตีความและ ความเข้าใจ ความรู้สึกแรกของผู้มองเห็นเพื่ อมานำเสนอเล่าถึงเรื่องราวของการสื่อความหมาย ใน 9 แบบ ดังต่อไปนี้ แบบที่ 1 : แสดงถึงกระบวนการกว่าจะได้มาซึ่งอาหารเพื่ อสุขภาวะซึ่งต้องอาศัยพลังความร่วมไม้ร่วมมือจากหลาย ๆ ส่วน ประกอบด้วย วัด เกษตรกรในพื้นที่ ชุมชน และผู้บริโภค โดยจะนำจุดเชื่อมโยงของวงจรที่เกิดขึ้นมาสื่อความหมาย ผ่านรูปแบบโลโก้โดยตรง แบบที่ 2 : แสดงความจุดเน้นจาก รูปแบบอักษร “เกษตรแบ่งปัน” ที่มีพลังของอักษรที่โดดเด่น ให้สีที่แทนความหมาย ของเกษตรด้วย “สีเขียว” และแบ่งปันของความร่วมมือด้วย “สีน้ำตาล” ในความหนักแน่นเหมือนดินที่ให้ความเป็ น ทางการประเภทของพื้นที่เชิงเกษตร ในส่วนของชุมชนให้สัญลักษณ์รูปแบบคนมาสื่อความหมายของการ “ส่วนร่วม” อันเป็ นปัจจัยสำคัญของการพัฒนาเชิงพื้นที่ แบบที่ 3 : แสดงความจุดเน้นคำว่า “เกษตรแบ่งปัน” โดยเน้นใบไม้สีเขียวบนอักษรเกษตร ที่สะท้อนถึงการเจริญเติบโต ความอุดมสมบูรณ์ เปรียบเสมือนศูนย์รวมของผู้ให้ไปยังผู้บริโภคที่ปลอดภัย และมีมือที่เข้ามาโอบอุ้มสะท้อนของการ แบ่งปันการเกษตร แบบที่ 4 : แสดงการสื่อหมายด้วยสัญลักษณ์ กรอบรูปมือประกบในวงล้อมของโลโก้ ซึ่งเป็ นตัวแทนของการร่วมมือ ร่วมใจศูนย์รวมของชุนชน อีกทั้งรูปคนที่เป็ นใจกลางสำคัญสื่อทั้งผู้ให้และผู้บริโภคด้วยมุ่นเน้นสีส้มทรงพลังความ สำเร็จ และสีน้ำตาลของความหนักแน่นเหมือนพื้นที่เชิงเกษตร และที่ขาดไม่ได้รายละเอียดของพระอาทิตย์และใบไม้ ของการเกษตรนั่ นเอง แบบที่ 5 : เน้นสัญลักษณ์จุดศูนย์รวม “ใจกลางโลโก้การพัฒนาเชิงพื้นที่การทำเกษตรอินทรีย์” โดยผสมใบไม้แต่สื่อ ในการมองภาพให้เป็ นภาพคนที่ตีความแล้ว เกิดในการรับรู้ที่ของชุมชนในการพัฒนาเกษตรที่ปลอดภัย เกษตรแบ่งปัน : กินพอดี อยู่พอเพียง
ความหมายของแบบโลโก้ \"เกษตรแบ่งปัน\" ทั้ง 9 แบบ ความหมายของแบบโลโก้ “เกษตรแบ่งปัน” เป็ นการแสดงบ่งบอกถึงเอกลักษณ์ ในการสื่อความหมายที่เกิดขึ้นจากรูปแบบ สี ภาพ และเรื่องราว ที่เป็ นการตีความและ ความเข้าใจ ความรู้สึกแรกของผู้มองเห็นเพื่ อมานำเสนอเล่าถึงเรื่องราวของการสื่อความหมาย ใน 9 แบบ ดังต่อไปนี้ แบบที่ 6 : แสดงการสื่อหมายของการพัฒนาการเกษตรของชุมชนด้วยลายเส้นคน และพลังสีส้มที่สื่อพระอาทิตย์ ใบไม้ของความเป็ นธรรมชาติความปลอดภัยของทรัพยากรที่อุดมสมบูรณ์ แต่แฝงไปด้วยลายเส้นโค้งในลักษณะ เ ค รื อ ข่ า ย สี เ ขี ย ว ที่ บ อ ก ไ ด้ทั้ง เ ชิ ง พื้น ที่ แ ล ะ จ ด จำ ด้า น ข อ ง ค ว า ม ก้า ว ห น้า ใ น ก า ร พัฒ น า เ ก ษ ต ร เ ชิ ง พื้น ไ ป ใ น ตัว แบบที่ 7 : แสดงการสื่อความหมายที่บ่งบอกถึงศูนย์รวมเรื่องราวของ “ความรัก” และ “การแบ่งปัน” มาหยิบหยกเรื่อง ราวนำทางด้วยลายเส้นรูปหัวใจ สื่อถึงความใส่ใจการให้ที่ยิ่งใหญ่ของการดูแลจากชุมชนในการบริโภคอาหารเพื่ อสุข ภาวะที่ดีของผู้บริโภค โดยองค์ประกอบอักษร คำว่า เกษตรแบ่งปัน และภาพคนมาร้อยเรียงเรื่องราวที่ทรงพลังและ หนักแน่นของสีส้ม และสีฟ้าในตัวคนก็ยังเป็ นตัวแทนวัด ที่ร่วมไม้ร่วมมือให้ที่เป็ นการเชื่อมโยงที่แสดงการพัฒนาผลิต เ ก ษ ต ร อิ น ท รี ย์ที่ มี คุ ณ ภ า พ อ ย่ า ง มี ส่ ว น ร่ ว ม แ ล ะ ยั่ ง ยื น แบบที่ 8 : แสดงความจุดเน้นจาก รูปแบบอักษร “เกษตรแบ่งปัน” ที่มีพลังของอักษรที่โดดเด่น ให้สีที่แทนความหมาย ของเกษตรด้วย “สีเขียว” โดยเน้นใบไม้สีเขียวบนอักษรเกษตร ที่สะท้อนถึงการเจริญเติบโต ความอุดมสมบูรณ์ในเชิงพื้นที่ โดยมีลูกศรวิ่งเคลื่อนไหวด้วยเส้นรอบนอกวิ่งชี้สู่ภาพคน เพื่ อแสดงให้เห็นทางการเดินไปข้างหน้าด้วยพลังของชุมชน แบบที่ 9 : เน้นการพัฒนาเชิงพื้นที่ ดิน น้ำ อากาศ ที่สามารถบ่งบอกไปในทางผลผลิตเกษตรอินทรีย์ที่มีคุณภาพ โดย ผู้มองจะส่งผลต่อการรับรู้ได้ถึง “ความมีพลัง” ด้วยเส้นสีน้ำตาลในลักษณะเส้นนำสายตาของพื้นดินเชิงกายภาพใน การทำงานเกษตรที่อุดมสมบูรณ์ในความสำเร็จในเชิงพื้นที่ เกษตรแบ่งปัน : กินพอดี อยู่พอเพียง
ผลความพึงพอใจรูปแบบโลโก้ \"เกษตรแบ่งปัน\" จาก ที มนั กวิ ชาการและสื่ อ งานวิ จั ยพั ฒนา สื่ อสารสั งคม สถานี เกษตรแบ่ งปั น จำนวน กี่ คน พบว่า แบบที่ 1) ความพึงพอใจ จากทั้งหมด ? กี่เสียง พบว่า ได้ 4 เสียง แบบที่ 2) ความพึงพอใจ จากทั้งหมด ? กี่เสียง พบว่า ได้ 6 เสียง แบบที่ 3) ความพึงพอใจ จากทั้งหมด ? กี่เสียง พบว่า ได้ 1 เสียง แบบที่ 4) ความพึงพอใจ จากทั้งหมด ? กี่เสียง พบว่า ได้ 4 เสียง แบบที่ 5) ความพึงพอใจ จากทั้งหมด ? กี่เสียง พบว่า ได้ 0 เสียง แบบที่ 6) ความพึงพอใจ จากทั้งหมด ? กี่เสียง พบว่า ได้ 0 เสียง แบบที่ 7) ความพึงพอใจ จากทั้งหมด ? กี่เสียง พบว่า ได้ 8 เสียง แบบที่ 8) ความพึงพอใจ จากทั้งหมด ? กี่เสียง พบว่า ได้ 6 เสียง แบบที่ 9) ความพึงพอใจ จากทั้งหมด ? กี่เสียง พบว่า ได้ 4 เสียง สรุปได้ว่า ผลคะแนนความพึงพอใจ แบบที่ 7 เป็ นอันดับหนึ่ง ภาพการประชุมเมื่อวันที่ 20 มีนาคม 2565 ณ วัด น.อักแนส เกษตรแบ่งปัน : กินพอดี อยู่พอเพียง
ที่มาตราสัญลักษณ์ (LOGO) แนวคิ ดในการ ออกแบบ CONCEPT ภาพกราฟิก ชุดโทนสี (สีเขียว = การเกษตร) สีน้ำตาล =พลังพื้นแผ่นดิน (สีส้ม = ชุมชน) สีฟ้า = วัด LOGO INSPIRATION + + += หัวใจ ใบไม้ ชุมชน การกิน/บริโภค (สื่อถึงความรัก/การแบ่งปัน) (สื่อถึงความเป็นเกษตร) (สื่อถึงพลังชุมชน/วัด) (สื่อถึงการกินดี/สุขภาวะ) เกษตรแบ่งปัน : กินพอดี อยู่พอเพียง
ความหมาย ตราสัญลักษณ์ (LOGO) + + += หัวใจ ใบไม้ ชุมชน การกิน/บริโภค (สื่อถึงความรัก/การแบ่งปัน) (สื่อถึงความเป็นเกษตร) (สื่อถึงพลังชุมชน/วัด) (สื่อถึงการกินดี/สุขภาวะ) สื่อถึงความหมายที่บ่งบอกถึงศูนย์รวมเรื่องราวของ “ความรัก” และ “การแบ่งปัน” มาหยิบหยกเรื่องราวนำทางด้วยลายเส้นรูป หัวใจ โดยโอบล้อมของพลังความใส่ใจการให้ที่ยิ่งใหญ่ของการดูแล จากชุมชนและผู้บริโภคของการทานที่ดี ความปลอดภัยเพื่อสุขภาวะ ที่ดีของผู้บริโภค โดยองค์ประกอบอักษร คำว่า เกษตรแบ่งปัน และ ภาพคนมาร้อยเรียงเรื่องราวที่ทรงพลังสื่อได้ทั้ง 2สี ได้แก่ สีส้ม แสดงถึงความหนักแน่น และสีฟ้าในตัวคนก็ยังเป็นตัวแทนวัด (สีประจำของวัด น.อักแนส) ที่ร่วมไม้ร่วมมือให้ที่เป็นการเชื่อมโยงที่ แสดงการพัฒนาผลิตเกษตรอินทรีย์ที่มี \"คุณภาพอย่างมีส่วน ร่วมและยั่งยืน\" เกษตรแบ่งปัน : กินพอดี อยู่พอเพียง
หัวใจ บุคคล โอบล้อมสีเขียว ตัวแทนพลังชุมชน ส้อม ที่สื่อการทาน/ และตัวแทนวัด บริโภคที่ สุขภาวะ ข้อความ ประกอบด้วย ใบไม้สีเขียวที่แตกผลิใบ คุณภาพทางเกษตร - เกษตรแบ่งปัน อินทรีย์/และ - กินพอดี อยู่พอเพียง เกษตรยั่งยืน เกษตรแบ่งปัน : กินพอดี อยู่พอเพียง
จั ดทำโดย ที มนั กวิ ชาการและสื่ อ งานวิ จั ยพั ฒนา สื่ อสารสั งคม สถานี เกษตรแบ่ งปั น St.Agnes Parish วิ สาหกิ จชุ มชน น.อั กแนส โครงการสถานีเกษตรแบ่งปัน ณ ราชบุรี การพัฒนาต้นแบบชุมชนอาหารเพื่อสุขภาวะเชิงบูรณาการสู่วิถีชุมชน โดยชุมชนคาทอลิกวัดนักบุญอักแนส 16 หมู่ที่ 8 ต.ท่าเคย อ.สวนผึ้ง จ.ราชบุรี ด้วยการสนับสนุนจากสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.)
Search
Read the Text Version
- 1 - 11
Pages: