51 ดังน้ันกระบวนการ C3 ท่ีจะจัดการดาเนินการเสริมสร้างคุณธรรมสาหรับนักเรียนช้ัน ประถมศึกษาตอนปลายน้ี จึงยึดหลัก 2 ประการ คือ ทฤษฏีการพัฒนาเหตุผลเชิงคุณธรรมของ โคล เบริ ์ก (Lawrence Kohlberg) และ ทฤษฏกี ารเรยี นรู้ของพทุ ธศาสนา 3 ขั้นตอนดงั กลา่ ว 2. วตั ถุประสงค์ 2.1 เพ่ือเพ่ิมปัญญา หรือ ความรู้เร่ืองเหตุผลเชิงคุณธรรมและคุณธรรมเชิงสัมพัทธ์ให้ นกั เรยี นช้นั ประถมศึกษาตอนปลาย 2.2 เพ่ือเพ่ิมศรัทธา หรือ ความเช่ือม่ันในการปฏิบัติตามเหตุผลเชิงคุณธรรมและคุณธรรม เชิงสัมพัทธ์ เพราะจะละอายใจ และไมได้รับการยอมรับจากเพ่ือน ๆ หากไม่ปฏิบัติตามหลักการเพ่ือ สว่ นรวมตามทเ่ี พอื่ น ๆ ยึดถอื ปฏิบตั ิ 3. กลุ่มเป้ำหมำย แนวทางเสริมสร้างเหตุผลเชิงคุณธรรมด้วยวิธีน้ี ออกแบบมาเพ่ือใช้กับเยาวชนระดับ ประถมศกึ ษาตอนปลาย ซ่ึงมีอายุระหว่าง 10-13 ปี ขึ้นไปจนถึงระดับอุดมศึกษาเพราะทฤษฏีในการ ฝึกอบรมและให้รางวัล เพ่ือพัฒนาเหตุผลทางคุณธรรมกล่าวไว้ว่า เยาวชนที่อายุ 10-13 ปีนั้นจะให้ ความสาคัญกับการทาตามความเห็นชอบของผู้อ่ืน หรือการได้รับความยอมรับจากผู้อื่น ดังนั้นจึงจะ ปฏิบัติตนตามความเห็นของผู้อื่นและรางวัลที่เยาวชนระดับนี้ต้องการคือการได้รับการชมเชย หรือ รางวัลท่ีเป็นสัญลักษณ์ ซ่ึงวิธีการฝึกอบรมคือการฝึกให้รู้จักควบคุมตนเอง นอกจากน้ันยังเป็นการฝึก ให้เยาวชนเหล่าน้ี ได้รู้ซึ้งว่าความสุขในฐานะผู้ให้น้ันเหนือความกว่าความสุขในฐานะผู้รับอีกด้วย ซึ่ง กล่มุ เปา้ หมายคือ นกั เรยี นช้ันประถมศึกษาตอนปลายข้ึนไป
52 4. แนวควำมคิดในกำรดำ้ เนนิ กำร เสรมิ สร้างคุณธรรมท้ังในดา้ นปัญญา และด้านศรทั ธา โดยใชก้ ระบวนการ C3 กระบวนกำร C3 Conception Conference Contract ก่อกำเนิด ความรู้โดย เกิดวจิ ำรณ์ โดยการ กำรกำหนด กตกิ าหรือ การอธิบายด้วยวธิ ีวิภาษ ประชมุ อภิปรายวา่ สิ่ง การสร้างสญั ญา และอภิปรายปัญหาความ ใดพงึ กระทาและส่ิงใด ประชาคมเพ่ือประโยชน์ ขดั แย้งเชิงคณุ ธรรม พงึ ละเว้นเพื่อประโยชน์ ของสว่ นรวม ของสว่ นรวม กำรเสริมสร้ำงคณุ ธรรมทใ่ี ช้กระบวนกำรเรยี นรู้ C3 ประกอบดว้ ย 3 ขนั ตอน ได้แก่ 4.1 Conception: กอ่ ก้ำเนิด คือ การให้ความรเู้ พอ่ื เปน็ กรอบแนวความคดิ แก่นักเรียนได้รู้ว่า อะไรพงึ กระทา อะไรพึงละเว้นด้วยวิธีวิภาษ (Dialectic) พร้อมทั้งยกตัวอย่างเรื่องขัดแย้งเชิงคุณธรรม (Moral Dilemma) หรือผลประโยชน์ทับซ้อน (Conflict of Interest) และหลักการตัดสินใจตาม แนวคิดคณุ ธรรมเชิงสัมพัทธ์ เพื่อให้ตระหนกั ถึงหลักการของคณุ ธรรม ดังนี้ 4.1.1 คุณธรรมคือเจตจานงอันแน่วแน่ตลอดการ ท่ีจะบาเพ็ญตนโดยคานึงถึงประโยชน์ ของผอู้ ื่นและสว่ นรวมอยูเ่ สมอ ซ่งึ มกี ฎ 2 ข้อ คือ - ต้ังใจม่นั ว่าจะไมท่ าใหผ้ อู้ ืน่ หรอื ส่วนรวมเดอื ดรอ้ น - มงุ่ มนั่ ทจ่ี ะทาประโยชน์เพือ่ ผ้อู นื่ หรือสว่ นรวม 4.1.2 การกระทาทุกครงั้ ของคนเรา แบง่ ได้เป็น 3 ระดบั - การทาเพ่ือผูอ้ ื่นหรือส่วนรวมคือการทาความดี - การทาเพื่อตนเองแต่ไมท่ าให้ผอู้ นื่ หรือส่วนรวมเดือดรอ้ น คือ การทาปกติ - การทาใหผ้ ูอ้ ่นื หรือส่วนรวมเดอื ดร้อน คอื การทาความช่วั
