ศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อาเภอกระสงั
นอ้ ยหนา่ (Custard Apple/Sugar Apple) จดั เป็นผลไม้ชนิดหนึง่ ทน่ี ยิ ม บริโภคเปน็ อยา่ งมาก เนือ่ งจากมเี นอ้ื นุม่ หอมหวาน และใหเ้ นื้อมาก นอกจากนน้ั ส่วนอ่ืนๆของน้อยหนา่ อาทิ เมล็ด ใบ เปลือก ราก และลาตน้ ยังสามารถนามาใช้ เป็นสมนุ ไพรรกั ษาโรค รวมถงึ การใชป้ ระโยชน์ในด้านการเกษตรได้หลายทาง นอ้ ยหนา่ เป็นไม้ทรงพุ่มขนาดเลก็ มีถน่ิ กาเนดิ ในแถบรอ้ นของทวีปอเมริกากลาง นาเขา้ มาปลกู ในประเทศแถบเอเชยี ครัง้ แรกโดยชาวสเปน และชาวโปรตุเกส สว่ นใน ประเทศไทยมกี ารนาเข้านอ้ ยหนา่ ครั้งแรกในสมัยลพบรุ ี ปจั จุบันการ ปลูกนอ้ ยหนา่ ในประเทศไทยมอี ยู่หลายชนิดดว้ ยกนั และมีชอื่ เรยี กแตกต่าง กันในแต่ละท้องถิน่ เช่น ภาคกลาง เรยี ก น้อยหนา่ ภาคตะวนั ออก เรียก นอแฟ, มะนอแฟหรือมะแฟ ภาคอีสาน เรียก มกั เขยี บ ภาคใต้ เรียก นอ้ ยแน่ ลาหนัง (ปัตตานี) ช่อื อ่นื ๆ เตียม, นอ้ ยแน่, มะลอแน,่ มะออจ้า สว่ นประเทศเขมรเรียก น้อยหน่าว่า เตียบ
เนอ่ื งจากการปลูก น้อยหนา่ นยิ มใช้เมลด็ จึงทาใหเ้ กดิ การกลายพันธ์ไุ ด้ ง่าย น้อยหนา่ ในประเทศไทย แบ่งเป็น 2 พนั ธุ์ใหญ่ๆ ได้แก่ พันธพุ์ ืน้ เมอื งหรือพันธ์ุ ฝา้ ย และพนั ธน์ุ ้อยหนา่ หนงั มีแหลง่ ปลกู ท่ีสาคัญได้แก่ นครราชสีมา ลพบรุ ี และ สระบุรี ลกั ษณะทางพฤกษศาสตร์ 1. ลาต้น นอ้ ยหน่าจัดเป็นไม้ผลยนื ตน้ ผลดั ใบ มีทรงพุ่มขนาดเลก็ ลาตน้ แทส้ งู ประมาณ 1 เมตร และจะแตกกง่ิ กา้ นออกเป็นกิง่ หลกั ก่งิ รอง กง่ิ แขนง และกง่ิ ยอ่ ย โดยจะแตกกง่ิ อยูใ่ นระดับต่าถัดจากลาตน้ แท้ การแตกก่งิ จะไมเ่ ปน็ ระเบียบ ลาตน้ และทรงพมุ่ อาจสงู มากกวา่ 5 เมตร ลักษณะเปลือกลาตน้ บาง ผิวเปลือกสากหยาบ สี น้าตาลถึงดา 2. ใบ ใบน้อยหน่าจัดเปน็ ใบเด่ียว ออกเรยี งสลบั กันบนก่งิ สใี บเมือ่ ออ่ นจะออกสี ขาวปนเขียว ใบแกจ่ ะออกสเี ขียวเข้มปนน้าตาล มีลกั ษณะใบเปน็ รปู หอก ปลายใบ แหลมหรือค่อนขา้ งเรยี วแหลม ส่วนโคนใบก็มลี ักษณะเปน็ รูปลมิ่ เม่ือนามาขยีจ้ ะมกี ลน่ิ เฉพาะตัว 3. ดอก ดอกนอ้ ยหน่าจะแทงออกเปน็ ตาดอกตามกง่ิ ทั้งกิ่งแกห่ รือสว่ นของลาตน้ ซ่ึงมกั จะออกดอกในฤดใู บไมผ้ ลหิ ลังจากผลดั ใบแล้ว หรอื ในช่วงต้นฤดฝู น หลังไดร้ บั ความชน้ื หรอื น้าแล้ว ดอกของนอ้ ยหน่าจะแทงออกเป็นกลมุ่ ๆ ละ 2-5 ดอก บรเิ วณจดุ เดยี วกนั ต้นน้อยหน่าขนาดกลางหนง่ึ ต้นจะออกดอกประมาณ 1,000-1,500 ดอก
ดอกจัดเป็นดอกแบบสมบูรณ์เพศท่ีมีดอกตัวผู้ และดอกตัวเมียในดอก เดียวกัน ดอกมีสีน้าตาลปนขาว ดอกเกสรตัวผู้จะมีก้านช่อ และกระเปาะละอองเกสร รวมกันอยู่รอบเกสรตัวเมีย ท่ีมีรังไข่ 1 อัน การผสมเกสรจะผสมแบบผสมข้าม เนื่องจากเกสรมคี วามพรอ้ มในการผสมไมพ่ ร้อมกนั ซง่ึ การผสมเกสรจะติดดีในช่วงเวลา 9.00-12.00 น. และอีกช่วง 14.30-17.30 น. มีระยะผลิดอกถึงดอกบานประมาณ 31-45 วันขนึ้ อยู่กบั ความอดุ มสมบรู ณข์ องดิน และปจั จยั การดูแลรักษา ดอกน้อยหน่าในระยะดอกตูมที่แล้วบานจะอยู่ได้ 3-4 วัน ซ่ึงจะบานท้ัง กลางวนั และกลางคืนโดยดอกจะบานจากปลายกลีบดอกสู่ส่วนโคนดอก เมื่อดอกบาน เตม็ ทจ่ี ะเหน็ เกสรตัวเมีย และเกสรตัวผู้อย่างชัดเจน การบานของดอกจะบานมากหรือ น้อยข้ึนอยู่กับความช้ืน หากมีความช้ืนสูงดอกจะบานมาก ส่วนอุณหภูมิต่า ดอกจะ บานไดด้ กี ว่าอณุ หภมู ิสงู
4. ผล ผลมลี ักษณะเปน็ ผลรวม เกิดจากดอกเดียว แตป่ ระกอบดว้ ยรงั ไข่หลาย อัน หลงั จากท่ีผสมเกสร และเตบิ โตสกั ระยะจะเห็นมเี มลด็ อยู่ในรังไข่ 1 เมลด็ ใน แต่ละรังไข่ โดยมีเนื้อของน้อยหนา่ ท่ีเป็นส่วนรบั ประทานจะเปน็ สว่ นทีเ่ จรญิ ท่ีด้านใน และผนงั ของรงั ไข่จะเจรญิ ไปเปน็ เปลือก ซ่งึ จะมรี ปู รา่ ง และขนาดของผลแตกตา่ งกัน ไปตามพันธุ์ และการดแู ล โดยมากผลจะมีลักษณะกลมรี ขน้ึ อยู่กับพนั ธ์ุ และการ ดแู ลรักษา ผวิ เปลอื กนอ้ ยหนา่ จะมีลักษณะเป็นตานูน มสี ีเขียว และเขียวอ่อนแกม เหลืองเมอื่ สกุ เนื้อจะมลี กั ษณะนุ่ม ชุม่ น้า มรี สชาติหวาน หอม สารสาคัญทพ่ี บ เมล็ดน้อยหนา่ มีสารทเ่ี ป็นน้ามันประมาณ 45 เปอรเ์ ซ็นต์ มีโปรตนี ใน เมล็ดประมาณ 14.2 เปอรเ์ ซ็นต์ เม่ือสกัดด้วยเฮกเซนจะไดน้ ้ามันท่ีประกอบด้วย free fatty acid 3.7 เปอรเ์ ซน็ ต์ และสารประกอบทีเ่ ปน็ น้ามันหอมระเหย นอกจากน้นั ในเมล็ดน้อยหน่ายังประกอบดว้ ยสารสาคญั หลายชนิด เชน่ acetylcholine, annonastatin, alkaloids, annacins, annonin I (squamocin), annonaine, annonin VI, carbohydrate, citric acid และ enzyme สว่ นกลุม่ ของไขมัน ไดแ้ ก่ ไขมัน, glycoside, linoleic acid, neoannonin , oleic acid และ palmitic acid ในกลมุ่ ของโปรตนี ไดแ้ ก่ เรซนิ , β– sitosterol, steroid และ stearic acid
