๘มรรควธิ ที ี่ ระบบ การศึกใษหา ม่ ระบบการศึกษาเก่าเปน็ ระบบทีอ่ ยูบ่ นความคิดแบบแยกสว่ น คือ แยกจากความจริงของชีวิต ไปเอาวิชาเป็นตัวตั้ง และเน้นการเรียนรู้จาก การ “ทอ่ ง” ไมไ่ ดเ้ นน้ การเรยี นรจู้ ากการ “ทำ� ” จากการปฏบิ ตั ใิ นสถานการณ์ จริง ท�ำให้สร้างคนไทยที่ไม่รู้จักความจริงและอ่อนแอข้ึนมาเต็ม ประเทศ ระบบการศึกษาใหม่เปล่ียนฐานการเรียนรู้จากวิชา ซึ่งยังไม่ใช่ ความจริงของประเทศ ให้อยู่บนฐานความจริงด้วยการปฏิบัติในสถาน- การณ์จริง ทิ ศ ท า ง อ น า ค ต ป ร ะ เ ท ศ ไ ท ย ฯ 51
ในการสรา้ งพระเจดยี จ์ ากฐานทมี่ กี ารเปดิ พน้ื ทที่ างสงั คมและพนื้ ที่ ทางปญั ญาอยา่ งกวา้ งขวาง จะมกี ารเรยี นรรู้ ว่ มกนั ในการปฏบิ ตั ิ (Interac- tive learning through action) ในสถานการณจ์ รงิ การเรยี นรรู้ ว่ มกนั ในการปฏบิ ตั เิ ปน็ การเรยี นรทู้ ส่ี ำ� คญั ทสี่ ดุ เพราะ ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงข้ันพ้ืนฐาน (transformation) ในทุกมิติ ทั้ง ความรสู้ กึ นกึ คดิ โลกทศั น์ พฤตกิ รรม การเรยี นรู้ การทำ� งาน การจดั องคก์ ร และทีส่ �ำคญั ท�ำให้เกิดความสุขประดุจบรรลุนพิ พาน (ดูรายละเอียดในบทความ “แผนและยุทธศาสตร์สร้างแผ่นดิน สุขภาวะใน ๘๐๐ อำ� เภอ ๘,๐๐๐ ตำ� บล ทั่วประเทศ โดยผ้เู ขียน) หากระบบการศกึ ษาเขา้ รว่ มในการขบั เคลอ่ื นแผนและยทุ ธศาสตร์ สรา้ งแผน่ ดนิ สขุ ภาวะดงั กลา่ ว ระบบการศกึ ษาเกา่ จะเปลย่ี นเปน็ ระบบการ ศกึ ษาใหม่ 52 ป ร ะ เ ว ศ ว ะ สี
๙มรรควิธที ่ี ระบบ การเมือใงหม่ ระบบการเมอื งเกา่ มวี กิ ฤตในตวั เอง และกอ่ วกิ ฤตใหบ้ า้ นเมอื งและ โลก แมใ้ นประเทศตน้ แบบเสรปี ระชาธปิ ไตยอยา่ งสหรฐั อเมรกิ า เพราะอยู่ บนความคดิ แบบแยกสว่ น ท�ำให้เกิด polarization (การบงั คับให้เป็นทาง เดยี วกนั ) อย่างสดุ โตง่ จนรัฐบาล dysfunction (เกดิ ความผิดปกติ) ประเทศไทยผา่ นการตอ่ สทู้ างการเมอื งมานาน มปี ฏวิ ตั ริ ฐั ประหาร จำ� นวนมาก และมกี ารเขยี นรฐั ธรรมนญู ใหมก่ วา่ ๒๐ ฉบบั แสดงวา่ วถิ เี กา่ ๆ อยา่ งนีไ้ ม่ได้ผลแลว้ ควรจะนำ� วธิ คี ดิ ทางสายกลางมาใชใ้ นการพฒั นาการเมอื ง ไมม่ อง การเมอื งแบบแยกสว่ น แตเ่ ปน็ การเมอื งทบี่ รู ณาการอยใู่ นทง้ั หมด ทก่ี ลา่ วถงึ มรรค ๑๑ ในทศิ ทางอนาคตประเทศไทยหลงั โควดิ ทิ ศ ท า ง อ น า ค ต ป ร ะ เ ท ศ ไ ท ย ฯ 53
ในบทความน้ี มรรคทง้ั ๑๒ ไมไ่ ดแ้ ยกเปน็ สว่ นๆ แตบ่ รู ณาการอยู่ ในกนั และกนั แบบทที่ างพระใชค้ ำ� วา่ มรรคสมงั คี ถา้ ทงั้ ๑๒ มรรคสมงั คี การเมอื งกจ็ ะดไี ปดว้ ย เพราะเชอ่ื มโยงอยกู่ บั ความถกู ตอ้ งเปน็ ธรรมทง้ั หมด ประชาธปิ ไตยทางตรงกบั ทางออ้ มสามารถบรรจบหรอื บรู ณาการ กัน โดยคนทั้งประเทศมีสว่ นรว่ มในการพฒั นานโยบายสาธารณะ นายกรฐั มนตรคี วรไดร้ บั การเลอื กตงั้ โดยมตทิ เ่ี ปน็ เอกฉนั ทจ์ าก สส. ทงั้ สภา เปน็ ประชาธปิ ไตยโดยเอกฉนั ท์ ไมใ่ ชโ่ ดยเสยี งขา้ งมาก ซง่ึ แยกสว่ น นายกรัฐมนตรีจะอยู่เหนือการแบ่งข้างแบ่งขั้ว ท�ำให้มีอิสระใน การเลือกคนดที ีส่ ุดมารว่ มบริหารบ้านเมือง โดยไมข่ ึ้นกบั โควต้าของพรรค ซ่ึงไม่สามารถท่จี ะรบั ประกันว่าจะได้คนท่ีเหมาะสมท่ีสุด กลุ่มการเมืองไม่ควรมีสิทธิเพราะอ�ำนาจเงิน แต่ควรจะเป็นสิทธิ ของประเทศทจี่ ะได้คนท่ีดีทสี่ ุดมาบรหิ ารบา้ นเมอื ง น้ีกค็ ือการเมอื งใหม่ การเมอื งใหมอ่ กี อยา่ งหนง่ึ คอื การเมอื งอนั เปน็ อำ� นาจการตดั สนิ ใจ สงู สดุ ตอ้ งสมั พนั ธอ์ ยกู่ บั กระบวนการทางปญั ญาสงู สดุ กระบวนการทางปญั ญาสงู สดุ ของชาตใิ ดชาตหิ นงึ่ คอื กระบวนการ พฒั นานโยบายสาธารณะแบบมสี ว่ นรว่ ม ทเี่ ปน็ ทง้ั กระบวนการประชาธปิ ไตย และกระบวนการทางปญั ญา สามารถออกแบบ “สมชั ชาพฒั นานโยบายสาธารณะแหง่ ชาต”ิ ที่ก�ำหนดให้สมาชิกรัฐสภา คณะรัฐมนตรี เข้าร่วมประชุมร่วมกับตัวแทน จากทกุ ภาคสว่ นของสังคม 54 ป ร ะ เ ว ศ ว ะ สี
การตัดสินใจนโยบายสาธารณะที่ดีร่วมกันและน�ำไปสู่การปฏิบัติ อยา่ งครบวงจร จะเปน็ การเมอื งใหม่อย่างแท้จรงิ พรรคการเมืองจะกลายเป็นสถาบันพัฒนานโยบายสาธารณะ นักการเมืองจ�ำนวนมากจะกลายเป็นนักพัฒนานโยบายสาธารณะ เป็น ผทู้ รงเกยี รตอิ ยา่ งแทจ้ รงิ ไมใ่ ชก่ ลมุ่ กว๊ นผแู้ สวงหาอำ� นาจและผลประโยชน์ อีกต่อไป การตอ่ สรู้ ะหวา่ งซา้ ยและขวาไมค่ วรจะมอี กี ตอ่ ไป เพราะองคร์ วม ต้องมีทั้งแขนซ้ายและแขนขวา เครื่องบินต้องมีท้ังปีกซ้ายและปีกขวาจึง จะบินข้ึน การปฏิวัติรัฐประหารไม่ควรจะมีต่อไป กองทัพนอกจากเป็น สถาบันปอ้ งกันประเทศแล้ว ยงั จะมบี ทบาทในการพฒั นาอย่างบูรณาการ ในมรรคท้งั ๑๒ มรรค ท่ีกลา่ วดังนเ้ี ปน็ ตน้ ไม่ไดก้ ลา่ วถึงระบบท้งั หมด ยงั มีระบบอนื่ ๆ อกี มาก เช่น ระบบ ความยตุ ธิ รรม ซึ่งสามารถคดิ ได้ในทำ� นองเดยี วกนั ทิ ศ ท า ง อ น า ค ต ป ร ะ เ ท ศ ไ ท ย ฯ 55
“กระบวนการทางปญั ญาสงู สดุ ของชาตใิ ดชาตหิ นงึ่ คอื แทกลรเ่ี ปะะนบ็กทรวะนง้ั บกกรวาะนรบกพวาฒั นรทนกาาารงนปปโยญัรบะาญยชสาาาธธาปิ รณไตะแยบบมสี ว่ นรว่ ม ” 56 ป ร ะ เ ว ศ ว ะ สี
๑๐มรรควิธีที่ ศาสนาพทลาังง ประเทศไทยเป็นเมืองพุทธ มีวดั ประมาณ ๓๐,๐๐๐ วดั พระสงฆ์ ประมาณ ๒๕๐,๐๐๐ สามเณรประมาณ ๑๐๐,๐๐๐ ท่ีส�ำคัญมีพุทธธรรมอันเป็นภูมิปัญญาท่ีมาจากความจริงตาม ธรรมชาติ จงึ เป็นพลงั มหาศาลเพอื่ การพัฒนา ทิศทางอนาคตประเทศไทยหลังโควิดที่จะไปให้พ้นวิกฤตจะไม่ เหมือนเดิม ที่เอาการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจหรือจีดีพีเป็นตัวต้ัง อัน เปน็ การคิดและทำ� แบบแยกส่วนท่นี �ำไปส่กู ารเสยี สมดลุ แต่จะต้องเปลี่ยนเส้นทางมาด�ำเนินบนทางแห่งทิฐิองค์รวม และ การพัฒนาอย่างบูรณาการไปสู่ความถกู ตอ้ งเป็นธรรมของทั้งหมด ทิ ศ ท า ง อ น า ค ต ป ร ะ เ ท ศ ไ ท ย ฯ 57
มรรควธิ ี ๑๒ ประการทนี่ ำ� เสนอในทน่ี ี้ แสดงใหเ้ หน็ วา่ บนเสน้ ทาง แหง่ ทฐิ ใิ หมน่ ต้ี อ้ งการการปรบั ทฐิ ใิ หเ้ หน็ ตามความเปน็ จรงิ วธิ คี ดิ แบบทาง สายกลาง การเรียนรู้ และกระบวนการทางปญั ญา สัมพันธภาพทถ่ี กู ต้อง และกระบวนการทางสงั คมอยา่ งไร ซงึ่ เป็นเรอ่ื งใหญๆ่ ท้ังสน้ิ พุทธธรรมวา่ ด้วยเรอื่ งใหญ่ๆ เหล่านัน้ ทัง้ สิ้น พุทธศาสนาจึงมีบทบาทใหญ่ในทิศทางใหม่แห่งการพัฒนา ประเทศไทย ทผี่ า่ นมามบี ทบาทของพระพทุ ธศาสนาถกู ท�ำใหเ้ ปน็ เรอื่ งเลก็ โดย เป็นเครือ่ งมือของอำ� นาจรฐั และทำ� หนา้ ท่ีทางจารตี ประเพณี ไมใ่ ชห่ นา้ ท่ี ในการเปิดพื้นท่ีทางปัญญาและพื้นท่ีทางสังคมอย่างกว้างขวางตาม เจตนารมณข์ องพระศาสดา ทัง้ นี้กม็ ีท่มี า ประเทศไทยอย่างนอ้ ยตัง้ แต่ครั้งกรงุ ศรอี ยุธยา เตม็ ไปด้วยการต่อสู้แย่งชิงอ�ำนาจทางการเมือง ไว้วางใจกันไม่ได้ แม้แต่พระ สงฆก์ เ็ คยสึกออกมายดึ อ�ำนาจ ฝ่ายใดมีอ�ำนาจก็ต้องการควบคุมการพระศาสนาให้มาสนับสนุน ตน ไมป่ ลอ่ ยใหเ้ ปน็ อสิ ระ จงึ เกดิ ระบบการปกครองคณะสงฆ์ ซง่ึ เปน็ ระบบ ราชการที่รวมศูนยอ์ �ำนาจไว้ท่สี ่วนกลาง โครงสร้างอ�ำนาจดงั ที่กล่าวแตต่ ้นว่า มีพลังอ�ำนาจมาก ไมม่ อี ะไร ตอ่ ตา้ นได้ แตม่ ผี ลเสยี ฉกรรจใ์ นการปดิ พน้ื ทที่ างปญั ญาและพน้ื ทท่ี างสงั คม พระพุทธศาสนาในประเทศไทยจึงไม่มีบทบาทใหญ่ คงรับใช้ อำ� นาจรัฐและทำ� หนา้ ทท่ี างจารีตประเพณเี ป็นหลกั บดั น้สี ถานการณ์เปลี่ยนแปลงไปมากแลว้ ประเทศและโลกวกิ ฤต จนสดุ ทางเกา่ ตอ้ งปรบั เปลย่ี นเสน้ ทางมาใชท้ ฐิ ทิ ถี่ กู ตอ้ ง วธิ คี ดิ ปญั ญา และ 58 ป ร ะ เ ว ศ ว ะ สี