53 4.1.3 การทาความดนี ้นั จะตอ้ งพิจารณาท่เี จตนาเปน็ สาคญั ไมใ่ ช่พิจารณาท่ีผล เช่น กรณี ที่แพทย์ตั้งใจผ่าตัดเพื่อให้คนไข้ปลอดภัยหายจากโรคร้าย แต่คนไข้กลับเสียชีวิตน้ัน ต้องดูท่ีเจตนาว่า แพทย์ตั้งใจท่ีจะช่วยเหลือคนไข้อย่างสุดความสามารถแล้ว แม้คนไข้จะเสียชีวิตก็ตาม ถือได้ว่าการ กระทาของแพทย์เป็นการทาความดี 4.1.4 คณุ ธรรมเชิงสัมพทั ธ์ (Relative Moral) หมายถึง การขยายคาว่า “ส่วนรวม” โดย แบง่ ออกเปน็ 5 ระดบั ได้แก่ มนุษยชำต,ิ ส่งิ แวดล้อม (Earth) อำณำเขต,ประเทศ (Territory) หน่วยงำน,องค์กำร (Unit) ญำต,ิ พวกพ้อง (Relative) ตนเอง (Self) - ระดับท่ี 1 คอื ตนเอง - ระดบั ที่ 2 คือญาติสนทิ มิตรสหายหรอื พวกพอ้ ง - ระดับที่ 3 คอื หนว่ ยงานหรืองคก์ าร - ระดบั ที่ 4 คือประเทศหรอื กลมุ่ ประเทศ เช่น อาเซียน - ระดบั ที 5 คอื มวลมนุษยชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ ม หากมีการขัดกันระหว่างผลประโยชน์ของส่วนรวม ในระดับท่ีต่างกัน ต้องเลือกส่วนรวมใน ระดับท่ีสูงกว่าเสมอ เช่น ผลประโยชน์ของห้องเรียน ต้องเหนือกว่าผลประโยชน์ของตนเองและ ผลประโยชนข์ องโรงเรยี นตอ้ งเหนอื กว่าผลประโยชนข์ องหอ้ งเรียน เปน็ ตน้ 4.2 Conference: เกดิ วิจำรณ์ คอื การประชุมปรึกษาหารือในคาบแนะแนว (Homeroom) ว่าการกระทาของแต่ละคนส่งผลกระทบต่อส่วนรวมอย่างไร โดยใช้หลักการ ตามข้อ 4.1 เพื่อสร้าง ความซาบซึ้งละความมุ่งม่ันที่จะปฏิบัติตนโดยยึดถือประโยชน์ส่วนรวม ซึ่งครูประจาช้ันจะเป็น
54 ผู้ดาเนินการในข้ันนี้ พร้อมทั้งยกตัวอย่างเรื่อง ความขัดแย้งเชิงคุณธรรม (Moral Dilemma) ให้ นกั เรียนฯ ไดอ้ ภปิ ราย 4.3 Contract: กำรก้ำหนด คือ การสร้างสัญญาประชาคมท่ีนักเรียนฯ ร่วมกันกาหนด เพ่ือ ประโยชน์ของส่วนรวม ในระดับห้องเรียนและในระดับโรงเรียน ซึ่งครูประจาชั้นจะทาหน้าที่เป็นที่ ปรึกษาและนาผลการปฏบิ ัตกิ ลบั ไป Conference ตามข้อ 4.2 กระบวนการ C3 ดังกล่าว จะสอดคล้องกับทฤษฏีทฤษฏีการพัฒนาเหตุผลเชิงคุณธรรมของ โคลเบิร์ก(Lawrence Kohlberg) และ ทฤษฏีการเรียนรู้ของพุทธศาสนา 3 ข้ันตอนดังกล่าว รวมท้ัง สอดคล้องกับแนวคิดของโสกราติส ที่ว่าคุณธรรมจะต้องประกอบด้วยส่วนสาคัญ 2 ส่วน ส่วนแรก คือปัญญา หรือความรู้ว่าส่ิงใดพึงกระทาและส่ิงใดพึงละเว้น ส่วนท่ี 2 น้ัน โสกราติส ใช้คาว่า ความ เห็นชอบ ซึ่งหมายถึงศรัทธา คือความเชื่อมั่นท่ีจะประพฤติตามสิ่งท่ีพึงกระทาและพึงละเว้นนั้น การ เสริมสร้างเหตุผลเชิงคุณธรรมที่ใช้เทคนิคการเรียนรู้ด้วยกระบวนการ C3 ซึ่งมีการวิจารณ์การกระทา ของแต่ละคนว่าส่งผลกระทบถึงส่วนรวมอย่างไร จะทาให้นักเรียนฯคอยระวังใจของตนให้คิดและทา เพ่ือส่วนรวมตลอดเวลา เพราะการทาเพ่ือส่วนรวมจึงจะได้รับการยอมรับจากเพ่ือน ๆ กระบวนการ C3 นี้ จะเสรมิ สร้างท้งั ปญั ญาและศรัทธา ให้กลุ่มเปา้ หมายได้เปน็ อย่างดี 5. ผลประโยชน์ทค่ี ำดว่ำจะไดร้ ับ 5.1 เสรมิ สร้างคณุ ธรรมใหเ้ ยาวชนกลุ่มเป้าหมาย 5.2 สนองพระบรมราโชวาทเร่ือง “รู้ รัก สามัคคี” เน่ืองจากเม่ือคิดถึงส่วนรวมตลอดเวลา ย่อมก่อให้เกดิ ความสามคั คี 5.3 ส่งเสริมอุดมการณ์เรื่อง “เกิดมาต้องตอบแทนบุญคุณแผ่นดิน” เนื่องจากเม่ือคิดถึง ส่วนรวมระดับประเทศ ก็จะมุ่งมั่นที่จะประพฤติปฏิบัติตนเพ่ือประโยชน์ของประเทศอยู่เสมอ ซ่ึงเป็น การตอบแทนบุญคุณแผน่ ดนิ พลเอกศรุต นาควัชระ (Ph.D.) ผ้อู านวยการศนู ยย์ วพัฒน์ มลู นิธริ ัฐบรุ ษุ พลเอกเปรม ตณิ สูลานนท์ โทร 087-698-1777
55 โครงกำรรวมใจวยั ฝัน รงั สรรค์คุณธรรม 1. หลกั กำรและเหตุผล การเสริมสร้างคุณธรรมมีความสาคัญยิ่งสาหรับสังคมไทย ซึ่งจะเห็นได้จากการที่ กระทรวงศึกษาธิการได้เปล่ียนคาขวญั จาก “ควำมร้คู ูค่ ุณธรรม” เป็น “คณุ ธรรมน้ำควำมรู้” แสดงให้ เห็นว่า คุณธรรมมีความสาคัญสาหรับเยาวชน ดังนั้นการเสริมสร้างคุณธรรมให้เยาวชน จึงเป็นหน้าที่ อันศักด์ิสิทธ์ิที่ทุกภาคส่วนของสังคม ท้ังภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาชนจะต้องร่วมกันเร่งรัด ดาเนินการ เพราะเยาวชนทุกคนมีโอกาสท่ีจะเป็นผู้นาในระดับต่าง ๆ กับทั้งมีโอกาสท่ีจะรับผิดชอบ สังคมและบา้ นเมืองในอนาคต การเสริมสร้างคุณธรรมน้ัน จะต้องประกอบด้วยหลักการ 2 ประการ คือ “ปัญญำ” และ “ศรัทธำ” ซึ่ง ปัญญา หมายถึง ความรู้ว่าสิ่งใดพึงกระทาและสิ่งใดพึงละเว้น ส่วน ศรัทธา หมายถึง ความเช่ือมน่ั ทจ่ี ะปฏิบัติตามสิง่ ทีร่ ูน้ นั้ คุณธรรมเชิงเด่ียว เช่น ความซื่อสัตย์ ความกตัญญู ความมีน้าใจที่ปฏิบัติต่อคนใกล้ชิด โดยไม่ คานึงถึงผลเสียที่อาจจะเกิดต่อส่วนรวมนั้น ไม่เพียงพอสาหรับเยาวชนอีกต่อไป เพราะเม่ือเป็นผู้ใหญ่ แล้ว ทุกคนมีโอกาสที่จะอยู่ในสถานการณ์ซึ่งจะต้องตัดสินใจเลือก ผลประโยชน์ทับซ้อนระดับต่าง ๆ ตลอดเวลา เช่น ในฐานะผู้รักษากฎหมาย เม่ือผู้มีพระคุณทาผิดกฎหมายร้ายแรง และต้องเลือก ระหว่างความกตัญญู ช่วยเหลือผู้มีพระคุณ ซ่ึงเป็นผลประโยชน์ระดับพวกพ้อง หรือจะเลือกรักษา ความศักด์ิสิทธ์ิของกฎหมาย ที่เป็นผลประโยชน์ระดับประเทศ ดังน้ันเหตุผลเชิงคุณธรรม (Moral Reasoning) หมายถึง เหตุผลท่ีอยู่เบื้องหลังการตัดสินใจและคุณธรรมเชิงสัมพัทธ์ (Relative Moral) หมายถึงการท่ีจะต้องนึกถึงผลกระทบของส่วนรวมในระดับต่าง ๆ จึงจาเป็นสาหรับเยาวชน มากกว่า คุณธรรมเชิงเดีย่ ว อยา่ งเช่นความกตญั ญู เปน็ ตน้ โครงการรวมใจวัยฝนั รงั สรรค์คณุ ธรรมน้ี เปน็ กจิ กรรมทที่ ารว่ มกันระหว่างเยาวชน 2 กลุ่มคือ กลุ่มแรกเปน็ เยาวชนรุ่นพี่ระดับมัธยมปลาย ปวช. หรอื อดุ มศึกษา ทาหน้าท่ีวทิ ยากรประจาฐาน กลุม่ ที่ 2 เปน็ เยาวชนรุ่นน้องระดบั มัธยมต้นหรอื ประถมศึกษาเปน็ ผรู้ ับความรู้ 2. วตั ถุประสงค์ 2.1 สาหรับเยาวชนรนุ่ พ่ี เพอ่ื เปน็ การเพมิ่ พูนท้ังปญั ญาและศรัทธา 2.2 สาหรับเยาวชนรนุ่ น้องน้ันแบง่ เป็น 2 ประการคือ 2.2.1 เพือ่ การสร้างความรวู้ ามเข้าใจเรื่องความหมายและหลักการของคุณธรรม (เอกสารตามข้อ 6.1 ภาคผนวกคาแนะนาขนั้ ที่ 1 การเรียนรู้ ความหมาย หลักวิชา) 2.2.2 เพ่ือฝกึ วเิ คราะหเ์ ร่ืองผลประโยชน์ทับซอ้ น จากเรอ่ื งตัวอย่าง โดยมงุ่ หวังทีจ่ ะให้ เกิดความจดั เจนและมีทกั ษะในการตดั สินใจเลือกวา่ การใดพงึ กระทา หรอื การใดพึงละเวน้ (เอกสาร ตามขอ้ 6.1 ภาคผนวกคาแนะนาข้ันท่ี 2 การฝึกวเิ คราะห์เรอื่ งผลประโยชน์ทับซ้อน)