– เมลด็ : Alkaloid, Glycosides, Steroid, Resins มีน้ามนั 45% Anonanine, Anonaine – เปลอื ก : Alkaloid anonaine – ใบ : Hydroyanimic acid, Anonaine – ราก : Hydroyanicmic acid สารประกอบในสว่ นของเมลด็ ทสี่ าคญั และนิยมนามาใชป้ ระโยชน์ คอื สาร annonaine ทม่ี มี ากถงึ 45 เปอร์เซ็นต์ ดเป็นสารในกล่มุ isoquinolone ซง่ึ สาร annonaine ประกอบดว้ ย organic acid, resin, steroid และ alkaloid โดยสาร alkaloid ถอื เปน็ สาร annonaine ท่เี ป็นอินทรีย์สารท่ีมี ไนโตรเจนเปน็ องค์ประกอบ (organic nitrogen compound) มคี ุณสมบตั ิ เด่น คือ มีรสขม ไม่ละลายนา้ ละลายได้ในสารละลายอนิ ทรีย์ (organic solvent) ทเ่ี ปน็ ดา่ ง ประโยชน์นอ้ ยหนา่ 1. การใช้ประโยชนท์ ว่ั ไป นอ้ ยหนา่ ถือเป็นผลไมท้ ีน่ ิยมรับประทาน มีเน้อื มาก เนือ้ นุ่มหวาน มรี ส หอม เนอื้ น้อยหน่ามคี ุณค่าทางโภชนาการสูง ในนอ้ ยหน่า 1 ผล จะประกอบด้วยนา้ (73.5%), คารโ์ บไฮเดรท(23.9%) โปรตีน(1.6%), ไขมัน(0.3%), แคลเซียม( 0.02%), ฟอสฟอรสั (0.04%) ธาตุเหลก็ และวิตามนิ ซี
คุณค่าทางโภชนาการโดยเฉลี่ยของน้อยหน่า ( ตอ่ ส่วนทบี่ รโิ ภคได้ 100 กรัม ) – โปรตีน 1.4 กรัม – ไขมนั 0.2 กรมั – คารโ์ บไฮเดรท 21.4 กรมั – ไฟเบอร์ 1.2 กรมั – แคลเซียม 7.0 มิลลกิ รัม – ฟอสฟอรัส 27.0 มิลลิกรมั – เหลก็ 0.4 มิลลิกรมั – วติ ามิน เอ 21 ไอ. ยู – วติ ามิน บี 1 0.09 มิลลกิ รัม – วติ ามนิ บี 2 0.09 มิลลิกรมั – ไนอาซีน 1.0 มลิ ลิกรัม – วติ ามิน ซี 107.0 มลิ ลิกรมั 2. ยาสมนุ ไพร การใช้น้อยหนา่ เปน็ ยาสมนุ ไพรเพอ่ื รกั ษาโรค พบวา่ มกี ารนาสว่ นต่าง ๆ ของน้อยหน่ามาใช้ เช่น ราก นามาต้มนา้ ดม่ื เป็นยาระบาย, เปลือกนามาฝนกับหินใช้ เปน็ ยาสมานแผล, ใบ ใช้เป็นยาฆ่าเช้อื โรค ขบั พยาธลิ าไส้ โดยนามาโขลกใหล้ ะเอียด ใชพ้ อกแกฟ้ กช้า รักษาโรคกลาก เกลอ้ื น และโรคผวิ หนังอื่นๆ รวมถึงช่วยในการรกั ษา แผล, เมล็ด และใบ ใชเ้ ปน็ ยาฆา่ เหา (โดยนาเมลด็ 10 เมล็ด หรอื ใบสด 1 กามอื หรืออยา่ งใดอยา่ งหนงึ่ มาตาให้ละเอยี ดผสมน้ามนั พชื 1-2 ช้อนโต๊ะ แล้วนามาชโลมผม ใหท้ วั่ ใช้ผ้าคลมุ โพกไว้ประมาณคร่งึ ชว่ั โมง แลว้ จึงลา้ งออก) นอกจากน้นั เมลด็ สามารถนามาสกัดเอานา้ มนั ทาสบู่หรือใชป้ ระโยชนใ์ นด้านบารุงผิวหรอื ความสวย ความ งาม สว่ นกากท่เี หลอื สามารถทาปุ๋ยได้