สงั คม ตามท่ีกล่าวมาเป็นลำ� ดบั ในมรรควิธี ๑๑ ประการ ซึง่ พทุ ธธรรมจะ มีบทบาทสำ� คัญ และเรารู้วิธีออกจากโครงสร้างอำ� นาจดว้ ยสนั ติวิธี คือ การกอ่ ตวั ของกล่มุ เซลลส์ มอง ดงั กลา่ วในมรรคที่ ๕ ฉะนัน้ ปัญญาชนชาวพทุ ธ ท้ังพระและฆราวาส สามารถกอ่ ตัวข้ึน เป็นกลุ่มเซลล์สมองพุทธธรรมเพื่อสังคม หรือกลุ่มพุทธธรรมเพ่ือสังคม อยา่ งหลากหลาย เพอ่ื ขบั เคลอื่ นทฐิ ทิ ี่ถูกต้อง การตนื่ รู้ วธิ คี ดิ แบบทางสาย กลาง ชุมชนเขม้ แขง็ และอนื่ ๆ ทั้งนี้ด้วยความเคารพ ความเปน็ ทางการ ใหค้ วามไม่เป็นทางการ กับความเป็นทางการบรรจบกัน ซึ่งจะได้ทั้งความเป็นอิสระและการ สนับสนนุ จากระบบ ทำ� ให้มีพลังท่จี ะขบั เคล่ือนเรื่องใหญ่ไปสู่ความสำ� เรจ็ ในการนี้ต้องการสมรรถนะในการจัดการด้วย อย่าลืมว่า การ จดั การ คือ อทิ ธปิ ญั ญา ถ้าได้ภาคธุรกิจที่มีศรัทธาเข้าร่วมด้วยก็จะเพิ่มสมรรถนะในการ จัดการ ลองนึกผลที่จะเกิดขน้ึ ถา้ วัด ๓๐,๐๐๐ วดั มีการจัดการทีด่ พี รอ้ ม ทกุ ดา้ น หากวดั ทกุ วดั ในแตล่ ะอำ� เภอเขา้ รว่ มการขบั เคลอื่ นตาม “แผนและ ยุทธศาสตร์สร้างแผ่นดินสุขภาวะใน ๘๐๐ อ�ำเภอ ๘,๐๐๐ ต�ำบล ทั่ว ประเทศ” กับภาคีทั้งหลายที่ใช้การเรียนรู้ร่วมกันในสถานการณ์จริงเป็น เครื่องมือ เรือ่ งก็จะงา่ ยขึน้ เป็นอนั มาก เพราะการเรยี นรรู้ ว่ มกนั ในการปฏบิ ตั ใิ นสถานการณจ์ รงิ ท�ำให้ ทกุ ฝา่ ยฉลาดขึ้น และฉลาดรว่ มกนั ทิ ศ ท า ง อ น า ค ต ป ร ะ เ ท ศ ไ ท ย ฯ 59
“บัดนสี้ ถานการณเ์ ปลี่ยนแปลงไปมากแล้ว ตปอ้ระงปเทรศบั แเปลละโีย่ ลนกเวสกิน้ ฤทตาจงมนาสใดุ ชทท้ างฐิ เกทิ ่าถี่ กู ตอ้ ง วธิ ีคดิ ปัญญา และสงั คม ” 60 ป ร ะ เ ว ศ ว ะ สี