56 3. กลมุ่ เป้ำหมำย 3.1 เยาวชนรนุ่ พ่ีระดบั มธั ยมปลาย ปวช. หรืออุดมศึกษา ทาหน้าที่วทิ ยากรประจาฐาน 3.2 เยาวชนร่นุ น้องระดบั มธั ยมต้นหรือประถมศึกษาเปน็ ผู้รบั ความรู้ 4. แนวควำมคิดในกำรดำ้ เนินงำน 4.1 จัดเตรียมเยาวชนรุน่ พ่ีทเี่ หมาะสมและดาเนนิ การดงั น้ี 4.1.1 ให้ความรเู้ รื่องหลัการพื้นฐานของคณุ ธรรมและจรยิ ธรรม 4.1.2 ซกั ซอ้ มและเตรยี มอปุ กรณ์ในการไปจัดกจิ กรรมฐานคุณธรรม ให้เยาวชนรุน่ นอ้ ง 4.2 ผ้รู ับผดิ ชอบของสถาบนั การศกึ ษา 4.2.1 ประสานงานกับเยาวชนทั้งสองกล่มุ เพื่อจดั ฐานคุณธรรมโดยครอบคลุมทั้งเร่อื ง เวลา สถานท่ี สิ่งอปุ กรณ์ และการเดินทางท่ีจะไปจดั กิจกรรม ณ สถานศกึ ษาของเยาวชนรุน่ น้อง 4.2.2 จดั เตรยี มเยาวชนรุ่นพี่รับผดิ ชอบฐานความรจู้ านวน 10 ฐาน แต่ละฐานมเี รอ่ื ง ตวั อย่างตามข้อ 2.2.2 ฐานละ 1 เรอ่ื ง 4.2.3 จดั เยาวชนรนุ่ นอ้ งเป็น 10 กลุ่ม เข้าประจาฐานทง้ั 10 ฐานเพ่อื หมนุ เวียนรบั ความรู้ 4.3 ในการหมนุ เวียนฐานเพือ่ รบั ความร้นู ั้น ทาได้ 2 แบบคอื 4.3.1 แบบท่ี 1 รวมเยาวชนร่นุ น้อง เพื่อให้ความรูต้ ามขอ้ 2.2.1 เป็นส่วนรวม ใช้ เวลาประมาณ 10 นาที จากนั้นจึงแบ่งน้องออกเป็น 10 กลุ่ม และเวยี นฐานท้ัง 10 ฐาน เพอื่ รบั ความรูต้ ามข้อ 2.2.2 ฐานละ 5 นาที 4.3.2 แบบท่ี 2 แบ่งเยาวชนรุ่นน้องออกเป็น 10 กลมุ่ เขา้ ประจาฐาน จากนั้นแต่ละ ฐานดาเนินการให้ความรตู้ ามขอ้ 2.2.1 เหมือนกันและพรอ้ มกันใช้เวลาประมาณ 10 นาที จากนนั้ จึง แบง่ นอ้ งออกเป็น 10 กลุ่ม เพอื่ เวียนฐานทั้ง 10 ฐานเขา้ รบั ความรู้ตามข้อ 2.2.2 ฐานละ 5 นาที 5. ผลประโยชน์ท่ีคำดวำ่ จะไดร้ บั 5.1 เยาวชนร่นุ พี่ 5.1.1 จะมีความรู้ด้านคุณธรรมอย่างลึกซ้ึงตามทฤษฎี Learning by Teaching สอดคลอ้ งกับหลกั การท่ีวา่ การเรียนรู้ทดี่ ที สี่ ุดคอื การเรยี นรู้จากการสอนผอู้ นื่ 5.1.2 จะมีความมุ่งมน่ั ท่ีจะประพฤติตนอย่างมีคุณธรรมตามทฤษฎี labeling theory ตามหลกั การที่วา่ บุคคลย่อมประพฤตติ น ตามที่สังคมคาดหมายว่าตนเองเป็น ดงั นั้นการทเ่ี ยาวชนรุ่นพ่ี ไปให้ความรู้เรอ่ื งคณุ ธรรมแก่เยาวชนรนุ่ น้อง จะเป็นเครือ่ งควบคุมใจให้เยาวชนรุน่ รุ่นพ่ี ต้องประพฤติตน ตามที่สอนนอ้ งไว้ เพราะสายตาทน่ี ้องมองเยาวชนรนุ่ พ่ีขณะที่อยูใ่ นฐานน้ัน เป่ียมไปด้วยความศรัทธาใน ตัววทิ ยากร
57 6. เอกสำรประกอบโครงกำร 6.1 หลักการพนื้ ฐานของคุณธรรมและจรยิ ธรรม 6.2 แบบวดั และประเมินเยาวชนรุ่นพี่เพือ่ เป็นกรอบแนวทางในการปฎบิ ัตขิ องเยาวชนรุน่ พ่ี จานวน 1 หน้า 6.3 แบบวัดและประเมินเยาวชนรุ่นนอ้ งเพื่อกระตุ้นให้เยาวชนรนุ่ น้องกระตือรือร้นในการร่วม กจิ กรรมจานวน 1 หน้า 6.4 การจัดองค์กรฯเพ่อื กาหนดหน้าท่ีของรุ่นพี่ในการจัดทากิจกรรมจานวน 3 หนา้ พลเอกศรุต นำควัชระ (Ph.D.) ผู้อำนวยกำรศนู ย์ยวพัฒน์ มลู นธิ ริ ัฐบุรุษ พลเอกเปรม ติณสลู ำนนท์ โทร 087-698-1777 ID Line : SRUTE9
58 องคก์ รรวมใจวัยฝัน รงั สรรค์คณุ ธรรม 1. ประธำนค่ำย 1.1 รับผิดชอบส่วนรวม 1.2 ประสานงานภายใน/ภายนอกคา่ ย 1.3 กล่าวตอ้ นรับ/สรุป 1.4 ตอ้ นรับผ้เู ย่ียมชมกจิ กรรม 2. เลขำค่ำย 2.1 ควบคุมสมาชิกค่ายให้ครบจานวนและตรงเวลา 2.2 ทาปา้ ยช่ือ 2.3 ควบคมุ ในการเดินทาง 2.4 จดั นอ้ งเขา้ หอ้ งประชมุ รวมใหเ้ รียบรอ้ ยและเกอ้ื กูลต่อการแบ่งกล่มุ 2.5 แบง่ กลมุ่ น้อง/ชแ้ี จงเรอื่ งการปฏบิ ัติตนและการประเมนิ ผลกลุ่ม (ควรมีนอ้ งใกลเ้ คยี งกันทกุ กล่มุ ท้งั จานวนและเพศ) 2.6 แจกใบประเมนิ ผลกลุ่มและเก็บใบประเมนิ ผลกลมุ่ 2.7 ควบคุมเวลาในทกุ ขั้นตอนและในการเวียนฐานโดยใช้สัญญาณนกหวดี 3. ประธำนสวสั ดิกำร 3.1 จัดเตรียมอาหารและเคร่ืองดม่ื สาหรับสมาชกิ คา่ ย 3.2 จัดเตรยี มขนม/ของสาหรับแจกน้อง (ถา้ ม)ี 4. ประธำนฝ่ำยสถำนท่ี 4.1 จดั เตรียมหอ้ งประชมุ /เคร่อื งฉาย/เครื่องเสียง 4.2 เตรียมแบง่ จุดฐานความร/ู้ ตดิ ป้ายลาดบั ฐานความรู้ 4.3 เตรยี ม/เกบ็ แผ่นปา้ ยคุณธรรมเชิงสมั พัทธ์ (SRUTE) มอบให้แตล่ ะฐาน
59 5. ประธำนฝ่ำยสนั ทนำกำร 5.1 จัดสนั ทนาการในช่วงเปิด/ปิด 5.2 ใหค้ าแนะนาเรอ่ื งสนั ทนาการแกฐ่ านตา่ งๆโดยไม่ให้ซา้ กัน 6. ประธำนฝำ่ ยวิชำกำร 6.1 ให้ความรู้กบั นอ้ งๆในขน้ั ท่ี 1 (การปูพื้นทฤษฏี) 6.2 ให้คาแนะนาดา้ นวชิ าการ/แบง่ เรือ่ งตวั อย่างแกฐ่ านฯ ทกุ ฐานฯ 7. ประธำนฐำนควำมรู้(จ้ำนวน10ฐำน แตล่ ะฐำนมีประธำน1คน) 7.1 ไปรับ/ดูแลน้องๆใหเ้ ข้าฐานฯ อย่างเรยี บร้อย/ตรงเวลา 7.2 จัดการสันทนาการกอ่ นเร่มิ วิชาการ 7.3 ใหค้ วามรโู้ ดยเนน้ ให้น้องๆยดึ หลกั ทฤษฎี ดี ปกติ ชวั่ 7.4 บนั ทึกใบประเมนิ ผลกลุ่มของนอ้ ง 7.5 ควบคมุ เวลาในฐานซึ่งแตล่ ะฐานมเี วลาไมเ่ กนิ 5 นาทีและปฎบิ ตั ิตามเสียงนกหวดี 8. ลำ้ ดบั ขันตอน 8.1 ฝ่ายสถานที่เตรียมสถานทีใ่ ห้เรยี บร้อยตามขอ้ 4.1 ( ต้องเรียบรอ้ ยกอ่ นขอ้ 8.3 ) 8.2 เลขาค่ายจัดน้องเขา้ ห้องประชุมใหเ้ รียบร้อยตามขอ้ 2.4 8.3 ประธานกล่าวเปิดตามข้อ 1.3 ( 3 นาที) 8.4 ฝ่ายสันฯ ดาเนินการตามขอ้ 5.1 ( 7 นาที) 8.5 ฝ่ายวิชาการดาเนินตามข้อ 6.1 ( 15 นาที) 8.6 เลขาค่ายแบง่ กลุม่ /ชี้แจง/แจกใบประเมนิ ตามข้อ 2.5 และ 2.6 ( 10 นาที) 8.7 น้องๆเขา้ ฐาน ฐานละ 5 นาที จานวน 10 ฐาน ( 50 นาที) 8.8 สรปุ และปิดโครงการ (10 นาที) .................................................. หมำยเหตุ : 1. ผู้ปฎบิ ัตหิ ลักต้งั แต่ลาดับ 3 ถึงลาดบั 7 สามารถทาหนา้ ทีใ่ นฐานความรูไ้ ด้ (เว้นประธานและ เลขา ซ่งึ เลขาจะตอ้ งควบคุมเวลา/ควบคมุ การหมนุ เวียนฐาน ส่วนประธานค่ายต้องดแู ล ภาพรวมกับทงั้ ตอ้ นรับผ้มู าเยยี่ มชม) 2. เม่ือเข้าฐาน ทกุ ฐานต้องทบทวนดว้ ยคาถามดงั นี้ - ทาเพ่อื ตนเอง เพ่ือนไม่เดอื ดรอ้ น เป็นการกระทาระดบั ใด (ปกติ) - ทาเพือ่ เพอื่ นรกั ห้องเรียนไมเ่ ดือดร้อน เป็นการกระทาระดับใด (ด)ี - ทาเพ่อื เพอื่ นรกั แตห่ อ้ งเรยี นเดอื ดรอ้ น เป็นการกระทาระดบั ใด (ชว่ั ) 3. ก่อนหมดเวลา 1 นาที เลขาค่ายจะเป่านกหวดี ยาว 1 คร้งั เพ่อื ให้ทุกฐานเตรยี มสรปุ และ เตรียมส่งนอ้ งไปฐานต่อไป 4. เม่ือหมดเวลาเลขาคา่ ยเปา่ นกหวีดยาว 3 คร้ัง ทุกฐานสง่ น้องเปลย่ี นฐาน (ห้ามเปลย่ี นก่อน) และจะนับเวลา 5 นาทตี ัง้ แตส่ ้ินเสียงนกหวีดครั้งที่ 3 5. ต้ังแต่รอบท่ี 4 เปน็ ต้นไปอาจลดเวลาเหลอื เพยี ง 4 นาที 6. จานวนฐานอาจลดลง แต่ควรไมน่ อ้ ยกวา่ 5ฐาน แตล่ ะฐานต้องมพี ตี่ ้งั แต2่ คนขึ้นไป
60 แบบวดั /ประเมินผล กำรปฏิบตั ิงำนของเยำวชนวิทยำกร (บคุ คล) (ประกอบโครงกำรรวมใจวัยฝนั ฯ) ช่อื ............................................................................................. ล้ำดบั ประเด็น คะแนน ควำมคดิ เหน็ 1 กำรใชเ้ วลำ (เตม็ 10 คะแนน) 2 กำรน้ำเข้ำส่บู ทเรียน 3 กำรใชภ้ ำษำ/เสยี ง 4 บุคลกิ /ทำ่ ทำง/สำยตำ 5 กำรใช้สื่อ 6 กำรลำ้ ดับเนือหำในกำร น้ำเสนอ 7 กำรเน้นย้ำประเด็น/ ควำมร/ู้ หลักกำร 8 กำรควบคมุ นักเรียน รนุ่ นอ้ ง
61
62 โครงกำรแขง่ ขันตอบปญั หำคณุ ธรรม 1. หลกั กำรและเหตผุ ล พลเอกเปรม ตณิ สูลานนท์ ได้กรุณาอธิบายความหมาย ของอุดมการณ์เร่ือง “เกิดมำต้องตอบ แทนคณุ แผน่ ดนิ ” ไวว้ า่ คือ การทาความดี และไมท่ าความชั่ว เพอื่ ให้แผ่นดินมคี วามสงบ ดงั น้นั การเสริมสรา้ งกระบวนการคดิ แยกแยะใหแ้ ก่เยาวชน ว่า การใดพึงกระทา หรือ การใดพึงละเว้น จึงมี ความสาคัญยงิ่ การแข่งขันตอบปัญหาคุณธรรม สาหรับเยาวชนน้ี มุ่งส่งเสริมทักษะการใช้กระบวนการคิด แยกแยะผลประโยชน์ทับซ้อน ว่า การกระทาแบบใดเรียกว่า ดี ปกติ หรือชั่ว ได้อย่างอัตโนมัติ และ สามารถนาไปประยกุ ต์ใชใ้ นชีวิตประจาวนั ซงึ่ ทาให้สงั คมไทยเกิดความสนั ติสุข สถาพร 2. วัตถุประสงค์ 2.1 สง่ เสรมิ ทกั ษะการใช้กระบวนการคิด แยกแยะระดบั การกระทาออกเปน็ 3 ระดับ คอื 1) ดี 2) ปกติ/เวน้ ชั่ว และ 3) ชั่ว 2.2 เพ่ือให้เยาวชนสามารถคิด และตัดสินใจอย่างอัตโนมัติในการแสดงพฤติกรรมที่พึง กระทา หรือพงึ ละเวน้ 3. แนวควำมคิดของกำรด้ำเนนิ กำร การแข่งขันคร้ังนี้ จะวัดผลทั้งด้านความรอบรู้กรอบแนวคิดของคุณธรรม และความรวดเร็วใน การตอบปญั หา เชน่ กรณมี ผี แู้ ข่งขนั 10 ทีม 3.1 ทัง้ 10 ทมี เตรยี มพรอ้ ม ณ เส้นสตาร์ท เม่ือได้รับสัญญาณปล่อยตัว. ทุกทีมออกจากเส้น สตาร์ทพร้อมกนั 3.1 มีกระดาษคาถาม วางคว่าเป็นระยะ ทมี ละ 5 ปัญหา เรยี งลาดบั ปัญหาท่ี 1-5 เหมือนกนั ทกุ ทีม 3.3 แต่ละทีมจะทาคาตอบในกระดาษปัญหาตามลาดับ โดยปัญหาแต่ละข้อ จะเป็นคาต้อง แบบเลือกตอบแต่ละข้อ ท้ังน้ีแต่ละข้อจะมีคะแนน 100 คะแนน. หากตอบถูกครบท้ัง 5 ข้อ จะได้ คะแนนความรอบรู้ 500 คะแนน 3.4 เม่ือตอบปัญหาข้อสุดท้ายเรียบร้อย จะวิ่งไปเส้นชัย แล้วเหยียบลูกโป่งให้แตก ทีมใด เหยียบลูกโป่งแตกก่อนจะได้คะแนนความรวดเร็ว 10 คะแนน ทีมอื่นจะได้คะแนนความรวดเร็ว ลดหลัน่ ลงมา จนถึงทมี ที่ช้าท่สี ุด จะไดค้ ะแนนความรวดเรว็ 1 คะแนน 3.5 นาคะแนนความรอบรู้ และคะแนนความรวดเร็ว รวมกัน (ทีมท่ีทาลูกโป่งแตก อันดับ 1 ตอบถูก 4 ข้อ ได้คะแนนความรอบรู้ 400 คะแนน และได้คะแนนความรวดเร็ว 10 คะแนน ได้ คะแนนรวม 410 คะแนน ส่วนทีมที่ทาลูกโป่งแตกอันดับ 9 ตอบถูก 5 ข้อ ได้คะแนนความรอบรู้ 500 คะแนน และ ได้คะแนนความรวดเรว็ 2 คะแนน ไดค้ ะแนนรวม 502 คะแนน)
63 3.6 นาคะแนนรวมของทุกทีม มาจัดลาดบั กจ็ ะไดท้ มี ชนะลาดับที่ 1-10 3.7 กรณีหากมีทีมเข้าแข่งขันจานวนมาก เช่น 100 ทีม ก็จะจัดการแข่งขันรอบคัดเลือกเป็น 10 รอบ รอบละ 10 ทีม (โดยใช้วิธีจับฉลากว่า ทีมใดจะได้เข้าแข่งรอบใด) แล้วนาทีมชนะเลิศแต่ละ รอบ มาแข่งขันกัน ในรอบชิงชนะเลศิ เพื่อหาผู้ชนะเลิศอันดับ 1 ซง่ึ เปน็ ทีมทจ่ี ะได้รับรางวลั 3.8 ผนวก ก: รายละเอยี ดของปญั หา 4. ผลทค่ี ำดวำ่ จะไดร้ ับ 4.1 สรา้ งความกระตือรอื ร้นในสถานศกึ ษาที่จะนากระบวนการคดิ วิเคราะหร์ ะดบั การกระทา ทแี่ บ่งเปน็ 3 ระดบั คือ 1) ดี 2) ปกติ/เว้นชั่ว และ 3) ช่วั ไปใช้ในสถานศึกษาของตน 4.2 เสริมสร้างปัญญา หรือความรู้ท่ีจะเลือกได้ว่า การใดพึงกระทา หรือการใดพึงละเว้นให้ เยาวชน 4.3 เสริมสร้างศรัทธา หรือความมุ่งมั่นท่ีจะประพฤติตนให้ทาในส่วนท่ีพึงทา และละเว้นใน สว่ นท่ี พึงละเว้นซงึ่ ก็คือ พฤติกรรมคุณธรรมใหเ้ ยาวชน ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------ หมายเหตุ ผังสนามแขง่ ขัน
64 ผนวก ก: รำยละเอียดของปัญหำ 1. ลกั ษณะของปญั หำ ใหเ้ ลอื กขอ้ คาตอบ โดยทาเครอ่ื งหมายถกู / ในชอ่ งวา่ ง ( ) เช่น 1.1 เอ กินกล้วยแล้วราคาญในมือ จึงท้ิงเปลือกกล้วยไว้บนทางเดิน อาจทาให้คนอ่ืนเหยียบ เปลอื กกลว้ ยแลว้ ลืน่ ลม้ ได้ การกระทาของ เอ เปน็ การกระทาระดับใด ( ) ดี ( ) ปกติ /เว้นช่วั ( ) ชัว่ 1.2 บี กินกล้วยแล้วราคาญเปลือกกล้วยในมือ จึงนาเปลือกกล้วยไปท้ิงในถังขณะ เพราะ บี ไม่ได้ทาใหท้ างเดนิ สกปรก การกระทาของบี เป็นการทาความดี ใช่ หรอื ไม่ ( ) ใช่ ( ) ไมใ่ ช่ 2. เพื่อให้ตอบค้ำถำมได้ถูกต้อง ผู้ตอบต้องมีความสามารถแยกแยะได้ว่า การกระทาแต่ละครั้ง แบ่ง ไดเ้ ปน็ 3 ระดับ คือ 2.1 ดี หมายถึง การกระทาเพื่อประโยชน์ของผู้อ่ืน/ส่วนรวม (สมชาย ซ้ือข้าวให้เด็กเร่ร่อนกิน เพราะสงสาร) 2.2 ปกติ/เว้นชั่ว หมายถึง การกระทาเพื่อตนเอง แต่ก็ไม่ได้ทาให้ผู้อ่ืน/ ส่วนรวม เดือนร้อน (สมศกั ด์ิ ซอ้ื ก๋วยเตย๋ี วกินเอง เพราะหวิ ) 2.3 ช่วั หมายถงึ การทาให้ผอู้ ืน่ / ส่วนรวมเดอื นรอ้ น (สมบัติกนิ ก๋วยเต๋ียวแลว้ ไมย่ อมจ่ายเงนิ ทาใหเ้ จา้ ของร้านเดือดร้อน) 3. ควำมดเี ปน็ เร่ืองของเจตนำ ท่ีจะทาเพื่อผู้อื่น/ส่วนรวม การทาเพื่อตนเองนั้นไม่สามารถเรียกได้ว่า ความดี เช่น ส้ม และ ฟ้า เข้าห้องเรียนตรงเวลาเหมือนกัน แต่ส้ม ทาเพราะกลัวถูกครูตี ส่วน ฟ้า ทาเพราะ เกรงใจไม่อยากใหเ้ พือ่ นเสยี เวลาคอย 3.1 ฟ้า ทาเพือ่ ผู้อ่นื / สว่ นรวม จงึ เรยี กไดว้ า่ ทาความดี 3.2 แม้เข้าห้องเรียนตรงเวลาเหมือนกัน แต่ส้ม ทาเพื่อตนเอง จึงไม่สามารถเรียกได้ว่า ทา ความดี และส้มกไ็ ม่ไดท้ าใหค้ นอ่นื เดือดรอ้ น การกระทาของสม้ จึงอยู่ในระดบั ปกติ/ เว้นชว่ั 4. คุณธรรมเชิงสัมพัทธ์ คือ การเปรียบเทียบระดับของส่วนรวม และเลือกผลประโยชน์ของส่วนรวม ในระดับท่ีใหญ่กว่า ซึง่ เป็นการแกป้ ัญหา เร่อื งผลประโยชน์ทับซอ้ น 4.1 เอ เป็นผู้จัดการโรงงานที่ต้องการมีผลกาไรมาก เพ่ือต้องการนามาแบ่งให้กับพนักงาน จึงปล่อยน้าเสียลงในแม่น้า เพราะต้องการประหยัดงบประมาณการบาบัดน้าเสีย การกระทาของเอ ในครั้งนี้เพื่อประโยชน์ส่วนรวมในระดับของโรงงาน แต่ทาให้ผลประโยชน์ส่วนรวมของชุมชนริมน้า ที่เปน็ ส่วนรวมระดับใหญ่กวา่ เสยี หาย ดงั นนั้ การกระทาของเอ จงึ เปน็ การทาความช่ัว
65 4.2 จากกรณีดังกล่าว เป็นเรื่องผลประโยชน์ทับซ้อน คือ ผลประโยชน์ของส่วนรวมในระดับ โรงงาน ขัดแย้งกับผลประโยชน์ส่วนรวมของชุมชนริมน้า คาถามคือ เอ ควร เลือกผลประโยชน์ สว่ นรวมในระดบั ใด คาตอบท่ีถูกต้องคือ เอ ควรเลือกผลประโยชน์ของส่วนรวมระดับชุมชนริมน้า ซ่ึงเป็นส่วนรวม ระดบั ใหญ่กวา่ ระดบั โรงงาน 5. ชุดคำ้ ถำม ท่ใี ช้ประเมินระดบั ของการกระทา 3 คาถาม 5.1 ทาเพ่อื ใคร (เพ่อื ดเู จตนา 1. ทาเพื่อตนเอง หรอื 2. ทาเพอ่ื ผอู้ น่ื / ส่วนรวม) 5.2 ใครอ่ืนเดือดรอ้ น (เพอ่ื ดผู ลกระทบตอ่ ผู้อ่นื /ส่วนรวม 1.ไมม่ ใี ครเดือดร้อน หรือ 2.ผูอ้ ื่น/ส่วนรวมในระดับทใ่ี หญก่ วา่ เดือดรอ้ น) 5.3 เป็นการกระทาระดบั ใด (1. ดี 2. ปกติ/เวน้ ชว่ั 3. ช่วั ) 6. สมกำรคุณธรรม ที่ไดจ้ ากชดุ คาถามตามข้อ 5 จานวน 4 สมการ คอื สมกำรท่ี 1 ทาเพ่อื ตนเอง + ผูอ้ น่ื /สว่ นรวม ไม่เดือดรอ้ น = ปกติ ตวั อยา่ ง เอ จา่ ยเงนิ ซื้อกว๋ ยเต๋ยี วกนิ เอง เพราะหิว เอ ทาเพ่อื ตนเอง + ผู้อนื่ /สว่ นรวม ไม่เดอื ดรอ้ น = ปกติ สมกำรท่ี 2 ทาเพอ่ื ตนเอง + ผู้อืน่ /ส่วนรวม เดือดร้อน =ชั่ว ตวั อยา่ ง บี กินก๋วยเต๋ยี วกินแล้วไมจ่ า่ ยเงิน ทาใหเ้ จา้ ของร้านเดอื ดร้อน บี ทาเพ่ือตนเอง + เจ้าของรา้ นเดอื ดร้อน = ชัว่ สมกำรที่ 3 ทาเพอ่ื ผู้อ่นื / ส่วนรวมเล็ก + ส่วนรวมใหญ่ ไม่เดือดรอ้ น = ดี ตัวอย่าง สม้ ทาความสะอาดหอ้ งหลังเลิกเรียน เพราะอยากให้ห้องสะอาด ส้ม ทาเพอื่ หอ้ งเรียน + โรงเรียน ไม่เดือดร้อน = ดี สมกำรที่ 4 ทาเพือ่ ผอู้ นื่ / ส่วนรวมเลก็ + ส่วนรวมใหญ่ เดือดร้อน = ชวั่ ตัวอยา่ ง แดง แอบเอาถังขยะของโรงเรยี นมาให้เพ่อื นในห้องใช้ เพราะอยากให้ ห้องสะอาดแตท่ าใหโ้ รงเรยี นสกปรก แดง ทาเพ่ือห้องเรียน + โรงเรียนเดือดร้อน = ชั่ว ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------- พลเอก ศรุต นำควชั ระ ผอู้ ำนวยกำรศนู ยย์ วพฒั น์ มลู นธิ ริ ฐั บรุ ษุ พลเอก เปรม ติณสลู ำนนท์ โทร. 087-698-1777 Line: SRUTE9
66
Search