3. ยาป้องกนั และกาจดั ศตั รพู ชื การใช้เปน็ ยาป้องกนั และกาจัดแมลงศัตรูพืช นยิ มนาส่วนของเมล็ด และ ใบมาใช้ โดยนาเมล็ด 1 กิโลกรัม มาบดใหล้ ะเอยี ด ผสมกบั น้า 20 ลติ ร และแช่ ท้งิ ไวป้ ระมาณ 1-2 วนั จากน้นั กรองเอาน้าไปฉีดพน่ ในแปลงเกษตร นา้ หมกั ทีไ่ ด้มี ฤทธ์ปิ ้องกัน และกาจดั เพล้ยี ออ่ นได้ จากรายงานการ ศกึ ษาโครงการสารวจวทิ ยาการทดแทนสารเคมี (2531) พบวา่ เม่ือนาเมลด็ น้อยหนา่ บดละเอยี ดครงึ่ กโิ ลกรัม ผสมน้าแล้วนาไปตม้ สามารถฆ่า แมลงวันทองตายได้ 50% ขณะทีน่ ้าจากเปลอื กสดทาให้แมลงวันทองตาย 73 % ภายใน 24 ชั่วโมง แสงแข นา้ วานิช (2542) ศึกษาพบว่า สารสกัดจากเมล็ดน้อยหนา่ ท่ี ความเข้มข้น 5 และ 10 %(w/v) สามารถควบคุมด้วงงวงขา้ วโพดได้ และมี ประสิทธิภาพควบคมุ การเกิดในลกู รนุ่ F1 ของด้วงงวงขา้ วโพดได้ Norman and Nuntawan, (1992) รายงานขอ้ มลู ด้านประสิทธผิ ลของสารสกัด จากเมล็ดนอ้ ยหนา่ ดงั น้ี – ออกฤทธเ์ิ ป็นยาฆ่าแมลง โดยเมล็ดน้อยหนา่ ตากแห้งที่สกดั ดว้ ยอีเธอร์ มีผลยับยัง้ ตัว เต็มวัยของ Musca nebulo และ Tribolium castaneum โดยมีคา่ LD50 เทา่ กับ 0.09 % และ 0.22 % ตามลาดบั – สามารถยับย้งั การเจริญเตบิ โตในระยะตัวหนอน และระยะไขข่ องผีเสอ้ื ไหม มีคา่ LD50 เทา่ กบั 0.20 % และ 0.14 % ตามลาดบั สารสกดั จากเมลด็ น้อยหนา่ ยัง สามารถกาจดั เพล้ยี จกั จน่ั สเี ขยี ว ทใี่ ช้ความเขม้ ขน้ 5, 10, 20, 30 และ 50 เปอร์เซน็ ต์
– สาร annonaine และ neoannonin ซงึ่ สกดั ได้จากสว่ นของเมลด็ นอ้ ยหน่ามี ความเปน็ พิษสูงตอ่ ไข่ ตัวออ่ น และตวั เตม็ วยั ของแมลงวนั ผลไม้ (Drosophilla melanogaster) สรรพคุณน้อยหนา่ ราก ใช้เป็นยาระบาย ถอนพษิ เบ่ือเมา ทาให้เกิดการอาเจียน และแก้พษิ งไู ด้ เปลือกต้น และเนอ้ื ไม้ เปลือกต้นแกฟ้ กช้าบวม แก้กลาก เกลื้อน มฤี ทธิ์ฆ่าพยาธิผวิ หนงั ขบั พยาธิลาไส้ ฆา่ เหาแก้หิด เส้นใยของเปลือกใช้ทากระดาษ สว่ นเน้ือไม้มสี เี หลืองของ สาร