๑มรรควธิ ที ี่ ๑ระบบ ข้อมูลข่าวสาร และการสื่อสารท่ีท�ำให้รู้ ความจริงท่ัวถึง ระบบร่างกายมนุษย์ซ่ึงเป็นระบบที่ดีท่ีสุดในจักรวาล ท่ามกลาง ความหลากหลายสดุ ประมาณของเซลลแ์ ละอวัยวะต่างๆ ระบบร่างกายมีบูรณภาพสมบูรณ์ เป็นองค์รวมเดียวกันที่มี ดลุ ยภาพ มคี ณุ สมบตั อิ นั มหศั จรรยต์ า่ งๆ เหนอื วตั ถทุ เ่ี ปน็ องคป์ ระกอบของ ร่างกาย ระบบร่างกายใชห้ ลักการหลายอยา่ ง ท่เี ป็นเช่นน้นั ได้ อย่างหนงึ่ คือ ท้ังร่างกายเต็มไปด้วยข้อมูลข่าวสารและการสื่อสารที่ท�ำให้ระบบรู้ ความจริงถึงกนั ความหลากหลายตอ้ งมถี งึ ขนาดจงึ มชี วี ติ เกดิ ขน้ึ ถา้ มขี องเหมอื นๆ กนั เพียงอยา่ งเดยี วก็จะไมเ่ กิดมีชีวิต ทิ ศ ท า ง อ น า ค ต ป ร ะ เ ท ศ ไ ท ย ฯ 61
ฉะน้ัน ความหลากหลายจึงเป็นกฎธรรมชาติ เป็นความดี และ ความงาม อย่าไปปฏเิ สธความหลากหลาย แตท่ า่ มกลางความหลากหลาย เราตอ้ งการบรู ณภาพเปน็ องคร์ วม หน่งึ เดียวกนั ซ่ึงจะมีคณุ สมบัตใิ หมอ่ ันมหศั จรรยผ์ ดุ บังเกิดขึ้นดว้ ย สงั คม เช่นนจ้ี ะต้องมีระบบขอ้ มลู ข่าวสารและการส่ือท่ที ำ� ให้รู้ถึงกนั หมด แผ่นดนิ ทีท่ กุ คนมีศกั ดศ์ิ รี แหง่ ความเป็นมนษุ ย์ มีความ ถกู ต้อง เป็นธรรมและงดงาม ๑ อุดมการณส์ งู สดุ ประเทศไทย ๑๐ พลังทางศาสนา ๒ สัมมาทฐิ ิ ๓ วิธีคดิ ทางสายกลาง ๙ การเมืองใหม่ ๑๑ การส่ือสาร ๔ พลงั พลเมืองทตี่ น่ี รู้ ๘ การศึกษาใหม่ ๗ เศรษฐกิจใหม่ ๕ ปรับโครงสร้างอำ�นาจ ๖ สร้างพระเจดียจ์ ากฐาน ๑๒ สุขภาพคอื ทง้ั หมด ในรปู พระเจดยี แ์ หง่ การพฒั นาดว้ ยมรรควธิ ี ๑๒ ประการ จงึ เขยี น มรรควิธที ี่ ๑๑ ที่เรยี กสนั้ ๆ วา่ การสอ่ื สาร ไวต้ รงกลางพระเจดยี ์ 62 ป ร ะ เ ว ศ ว ะ สี
การสื่อสารที่ดีจะเช่ือมโยงให้เกิดและพัฒนาการของมรรคทุก มรรค ประเทศไทยยังขาดการคิดใหญ่และลงทุนในระบบการส่ือสาร อย่างสมบูรณ์ จ�ำเปน็ ทจี่ ะตอ้ งมคี นไทยจ�ำนวนหนึ่งท่มี จี ินตนาการใหญ่ มี ฉันทะและวิริยะอย่างแรงกล้า ก่อตัวกันข้ึน (self-organized) เพ่ือขับ เคลอื่ นระบบการสอ่ื สารทคี่ รบถว้ นสมบรู ณใ์ นการสรา้ งสงั คมทถี่ กู ตอ้ งเปน็ ธรรม ถา้ การขับเคลื่อนนจี้ ะใช้งบประมาณสกั ปีละ ๑๐,๐๐๐ ลา้ นบาท ก็ไม่นับว่ามาก อาจมาจากกองทนุ ทส่ี ำ� นกั งาน กสทช. ก็ได้ การที่เน้นการเร่ิมต้นด้วยการก่อตัวข้ึนมาเองก่อนน้ัน เพ่ือให้ได้ ของจริงท่มี คี ุณภาพ ถ้าองค์กรใหมเ่ รมิ่ ต้นดว้ ยค�ำส่งั แต่งตง้ั มักจะผิดฝาผดิ ตัว คนท่ีอยากได้รับการแต่งตั้งหรือแสวงหาการแต่งต้ัง มักไม่ได้มี ฉนั ทะวริ ิยะและคุณสมบัติเหมาะสมทจ่ี ะทำ� สง่ิ นน้ั แต่ผู้ท่ีก่อตัวกันขึ้นมาเองโดยไม่มีอ�ำนาจและเงิน มักจะเป็นของ จรงิ คอื เปน็ ผมู้ ีความฝนั ใหญ่ มฉี นั ทะวริ ิยะอยา่ งแรงกลา้ ทจี่ ะทำ� สง่ิ นนั้ เมือ่ มกี ลมุ่ อย่างน้เี กิดขึน้ แล้ว จึงมีระบบเข้ามารองรบั องค์กรนน้ั ก็จะมที ้ังปัญญาและพลังงานหนุนหลงั ให้ขบั เคลอ่ื นไปสคู่ วามส�ำเร็จ ระบบการสอ่ื สารทส่ี มบรู ณท์ ก่ี ลา่ วถงึ น้ี รวมการสอ่ื สารทกุ ประเภท ทกุ ชอ่ งทาง ท้งั ทางสื่อส่งิ พมิ พ์ วทิ ยุ โทรทศั น์ ดจิ ทิ ลั และสื่อผ่านศลิ ปะ ทุกประเภท ซงึ่ รวมถึงละครและภาพยนตร์ ถา้ เรามภี าพยนตรด์ ๆี ฉายให้ ดกู นั ทุกตำ� บลจะเกดิ อะไรขน้ึ ทิ ศ ท า ง อ น า ค ต ป ร ะ เ ท ศ ไ ท ย ฯ 63
การสร้างและทะนุบ�ำรุงนักเขียนและผู้สื่อข่าวที่มีคุณภาพ ก็มี ความสำ� คัญยิ่ง แต่ถกู ทอดทิง้ ใหค้ ้ยุ เขย่ี หากนิ เอง ลม้ ลกุ คลุกคลาน ในอดีตที่ผ่านมา เพราะไม่ได้คิดถึงเครื่องมือเชิงสถาบันเพ่ือ ทะนุบำ� รุงนักขา่ วและนักเขยี น ขอใหค้ นไทยคดิ ใหญ่ และเอาจรงิ ในการสรา้ งระบบขอ้ มลู ขา่ วสาร และการสอ่ื สารทส่ี มบรู ณ์ เพอื่ ขบั เคลอื่ นประเทศไทยยคุ ใหมไ่ ปสศู่ รอี ารยิ ะ ยคุ ถ้ามรี ะบบการสือ่ สารทด่ี ที กุ อยา่ งจะง่ายขน้ึ หลายเทา่ ตวั 64 ป ร ะ เ ว ศ ว ะ สี
๑๒มรรควิธที ่ี สุขภาพ ท้ังหคือมด สขุ ภาพ คอื สขุ ภาวะทส่ี มบรู ณ์ ทง้ั ทางกาย ทางจติ ทางสงั คม และ ทางปญั ญา จงึ มคี วามหมายทก่ี วา้ งและครอบคลมุ มาก ไมใ่ ชเ่ รอ่ื งของมดหมอ หยูกยาและโรงพยาบาลเท่านน้ั แต่บรู ณาการอย่ใู นการพัฒนาท้งั หมด จึงมคี ำ� กล่าวว่า “สขุ ภาพ คือ ท้งั หมด” หรอื Health is the whole แต่ความเขา้ ใจเช่นนย้ี ังมีน้อย คงม่งุ ไปเฉพาะเร่ืองมดหมอหยกู ยา และโรงพยาบาลเทา่ นั้น วกิ ฤตโควดิ คราวนแี้ สดงใหป้ ระจกั ษอ์ ยา่ งโจง่ แจง้ วา่ “สขุ ภาพ คอื ท้งั หมด” ทิ ศ ท า ง อ น า ค ต ป ร ะ เ ท ศ ไ ท ย ฯ 65
เพราะฉะนนั้ ถา้ มกี ารพฒั นาตามมรรควธิ ที ้งั ๑๑ ประการทกี่ ลา่ ว ไปแล้ว ผลคือ สุขภาพหรือสุขภาวะของคนทั้งมวล และในฐานะท่ีระบบ สขุ ภาพแขง็ แรงกวา่ ระบบอนื่ ๆ ดงั ทกี่ ารเผชญิ วกิ ฤตโควดิ ของประเทศไทย ได้รับการให้คะแนนจากองค์กรระหว่างประเทศวา่ ดีเป็นท่ี ๑ ในโลก ระบบสาธารณสุขไทยมีโครงสร้างท่ีครอบคลุมท่ัวถึง มีบุคคลท่ีมี คุณภาพ มนี ักวิชาการ และสถาบันทางวิชาการสนบั สนนุ จำ� นวนมาก นอกจากนน้ั ยังมีการสร้างองคก์ รของรฐั ทีเ่ ป็นอิสระมาสนับสนนุ ระบบและนวัตกรรม เช่น สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) ส�ำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) สํานักงาน หลกั ประกนั สขุ ภาพแหง่ ชาติ (สปสช.) สำ� นกั งานคณะกรรมการสขุ ภาพ แหง่ ชาติ (สช.) ทำ� หนา้ ทพ่ี ฒั นานโยบายสาธารณะ ดงั ทจ่ี ดั สมชั ชาสขุ ภาพ แห่งชาตมิ ากว่า ๑๐ ปี ทั้งหมดน้ีเกิดขึ้นโดยกฎหมาย ความเป็นอิสระ และการมีงบ ประมาณทค่ี ลอ่ งตวั ขององคก์ รเหลา่ นี้ ท�ำใหส้ ามารถปรบั ตวั ไดร้ วดเรว็ ตาม สถานการณ์ และมนี วัตกรรมสงู ท่รี ะบบราชการทำ� ได้ยาก โดยรวมท�ำให้ ระบบสขุ ภาพไทยมีสมรรถนะสูง (ขอ้ สังเกต คอื พวกหมอไมไ่ ดว้ เิ ศษเหนอื คนอื่น แต่ธรรมชาติของงาน คือต้องดูแลผู้ป่วยเจ็บเฉพาะหน้า ท�ำให้ต้องเป็นที่เรียกว่า action-oriented และเรยี นรจู้ ากการปฏบิ ตั จิ รงิ การเรยี นรจู้ ากการปฏบิ ตั จิ รงิ ทำ� ใหแ้ ขง็ แรง ขณะ ทีร่ ะบบการศึกษาท่วั ไปเนน้ การเรยี นจากการ “ทอ่ งวิชา” จงึ ไมร่ ูค้ วามจรงิ และ ไม่แขง็ แรง) การขับเคล่ือนเพ่ือสุขภาวะของคนทั้งมวล ได้ด�ำเนินมานานพอ สมควร จนกลุ่มผู้ขับเคลื่อนมีความม่ันใจที่จะเรียกว่าเป็น “การเดินทัพ ทางไกลเพอ่ื คนจน” (Long March For The Poor) และเนอื่ งจากเป็น 66 ป ร ะ เ ว ศ ว ะ สี
การทำ� อย่างเงียบๆ ไม่ได้โต้เถยี งตรี ันฟนั แทงกบั ใครๆ ในเร่ืองอดุ มการณ์ บางทีจงึ มกี ารเรียกวา่ เปน็ “การปฏวิ ัติเงยี บ” (Silent revolution) อนั เกดิ จากความเชอื่ วา่ การเปลยี่ นแปลงเกดิ ขนึ้ ไดด้ กี วา่ จากงานพฒั นา ไมใ่ ช่ วาทกรรมหรอื การโค่นลม้ ทำ� ลาย ระบบสุขภาพท้ังหมด ควรร่วมเป็นภาคีกบั คนและองค์กรทง้ั หมด ทขี่ บั เคลอื่ นมรรควธิ ที ี่ ๑ ถงึ ที่ ๑๑ รวมกนั ทง้ั หมดเปน็ ๑๒ มรรค รว่ มสรา้ ง ประเทศไทยทีม่ ีความถูกต้องเป็นธรรมและงดงาม ประเทศไทยทถี่ กู ตอ้ งเปน็ ธรรม กค็ อื ประเทศทม่ี สี ขุ ภาวะสมบรู ณ์ ท้ังทางกาย ทางจติ ทางสังคม และทางปญั ญา ทิ ศ ท า ง อ น า ค ต ป ร ะ เ ท ศ ไ ท ย ฯ 67
พจนะท้ายบท คนทุกคนมีศักดิ์ศรีแห่งความเป็นมนุษย์ และ ศกั ยภาพอยใู่ นตวั ควรจะมชี วี ติ ทเ่ี ปน็ สขุ และสรา้ งสรรค์ แตด่ ว้ ยระบบและโครงสรา้ งตา่ งๆ ในสงั คมตลอดจนมายาคตติ า่ งๆ ทำ� ใหค้ นสว่ นใหญ่ดอ้ ยศกั ด์ศิ รี ด้อยศักยภาพ ดว้ ยโครงสร้างอ�ำนาจท�ำให้ ปดิ พ้นื ท่ีทางสังคมและพื้นที่ทางปญั ญา คนท้ังหลายที่มีความรู้และประสบการณ์บางอย่างในตัว และมี หวั ใจเพอื่ เพอื่ นมนษุ ย์ ตอ้ งการทำ� อะไรดๆี เพอ่ื สว่ นรวม กไ็ มส่ ามารถท�ำได้ เพราะการปิดพื้นที่ทางสังคมและพ้ืนที่ทางปัญญา ท�ำให้อึดอัดขัดข้องอยู่ ทั่วไป เกดิ สภาพท่ีว่า คนไทยเหมือนไก่อย่ใู นเขง่ จกิ ตกี ันร�่ำไป แตถ่ ึงจะ จกิ ตกี นั จนเลือดตกยางออกหรอื ถึงตาย ก็ไมส่ ามารถออกจากสภาวะที่คมุ ขงั เขาไว้ นีค้ ือสงั คมทุกขภาวะและอวชิ ชาทด่ี ำ� รงอยู่ ทศิ ทางอนาคตประเทศไทยหลงั โควดิ ทน่ี ำ� เสนอนี้ เปน็ เสน้ ทางใหม่ ทป่ี ระกอบด้วยทฐิ ิทสี่ อดคลอ้ งกบั ความจรงิ ตามธรรมชาติ วิธีคิดทางสายกลางหรอื สายปัญญา คอื สาเหตุแหง่ ความเปน็ เหตเุ ปน็ ผลโดยไมแ่ ยกขา้ งแยกขว้ั รว่ มสรา้ งประเทศไทยทม่ี คี วามถกู ตอ้ ง เป็นธรรมอยา่ งสมบูรณ์ ด้วยการเรยี นร้รู ่วมกนั ในการปฏบิ ตั ิ (Interactive learning through action) ในสถานการณจ์ รงิ ซงึ่ กค็ ือ การเปดิ พน้ื ทที่ าง สังคม และพ้นื ท่ีทางปัญญาอย่างกวา้ งขวางท่ีสดุ 68 ป ร ะ เ ว ศ ว ะ สี
การเปิดพื้นที่ทางสังคมและพ้ืนท่ีทางปัญญาอย่างกว้างขวาง จะ ท�ำให้คนไทยทุกคนมีความสุขอย่างลึกลำ้� ไม่ส�ำคัญว่าท่านจะสวยหรือไม่ ผวิ ดำ� หรือผิวขาว รวยหรอื จน เยาวห์ รอื ชรา แต่ทา่ นมหี วั ใจเพ่ือเพ่อื นมนุษย์ และมีอสิ ระในการทำ� เรื่องทท่ี า่ น รักและถนัดท่ีจดุ ใดจดุ หน่งึ ในสังคม จะมากหรอื น้อย จะท�ำคนเดยี ว หรือ รวมตัวร่วมคิดร่วมท�ำกับคนที่ถูกใจ ย่อมเป็นไปได้ท้ังสิ้น และท่านจะมี ความสุขประดจุ บรรลุนิพพาน เส้นทางทเี่ สนอน้ี ข้าพเจา้ ม่นั ใจว่าเป็น “มหาสนั ติวรบท” หรือ ทางใหญอ่ นั ประเสรฐิ ทสี่ นั ติ ทป่ี ระเสรฐิ เพราะเปน็ ทางสายปญั ญาและสนั ติ เป็นทางที่จะปลดปล่อยคนทั้งมวลไปสู่อิสรภาพ ความมีศักด์ิศรี ความมี ศกั ยภาพ และความสุขประดุจบรรลุนิพพาน เป็นพลังมหาศาลท่ีจะสร้างประเทศไทยให้เป็นดินแดนแห่งความ ถกู ตอ้ ง เปน็ ธรรม และงดงาม เพอ่ื การอยรู่ ว่ มกนั อยา่ งสนั ตสิ มดลุ และเปน็ ตวั อย่างกบั โลก ขอความสวัสดจี งมีแก่ประเทศไทย ประเวศ วะสี ทิ ศ ท า ง อ น า ค ต ป ร ะ เ ท ศ ไ ท ย ฯ 69
บั น 70 ป ร ะ เ ว ศ ว ะ สี
ทึ ก ทิ ศ ท า ง อ น า ค ต ป ร ะ เ ท ศ ไ ท ย ฯ 71
“หากทา่ นไดร้ บั ผลดี จากหนังสือเลม่ น้ี ขอให้ทา่ นมกี �ำลงั ใจ ทจ่ี ะทำ� ความดเี พ่ือผอู้ น่ื ”ต่อไปมากย่ิงๆ ขนึ้ 72 ป ร ะ เ ว ศ ว ะ สี
Search