Morin ใชย้ ้อมผ้าไหม ผ้าแพรหรอื ผ้าอ่นื ๆ ผล และส่วนของเปลอื กผล ใช้แก้พิษงู แกฝ้ ีในคอ ขบั พยาธิ ฆ่าพยาธิผิวหนัง หรอื ใช้กนิ สดหรอื ต้ม นา้ หรือเช่ือมกินก็ได้ เป็นยาเยน็ ยาระบายอ่อนๆ แก้ธาตไุ ม่ปกติ ขบั เสมหะ ลด เสมหะ เมล็ด เป็นยาฆา่ เหา ฆ่าพยาธิตวั จี๊ด และแก้บวม สกัดเอาน้ามนั มาใช้ ประโยชน์ ใบ ใชใ้ บออ่ นหรอื ใบแก่ ทาเป็นชาเขียวสาหรับชงน้าดืม่ ชว่ ยลดน้าตาลใน เลือด ลดไขมันในเส้นเลอื ด ชว่ ยลดความดนั โลหติ เปน็ ยาขบั เหง่อื แก้ไข้ ทายาตม้ ใช้อมแก้คอเจบ็ แกไ้ อ ทาใหเ้ ยอื่ ชมุ่ ชืน่ นอกจากน้ัน ยงั ใชเ้ ล้ยี งไหม หรอื นาใบ ออ่ นปรงุ เป็นอาหาร
สาร alkaloid มปี ระโยชน์ในการรกั ษาโรคได้หลายอยา่ ง เชน่ ใชเ้ ป็นยา ระงับปวดยาชา ใชเ้ ป็นยาแก้ไอ ยาแกห้ อบหืด ยารกั ษาแผลในกระเพาะ และลาไส้ ยาลดความดัน ยาควบคมุ การเตน้ ของหัวใจ เปน็ ต้น ณรงค์ จงึ สมานญาติ (2539) ศึกษาพบวา่ เมลด็ น้อยหนา่ ท่ีบดเป็นผง แลว้ แชด่ ้วยนา้ ผสมแอลกอฮอล์ 10% (แอลกอฮอล์ 95% 1 ขวด ผสมน้า 9 ขวด) ให้ ทว่ มผงเมลด็ น้อยหนา่ เล็กน้อย โดยแชท่ ิ้งไว้หนึง่ คนื แล้วกรองเอาสว่ นนา้ สาหรับเป็นหัว เช้อื กอ่ นใชจ้ ะผสมนา้ หรือแอลกฮอล์ 10 % ประมาณ 6 เท่า แล้วใชฆ้ ่าเหบ็ ด้วยการ ฉดี พน่ ท่ีตวั เห็บ ซึ่งพบว่าสามารถฆา่ ไดท้ ั้งเห็บตวั ออ่ น เหบ็ ตัววัยรนุ่ และเห็บตัวแก่ ปอง ทิพย์ และ ปิยธิดา (2540)ไดท้ าการทดสอบฤทธิใ์ นการฆา่ เหาของ สารสกดั เมล็ดน้อยหนา่ ทสี่ กดั ดว้ ยปิโตรเลียมอีเธอร์ พบว่า สารสกดั ท่คี วามเขม้ ข้น 5 เปอร์เซ็นต์ สามารถฆ่าเหาใหต้ ายได้หมดในเวลา 60 นาที นอกจากน้ี สารสกดั จาก เมล็ดน้อยหน่าที่ความเข้มขน้ 150 มิลลิกรมั /ลติ ร มฤี ทธ์ิกระตุ้นมดลกู หนูตะเภา และที่ ความเข้มข้น 0.3 มลิ ลิกรัม มีฤทธใ์ิ นการบบี มดลูกไดเ้ ท่ากับ oxytocin ความเปน็ พษิ ขอ้ งนอ้ ยหนา่ สารสกดั เมล็ดน้อยหน่าจากอีเธอร์สามารถทาใหต้ าของกระตา่ ยบวม และสร้างความเป็น พิษตอ่ ตาทีค่ วามเข้มข้น 50 มลิ ลิกรัม/ลติ ร และทดสอบกบั ผิวหนังกระต่าย เมอ่ื เปรียบเทียบความเป็นพษิ จากสารสกดั ต่างๆ พบว่า สารสกดั จากเมล็ดน้อยหนา่ ทส่ี กดั จากตวั ทาละลายชนดิ ตา่ งๆ ใหค้ วามเปน็ พิษตา่ งกนั โดยสารสกัดทใี่ หค้ วามเปน็ พษิ มาก ไปถงึ น้อยทสี่ ุด คอื ปิโตรเลียมอีเธอร์ อีเธอร์ คลอโรฟอร์ม และเอธานอล ตามลาดับ
การปลกู นอ้ ยหนา่ การปลกู น้อยหนา่ นยิ มปลกู ด้วยการเพาะเมล็ดมากที่สดุ รองลงมาเปน็ การ ปลูกจากกิ่งพนั ธตุ์ อนทีต่ อ้ งการให้ผลเหมอื นตน้ แมพ่ นั ธ์หุ รอื ต้องการรกั ษาตน้ แมใ่ ห้ เพ่ือให้ผลนามาขยายพนั ธุ์จากเมล็ดตอ่ พันธุน์ ้อยหนา่ น้อยหนา่ ในประเทศไทยนิยมปลกู โดยการใช้เมลด็ จงึ ทาใหเ้ กดิ การกลายพันธ์ุจากพนั ธ์ุ เดมิ ไดง้ ่าย การแบ่งแยกพันธนุ์ ้อยหนา่ จะดจู ากลักษณะของสีผิว สีเน้ือ สขี องใบ แบ่ง ตามลกั ษณะของผลทง้ั ภายในและภายนอก เปน็ 2 พนั ธุ์ คือ 1. นอ้ ยหนา่ พ้นื เมืองหรอื นอ้ ยหนา่ ฝ้าย มี 2 สายพันธุ์ ตามลกั ษณะของผล คือ นอ้ ยหน่าฝา้ ยเขียวท่ีมีผลสเี ขยี ว และน้อยหน่าฝ้ายครัง่ ท่ีมีผลสมี ว่ งเขม้ 2. นอ้ ยหนา่ หนงั หรือน้อยหนา่ ญวน มี 3 สายพนั ธุ์ คือ – น้อยหน่าหนงั เขียว จะมผี ลสีเขียว – น้อยหนา่ หนงั ทอง ที่เกิดจากการกลายพันธ์ุของนอ้ ยหน่าหนังเขยี วจากการการเพาะ เมล็ด โดยผลจะมีสเี หลอื งทอง – นอ้ ยหนา่ หนงั ครง่ั ที่เกดิ จากการกลายพนั ธ์ุของนอ้ ยหน่าหนังเขียวจากการการเพาะ เมล็ดเช่นเดียว กบั หนงั ทอง โดยมผี ลสมี ว่ งเขม้ คล้ายนอ้ ยหน่าฝา้ ยคร่งั
ส่วนพันธุ์ นอ้ ยหนา่ ในต่างประเทศ เช่น พันธุ์ Washington, Balangar, Barbados, British Guiana, Crimson, Kakarlapahad, Mammoth, Red-specked, และ White-stemmed เป็นต้น (Morton, 1987b) ในฟลอริดามกี ารปลกู นอ้ ยหน่าไม่มเี มล็ด พันธุ์ Brazilian Seedless และ Cuban Seedless ที่มีผลสมี ว่ ง มีเน้อื ออกม่วงหรือชมพู แตม่ ขี ้อเสยี คอื ผลมกั แตกเมอื่ แก่ ส่วนท่ไี ต้หวันมกี ารปลูก 7 พนั ธุ์ คือ ไถตงอีเฮ่า, จ่ือเซอ่ จง, ตา้ มู่จง, ซี่หลิงจง, หร่วนจือจง, ซหู ลิงจง และจหู ลาน แตพ่ ันธ์ทุ ่ีนยิ มมากท่ีสุด คือ ซูหลงิ จง และต้ามู่จง การเกบ็ ผลผลติ นอ้ ยหน่าจะสามารถให้ผลได้เมอ่ื มีอายปุ ระมาณ 2-3 ปี ข้นึ ไป การเก็บ ผลผลติ ของน้อยหน่า โดยทั่วไปมีระยะเวลาการเกบ็ ต้งั แตด่ อกบานจนถึงเก็บผลได้ ประมาณ 120-125 วัน
:: แหล่งอา้ งองิ ขอ้ มลู /ภาพประกอบ :: น้อยหน่า
ศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อาเภอกระสงั
Search
Read the Text Version
- 1 - 14
Pages: