Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore โรคที่สำคัญในแพะ

โรคที่สำคัญในแพะ

Published by Niattaya Thongtip, 2019-08-28 11:39:51

Description: โรคที่สำคัญในแพะ

Search

Read the Text Version

บทที่ 8 โรคทวั่ ไปของแพะ การปอ งกันและดูแลรักษา ความสาํ คญั ของโรคในแพะและการปอ งกนั รักษา โรคที่เกดิ ข้นึ กบั แพะโดยทวั่ ไปสามารถจาํ แนกไดใ นแบบทเี่ ปน โรคตดิ เชอื้ คือโรคท่ีเ กิดจากภาวะการตดิ เชือ้ โรคตางๆ เชน โรคตดิ เชื้อแบคทีเรีย โรคตดิ เชือ้ ไวรัส และโรคตดิ เชอ้ื ปรสติ ชนิดตางๆทัง้ ภายนอกและภายใน อีกประเภทหนง่ึ คอื โรคทีเ่ ปน โรคไมตดิ เชอ้ื ซงึ่ มักเปน ภาวะท่ีเกิดไดจ ากการไดร ับสารพิษจากอาหาร หรอื ภาวะการขาดอาหารและแรธาตตุ างๆทส่ี ง ผลตอ การทําหนา ทีข่ องอวยั วะตา งๆในรา งกายทําใหเ กดิ ความผิดปกตแิ ละมผี ลกระทบตอ การดํา รงชีวิตของแพะท้งั ในระยะสั้นและระยะยาว ไมวาจะเปน การเกดิ โรคแบบใดจะสง ผลตอ การดูแลเล้ยี งดูและการใหผ ลผลติ ของ แพะในฟารม จงึ จําเปนอยางยิ่งท่ผี เู ลีย้ งจะตองคอยดูแลเอาใจใสใ นการสุขาภิบาล การรักษา ความสะอาดของคอกและโรงเรอื น รวมถงึ การเฝาระวงั การเกิดโรค การทําวัคซีนเพอื่ ปองกนั โรคตา งๆท่ีจาํ เปน ใหแกแพะในฟารมตามโปรแกรมท่เี หมาะสม เพอ่ื ทจี่ ะชวยใหแ พะปราศจาก โรคและสามารถใหผ ลผลิตแกผ ูเ ลย้ี งอยางเต็มศกั ยภาพ อกี ทั้งยังชว ยลดคา ใชจ า ยในการดูแล รักษา คา ยาและเวชภัณฑไ ด โดยรายละเอยี ดของโรคตา งๆอาการ การปองกันและดแู ลรกั ษา ซึ่งจะไดกลาวตอไป โรคติดเชอื้ แบคทเี รยี โรคที่มีสาเหตมุ าจากการตดิ เชื้อแบคทเี รยี เปน โรคทีพ่ บไดเสมอ และมีความสาํ คญั ตอ การเล้ยี งและการจดั การในฟารมแพะเปนอยางมาก เน่อื งจากเปนโรคท่มี กี ารติดตอไดงาย หากมกี ารจัดการดา นการสุขาภิบาล การใหอาหาร และสภาพแวดลอ มรอบตวั สตั วไมเ หมาะสม อาจสง ผลตอ ระบบภูมิคมุ กนั ของแพะ ซึ่งจะทาํ ใหแ พะออ นแออนั อาจเปน สาเหตุของการตดิ โรค ตา งๆไดงา ย โรคท่มี ีสาเหตจุ ากการติดเชอ้ื แบคทีเรียในแพะทม่ี กั พบได เชน โรคแอนแทรกซ, โรคแทง ตดิ ตอ , โรคมงคลอ พิษเทียม, โรควณั โรคเทียม, โรคขอ อกั เสบ, โรคลาํ ไสอักเสบ, โรคคอบวม, โรคปอดบวม เปนตน AT 335 131

โรคแอนแทรกซ (Antrax) โรคแอนแทรกซหรือโรคกาลี เปน โรคทมี่ คี วามรุนแรงและกอ ใหเ กดิ ความเสยี หาย ตอ วงการปศสุ ัตวเ ปนอยางมาก เปนโรคท่เี ม่ือเกิดการระบาดข้นึ แลวจะทําใหสัตวม อี าการแบบ เฉียบพลันและปว ยตายในระยะเวลาอนั สน้ั ท้งั นี้ยังมีการระบาดของโรคไดอยา งรวดเร็วทาํ ใหม ี อตั ราการตายทีส่ ูงมากถาหากไมมมี าตรการในการควบคุมปอ งกันการแพรร ะบาดของโรคอยา ง เครง ครดั และมีประสิทธภิ าพ นอกจากนี้โรคแอนแทรกซนีย้ ังเปน โรคตดิ ตอ จากสัตวท ส่ี ามารถ ติดสูค นได (Zoonosis) ซ่ึงจะกอ ใหเกิดปญหาดา นการสาธารณสขุ ของประเทศเขตรอนทีส่ ําคญั สาเหตขุ องโรค เกดิ จากเชือ้ แบคทีเรยี Bacillus anthracis ปกตแิ ลว เชอ้ื นอ้ี ยใู น เลอื ดและอวยั วะตางๆของสตั วป ว ยและเมอ่ื เชอื้ ออกมาจากรา งกายและสัมผัสกับอากาศเชอ้ื น้ีก็จ ะสรางสปอรห อหมุ ตัวมนั เองทําใหม คี วามทนตอส่งิ แวดลอมและอากาศได และเชือ้ อาจคงทน อยใู นพืน้ ดินลกึ ๆไดนานราว 10-20 ป โดยทีไ่ มต ายและยังคงความสามารถของการติดเชอ้ื และ ความรุนแรงของการกอโรคได การติดตอของโรค สามารถตดิ ตอไดท างอาหาร ทางผิวหนัง และทางการหายใจ เชอ้ื โรคสามารถเขา สรู า งกายสตั วโดยปนเปอ นไปกบั อาหาร และนาํ้ ลองลอยปะปนไปกบั เศษ ฝนุ ละอองหรือขนสตั ว และโดยการสมั ผัสกับสิง่ คดั หลั่งหรือเลือดของสัตวป ว ยเขา ทางบาดแผล รอยขดี ขวน หรือโดยแมลงทก่ี ดั กนิ เลอื ด เชน เห็บและเหลอื บเปนตน ในรายทคี่ นติดโรคนม้ี ัก เกิดข้นึ เนอื่ งจากกนิ เนื้อสัตวเปนโรคเขา ไป หรือเนื่องจากมเี ช้ือโรคเขาทางบาดแผลบนผวิ หนัง อบุ ัตกิ ารณการเกดิ โรคมักจะพบไดใ นสตั วโต และพวกท่ีเล้ียงแบบปลอ ยแทะเลม็ ในทุง หรอื ใน พน้ื ทส่ี าธารณะทอี่ าจเปน แหลงแพรก ระจายของเชอ้ื โรค อาการของโรค อาการของสัตวท ่ปี ว ยดวยโรคแอนแทรกซ โดยท่ัวไปจะพบวามี อัตราการตายสูงมาก และสัตวจ ะตายในระยะเวลาอนั สัน้ โดยเฉพาะแพะทป่ี ว ยดว ยโรคนี้แบบ เฉยี บพลนั อาจจะไมท นั ไดแ สดงอาการใดๆใหส ังเกตเห็นมากนัก ซง่ึ แพะจะตายลงอยางรวดเรว็ แตอาจมีการแสดงอาการบางอยางใหเ ห็น เชน อาการที่สัตวตายเนอ่ื งจากมีภาวะโลหติ เปนพษิ (Blood poisoning หรอื Septicemia) อาการในระยะแรกนี้ที่สังเกตไดค อื สัตวจะแสดงอาการ เจบ็ ปวดทท่ี องอยา งรนุ แรง มไี ขสงู เบอ่ื อาหาร หายใจลาํ บาก กลามเนื้อออนแรง ไมมกี าํ ลงั ยืนตัวส่ัน นอกจากนแ้ี ลวเวลาถา ยมลู จะมเี ลือดปนออกมาดว ย บางครง้ั พบวาตามลาํ ตัวจะบวม นํ้าโดยเฉพาะอยางยิง่ รอบๆลําคอ ถาเกดิ โรคกับแมแ พะทอ่ี ยูในชว งใหนมนาํ้ นมที่ออกมาจะมี ลักษณะสีแดงและในทสี่ ุดจะหยุดใหนม และจะพบวา มเี ลือดออกตามชอ งเปด ตา งๆของรางกาย เชน ปาก จมูก หู ตา และทวารหนกั ตอ มาในชวงทา ยๆของอาการ สัตวจะหอบ หายใจขดั แนนหนาอก คอตบี ชักและตายภายใน 1-2 วนั ซึง่ เมือ่ ตายแลว จะมเี ลือดออกตามทวารตา งๆ AT 335 132

ซากไมแ ขง็ ตวั แตจ ะบวมและเนาเรว็ หากสงสัยวาสตั วป ว ยตายดว ยโรคแอนแทรกซไ มค วรทาํ การชําแหละซากเพราะจะทาํ ใหเกดิ การแพรก ระจายของเชอื้ โรค และมกี ารกระจายของสปอร ของเช้อื ไปในส่ิงแวดลอมได ถา กรณีสัตวป ว ยเปน โรคน้ีแบบเร้ือรงั จะสงั เกตไดย ากสตั วอาจมีไขเลก็ นอยแตมไี ขอ ยตู ลอดเวลา มีอาการบวมตาม ขอ โคนขา ตามทอ งและหนาอกบาง ตอมาผอมแหงลง ซึม เบอ่ื อาหาร ทรุดโทรงลงจนหมดกาํ ลังและตายไปในที่สดุ การปองกันและรักษา การปอ งกันโรคทําไดโ ดยการฉดี วัคซนี ปองกันโรค เพ่ือเปน การสรา งภมู ิคมุ กนั โรค ใหกับสตั วในทอ งถน่ิ ท่ีเคยมโี รคนร้ี ะบาด จาํ เปนจะตอ งทําการฉดี วัคซีนใหแกส ัตวใ นฟารม เปน ประจาํ ทุกป และถาในฤดูใดโรคนมี้ ักจะระบาดอยูเสมอแลว เมื่อใกลจ ะถึงระยะนั้นแลว ควรจะทาํ การฉีดวคั ซนี ใหไวก อ นหนา ทจ่ี ะถงึ ฤดดู งั กลาว การฉดี วคั ซนี ในแพะจะสามารถทาํ ไดตง้ั แตอายุ 4-6 เดอื น หรอื ระยะหลังจากทีห่ ยานมลูกแพะ และแนะนําใหท ําวคั ซนี ปองกนั โรคเปนประจํา ทกุ ป ในปจจบุ นั นี้พบวาพวกสารท่ีใชฉีดปองกนั โรคแอนแทรกซนีม้ อี ยมู ากมายหลายชนดิ เชน Serum, Bacterins และ Vaccines ซ่ึงการทีจ่ ะเลือกใชส ารชนิดใดฉดี ใหยอ มขน้ึ อยูกบั สภาพ ของทอ งถ่ินนัน้ ๆ แตว คั ซนี กน็ ับวา เปนวธิ ีการท่นี ยิ มใชก ันอยางแพรหลาย นอกจากนเี้ กี่ยวกบั การปองกันโรคน้นั ควรจะไดม กี ารกาํ จัดพวก เห็บ หมดั เหา ไร และแมลงตา งๆดวยเพ่อื เปน การปองกนั การแพรร ะบาดของโรค โดยเฉพาะอยางยงิ่ ในฤดทู ีม่ แี มลงชุกชมุ และเม่อื เกิดมีโรค ระบาดเกดิ ขนึ้ ในสตั วฝงู ใดแลว หา มไมใหมกี ารเคลือ่ นยา ยสตั วอ อกจากพ้นื ที่น้ันและจะตอ งทาํ การกกั สัตวไวท นั ที รวมถึงพวกผลติ ผลตา งๆที่ไดจ ากสัตว เชน เน้ือ นม หนัง ก็หา มนาํ ไป จาํ หนายอยา งเด็ดขาดจนกวาจะมั่นใจไดวา การระบาดของโรคสงบลงและไมมีการแพรเช้อื แลว เนอ่ื งจากโรคแอนแทรกซเ ปนโรคท่ีติดตอ ถึงคนไดด งั นั้นจึงจาํ เปนตองใหค วามเอาใจใสแ ละเฝา ระวังใหมาก ถา หากสงสยั วา สตั วต ายดว ยโรคนีไ้ มค วรทําการชาํ แหละซาก แลเ นือ้ หนัง หรือ สมั ผสั ถูกซากท่สี งสยั นัน้ เดด็ ขาด แตค วรเผาหรือทาํ การฝงซากใหล กึ แลว โรยดว ยปนู ขาว และ ถา หากมเี ลือดปนเปอนกระจายอยบู นพ้นื ดินตอ งชะลา งดวยน้าํ ยาฆา เช้ือโรคใหส ะอาด เพื่อจะ เปนการปอ งกนั การแพรก ระจายของโรค และเมอ่ื มสี ตั วป วยหรอื ตายตอ งแจงใหเจาหนาทีฝ่ าย ปกครองในทอ งทห่ี รือสตั วแพทยทราบโดยเรว็ ตามขอกําหนดในพระราชบญั ญตั ิโรคระบาดสัตว พ.ศ.2519 การรักษาในกรณที ี่สตั วเ ริม่ มอี าการปว ย และสงสยั วา เปนโรคแอนแทรกซส ามารถ รักษาโดยการฉีดยาปฏชิ วี นะซงึ่ ไดผลบางในระยะเริม่ แรกของโรคเมอื่ สัตวป วย ควรฉีดวัคซีน ปองกันโรคแกแพะและฉีดซาํ้ ทุกปอ ยา งสมา่ํ เสมอ AT 335 133

โรคแทง ตดิ ตอ (Brucellosis) โรคแทง ติดตอ (Brucellosis) เปนโรคตดิ ตอทางระบบสบื พนั ธทุ ท่ี ําใหเกิดอาการ แทง รกคาง มดลูกอักเสบ อัณฑะอักเสบ ขอ อกั เสบ และเกิดมีปญหาเกี่ยวกบั การผสมพนั ธุ พบไดท ง้ั ในโค กระบอื แพะ แกะ สกุ ร และยงั เปนโรคท่ีสามารถเกดิ ไดทง้ั เพศผแู ละเพศเมีย และสามารถตดิ ตอ มาสคู นได (Zoonosis) โดยผปู ว ยอาจมไี ขส ูงๆตาํ่ ๆ (Intermittent fever) อยู ตลอดเวลาหรอื รูสึกมีอาการรอ นๆหนาวๆ (Undulant fever) ผวิ หนงั ท่ีสัมผสั กับเชือ้ โรคเกดิ เปนแผลพพุ อง อักเสบเปน หนอง เจ็บปวดท่ีขอ และปวดเมอื่ ยกลา มเนอื้ อยา งรนุ แรง สาเหตขุ องโรค เกิดจากเชอ้ื Brucella abortus และ Brucella melitensis การตรวจวนิ ิจฉยั หาเชอ้ื ดวยวธิ ที างชวี ภาพทาํ ไดโ ดยการแยกเชื้อทเ่ี ปนสาเหตขุ องโรคจากการเ พาะเช้อื จากตวั ออ นที่ตาย เศษรก หรือส่ิงคัดหลงั่ จากระบบสบื พนั ธเุ พศเมีย สว นวธิ ีการตรวจ เลอื ดโดยการตรวจการตกตะกอนของเลอื ดดวยวิธี Blood agglutination tests, Precipitation tests และ Complement fixation tests เปนวิธที เี่ ช่อื ถอื ไดแ ละสามารถทําไดกับแพะทส่ี งสยั วาเปนพาหะของโรค (Carrier) ไดโดยอาศยั หลักการของระบบการสรา งภูมิคุม กนั ของตัวสตั ว เมอื่ สัมผสั เชอ้ื โรคหรอื ตดิ เชอ้ื แลว วธิ กี ารตรวจการตกตะกอนของเลอื ดทําไดโดย กรณที ี่เลอื ด (Whole blood) ทไ่ี ดจากสัตวป ว ยจะมแี อนติบอด้ี (Antibody) ท่รี า งกายสตั วส รา งข้นึ ตอบสนอง หลังจากการรับเชื้อ เมื่อนาํ ไปผสมกบั แอนติเจน (Antigen) ซงึ่ เปน สารแขวนลอยของ Brucella organisms แลวจะเกิดการตกตะกอนของเม็ดเลอื ดแดงใหเ หน็ ภายใน 2-4 วินาที การติดตอของโรค สัตวจ ะติดโรคนี้ไดจากการสัมผัสกับอาหารและสิง่ ที่ปนเปอ น เชอื้ โรคแทง ตดิ ตอ จากส่ิงที่ขบั ออกมาจากสัตวป วยทีแ่ ทง ลูก ซากลกู ที่แทง ออกมา หรือจากสิ่ง คัดหล่ังจากอวัยวะเพศ เชอ้ื โรคสามารถเขา สตู วั สตั วไ ดท างผิวหนงั ทีม่ ีบาดแผลหรอื บริเวณเยื่อ เมอื กออนทัว่ ไปและจากการกนิ อาหารทีม่ กี ารปนเปอนของเชอ้ื โรคได แตช อ งทางสําคญั ยิ่งของ การติดตอ โรคน้ีคอื การผสมพันธุ หรือการตดิ เชือ้ จากคนรีดนมท่นี ําเชือ้ จากน้ํานมไปตดิ ตวั อื่น ในระหวางขนั้ ตอนการรดี นม สวนในคนมักจะติดโรคไดจากการกนิ อาหารทมี่ ีเชอ้ื หรือไมไดทํา การฆา เชอ้ื เชน นม เนย หรอื การจบั ตอ งสมั ผสั ผลิตภณั ฑส ตั วท ป่ี นเปอ นเชื้อ อาการของโรค โดยทั่วไปแลว สตั วท ี่ปว ยหรอื ไดร บั เชือ้ น้นั ในขน้ั แรกอาจจะไมม ี การแสดงออกของโรคใหเ หน็ สตั วจ ะมสี ุขภาพสมบรู ณเหมือนปกติทุกอยา งเวนเสียแตเมื่อสตั ว ตัง้ ทอ งจะพบวามอี าการแทง เกิดขนึ้ หรือรูส ึกวา อัตราการแทงเกดิ ขน้ึ บอ ยขึ้นในฝงู อาการแทง ทีพ่ อจะสงสัยไดวาเกิดจากภาวะการติดเชือ้ บลูเซลลา คือ ลกู สัตวท ีแ่ ทงออกมานน้ั สวนมากจะ แทง ในระยะ 2 เดือนสุดทายของการต้ังทองแตอ าจพบแทงในระยะกลางของการตง้ั ทองไดห รอื แพะอาจคลอดลูกออกมาไดส าํ เรจ็ แตล ูกทีไ่ ดจะออ นแอหรอื ตายแรกคลอด นอกจากนแ้ี ลว ยงั จะ AT 335 134

พบวาแมแพะมอี าการรกคางเกิดข้นึ หลังจากคลอด มดลกู อกั เสบ หรือผสมติดยากในสดั ครั้ง ตอๆไป มสี ิ่งคัดหลงั่ ไหลจากอวยั วะเพศในปริมาณมากและมนี านหลายวัน สว นการใหนมของ แมแพะจะลดลงมาก ในกรณขี องสตั วต วั ผูจะพบอาการของลูกอัณฑะอกั เสบ อัณฑะบวมใหญ ลูกอัณฑะเกดิ มฝี ห นอง ไมมคี วามกาํ หนัด เปนหมัน ขอ บวมอกั เสบ ขาแขง็ เจบ็ ขาและขอ เดนิ กะเผลก และอาจเปน อัมพาตไดชัว่ คราว สวนในคนหากไดร ับเชอ้ื นีจ้ ะพบวา มีอาการเปนไข หนาวๆรอนๆ (Undulant fever) ออนเพลยี เบ่ืออาหาร ทองผกู ปวดตามขอ ปวดหวั และคอ การปองกนั และรักษา โดยปกติแลว เช้ือนจ้ี ะคอ นขางทนตอ สภาวะแวดลอ มไดด ีหรอื ในสภาพทีแ่ หง แตก็ สามารถจะถูกทาํ ลายไดโ ดยการใชยาฆา เช้ือทีม่ ีใชอยูทว่ั ไป หรือโดยกระบวนการพาสเจอรไ รซ (Pasteurisation) เช้อื พวกบลเู ซลลา นจี้ ะพบมากในลกู แพะทีแ่ ทงออกมา และอยูก บั สิ่งขับถา ย ที่แมแพะขบั ออกมา เชน ส่ิงคดั หล่ังจากอวัยวะเพศ พวกเย่อื เมอื กตา งๆ และรก นอกจากนี้ยัง พบเชื้อน้มี ากในเตา นม ตอ มเพศ มาม ตบั ไต เลอื ด ขอ ตอตางๆ และตอมนํ้าเหลือง อกี ทั้ง เชอ้ื ยงั สามารถปนเปอนอยกู ับนา้ํ อาหาร หญา ดงั น้นั หากแพะในฝงู เกดิ แทงข้ึนเนื่องจากเช้ือ บลูเซลลา แลว ซากของลกู แพะที่แทง รวมถงึ สิง่ ขับถา ยจากแมแพะตอ งทาํ ลายและฝง ใหล กึ เพอื่ ปองกนั การกระจายหรอื ปนเปอ นไปกับน้าํ อาหาร หญา และจะตอ งมีมาตรการปอ งกนั การแพร เชือ้ ทางระบบสืบพนั ธุโดยการตรวจเลอื ดเปนประจาํ ทกุ ป ในปจจบุ นั นี้ยงั ไมม ยี าใดรักษาโรคน้ไี ดดงั นนั้ จึงควรคํานงึ เสมอวา ทางทด่ี ีที่สุด คอื เมอื่ ตรวจพบวาแพะตวั ใดในฝูงปวยเปน โรคนีค้ วรแยกออกจากฝูงและทําลายเพอื่ ปองกนั ไมใ หแ พรเ ช้อื ไปยงั แพะตวั อืน่ ในฝงู ได และมาตรการในการปอ งกันการแพรข องโรคแทงติดตอ มีดงั น้ี 1. ทําการตรวจเลือดสตั วใ นฝงู เปน ประจําทกุ ป 2. แยกสตั วท พ่ี บวา ตดิ เชอื้ โรคแทงติดตอออกไวต างหาก 3. รักษาความสะอาดในบริเวณคอกอยา งสมํ่าเสมอ 4. มกี ารใชย าฆาเชื้อที่เหมาะสมทาํ ความสะอาดคอก 5. เมอื่ มีแมแพะจะคลอดควรแยกเขาคอกคลอดตา งหาก 6. มกี ารดูแลเรือ่ งของนํ้าและอาหารที่จะใหสตั วกนิ น้นั ตองแนใ จวาปลอดจากโรค 7. ลกู แพะอายตุ ง้ั แต 3-8 เดือน ควรจะฉดี วคั ซนี ปองกนั โรคแทงตดิ ตอ ซ่งึ วคั ซนี ทีฉ่ ดี นไี้ ม เพยี งแตจะชว ยปอ งกันการติดโรคในฝูงสตั วไดเ ทา น้ัน แตย งั สามารถชว ยในการจาํ กัด การแพรก ระจายของโรคมาสคู นไดอ กี ดว ย 8. แพะทจี่ ะนาํ เขา ฝูงเพอื่ การขยายพันธนุ นั้ ควรจะไดรับการตรวจแลว วา ปลอดจากโรคน้ี AT 335 135

ภาพที่ 8.1 ซากลูกแพะทแี่ ทง ออกมาจากแมแ พะท่เี ปน โรคแทง ตดิ ตอ ภาพท่ี 8.2 อาการอัณฑะอกั เสบและบวมนํ้าท่ถี ุงหุม อัณฑะในพอ พันธทุ ีเ่ ปนโรคแทง ตดิ ตอ (ทมี่ า: http://www.fao.org/docrep/003/t0756e/T0756E06.htm) AT 335 136

โรคมงคลอพษิ เทยี ม (Melioidosis) โรคมงคลอพิษเทียม (Melioidosis) เปน โรคที่ทาํ ใหเกดิ ตุม หนองในสว นของตอ ม นาํ้ เหลอื งและอวยั วะภายใน ลักษณะของหนองทเ่ี กิดขึ้นจะเปนหนองขน เหนยี วคลายครีมหรอื เนย หนองจะมีสเี หลอื ง หรือสเี หลืองอมเขยี ว ซงึ่ โรคนีจ้ ะสงผลทาํ ใหส ัตวเ กดิ ความเจบ็ ปวดเปน อยางมาก และอาจลุกลามไปยังอวัยวะอนื่ ๆได เชน ขอ ขา ระบบประสาท และปอด เปน ตน ซ่ึงหากมีการลุกลามไปยังอวยั วะใดกจ็ ะทาํ ใหสัตวแ สดงอาการของโรคตามความเสยี หายทเ่ี กดิ ขึ้ นของอวยั วะทถ่ี ูกทําลายนน้ั สาเหตขุ องโรค เกิดจากเช้ือแบคทีเรยี ในกลุม Pseudomonas ท่ีมกั จะพบไดง า ย ในรางกายสตั วแ ละในสภาพแวดลอมคือ Pseudomonas pseudomalliei ซ่งึ สามารถพบการ ปนเปอ นของเชื้ออยูในดิน น้ําและในพ้นื ทมี่ สี ่ิงปฏิกูลสะสมอยอู ยางไมถ กู สุขลกั ษณะ เนื่องจาก เชือ้ นีค้ อ นขา งทนตอ สภาพแวดลอ มและจะมชี วี ติ อยูไดน านในสิ่งขับถาย เชน อุจจาระ ปส สาวะ จากสัตวทป่ี วยซง่ึ จะเปนสิ่งปกปอ งเช้ือจากสภาพแวดลอ มไดเปน อยางดี การติดตอของโรค สตั วจ ะไดรับเชอ้ื จากแหลง ตางๆท่ีปนเปอ นเช้ืออยูนน่ั คอื การ สมั ผัสกับดิน น้ํา สิ่งคดั หล่งั อจุ จาระ ปสสาวะของสัตวปว ยโดยตรง หรอื การทเี่ ช้ือโรคสมั ผัสถูก บาดแผล และเยื่อเมอื กออนของสตั ว โดยเฉพาะอยางย่งิ บาดแผลตามรา งกายของแพะท่พี บวา เกดิ ขึ้นไดง ายจากการบาดเจ็บมตี ะปูหรอื สิ่งของมีคมในคอกทม่ิ ตํา หรอื จากการทถี่ กู กงิ่ ไมแ ละ หนามเกีย่ วในระหวา งการแทะเล็มในทงุ หญา และจากการทีส่ ตั วก ินเชื้อแบคทเี รยี ทีป่ นเปอนมา กบั น้ําและอาหารโดยตรง อาการของโรค สัตวทป่ี วยดวยโรคน้จี ะพบวาเกดิ มีตุมหนองข้ึนท่ีตอมนํา้ เหลือง และอวัยวะภายในตางๆในรา งกาย โดยตุมหนองที่เกิดข้นึ นี้จะมีลกั ษณะเปน หนองขนสีครมี ถึง เหลืองอมเขยี ว และหนองจะขนคลา ยเนย อาการอนื่ ที่อาจพบไดใ นรายทป่ี ว ยแบบเรอื้ รงั คอื สตั วจ ะซบู ผอม ตาจมลกึ ออนเพลยี ผิวหนงั เหย่ี วแหง ขนหยาบ จมกู แหง มขี ี้มูกขต้ี ากรัง และ อาจพบอาการปอดบวมรว มดวย ในรายทม่ี ีการตดิ เช้ือเขา ไปในขอ จะพบวา แพะมีอาการขาเจบ็ ขอขาอกั เสบบวม เดินขากระเผลก และหากเชอ้ื ลกุ ลามเขา สูร ะบบประสาทจะทาํ ใหแ พะเกิดมี อาการทางประสาท เชน การเดนิ ไมส ัมพนั ธกนั เดินวน หรือเดนิ หมนุ เปนวงกลม คอเอียง การ กา วยา งผิดปกติ ทา เดินและการยืนจะไมส มดุล การปอ งกันและรักษา ในฟารม ทพ่ี บการตดิ ตอ ของโรคนข้ี ้ึนในฝงู อาจใชยาปฏชิ วี นะในการรกั ษา แตพบ วา การตอบสนองตอ การรกั ษาน้นั จะเกิดข้นึ ไดในชว งหน่ึง และหลงั จากหยุดยาอาการก็จะกลับ AT 335 137

มาอกี ซึง่ หากการรกั ษาไมไดผ ลอาจเกิดผลเสียในแงก ารกระจายของเช้อื โรคสสู ่ิงแวดลอมได ดงั นน้ั หากพบสตั วท ่ปี วยดว ยโรคมงคลอ พษิ เทียมจําเปน ตองคัดทง้ิ เพือ่ จํากัดการแพรกระจาย ของโรค และควรดูแลเรอ่ื งความสะอาดของคอก และบริเวณโดยรอบคอกแพะใหถ ูกสุขลกั ษณะ หากตอ งทาํ การรกั ษาแพะทม่ี อี าการตุมหนองหรือฝต อ งแยกออกมารักษา และทาํ ความสะอาด บาดแผล เศษหนอง รวมถึงบริเวณคอกโดยราดดวยน้ํายาฆา เชื้อสาํ หรบั ทําความสะอาดใหท ว่ั ภาพที่ 8.3 กอ นฝทีต่ อมน้ําเหลืองบริเวณใตค อของแพะ (ทม่ี า: http://www.sheep101.info/201/diseasesa-z.html) โรควณั โรคเทียม (Pseudotuberculosis or Caseous Lymphaadenitis) โรควณั โรคเทยี ม (Pseudotuberculosis หรือ Caseous Lymphaadenitis) เปน โรคที่ทําใหเกิดมอี าการของตุม หนองขนึ้ ทัว่ ไปตามผวิ หนังและตอ มน้าํ เหลอื ง ซ่งึ โรคนีจ้ ะมี การแพรกระจายอยูท่ัวไปในทองถน่ิ ท่มี ีการเลยี้ งแพะและแกะเปน จํานวนมากๆ และเปน โรคท่ี ติดตอ จากสตั วม าสูค นได (Zoonosis) จงึ ทาํ ใหต อ งมีการควบคมุ ดูแลสุขาภบิ าลเปนอยา งดี เพือ่ ปอ งกันโรคไดอยางมปี ระสิทธภิ าพไมใ หกลายเปน ปญ หาสาธารณสขุ เกดิ ขึ้นกบั ผูเล้ียง AT 335 138

สาเหตุของโรค เกดิ จากเชอื้ แบคทีเรยี Corynebacterium pseudotubercolosis และ C. ovis ทส่ี ามารถพบไดท่วั ไปในสิ่งแวดลอมทม่ี ีการเลีย้ งแพะและแกะเปน จํานวนมากโดย ทโ่ี รคจะมกี ารกระจายแฝงอยูท ่วั ไปในแหลง ที่อยูอ าศัยนัน้ หรืออาจมีการปนเปอนอยตู ามพนื้ ดิน พืน้ คอก โรงเรอื น รางนาํ้ รางอาหาร และในแปลงหญา ทีป่ ลอยใหแ พะลงแทะเล็ม การตดิ ตอ ของโรค เชือ้ แบคทเี รียนจี้ ะสามารถติดตอ สูตวั สัตวไดโดยการเขาทาง บาดแผลตามรา งกายของแพะท่เี กิดการบาดเจ็บจากตะปใู นคอกตํา หรอื จากการทถ่ี ูกกงิ่ ไมแ ละ หนามเกีย่ วในระหวา งการแทะเล็มในทุงหญา และจากการทีส่ ัตวกนิ เชือ้ แบคทเี รยี ทป่ี นเปอ นมา กบั นา้ํ และอาหารโดยตรง โรคน้ีจะทําใหม กี ารดาํ เนนิ ไปของโรค (Pathogenesis) เปน ไปอยาง ชา ๆนนั่ คือจะทาํ ใหสตั วม ีการแสดงอาการแบบเร้อื รัง ดังนน้ั จึงมักพบอาการของโรคในสัตวท ่ีโต แลว มากกวาพวกลูกแพะ อาการของโรค โรคน้จี ะทาํ ใหเ กิดมตี มุ หนอง ฝ บรเิ วณผิวหนงั และตอมนํา้ เหลือง ตุม ฝห นองทีเ่ กดิ ขึ้นน้นั อาจพบวามีทง้ั ขนาดเล็กและใหญ โดยเรมิ่ แรกอาจจะพบวาตุมฝห นองท่ี เกิดขึ้นมีขนาดเลก็ แลว ขยายขนาดใหญขน้ึ สามารถพบตมุ หนองไดท ัว่ ไปตามรางกาย เชน คอ หนาอก หัวไหล สีขา ง สะโพก ขา ขอเขา ขอ ศอก ไรกบี รวมถงึ ท่ีบรเิ วณซอกรักแร ผวิ ดาน ในของซอกขาหนีบ ซง่ึ ลกั ษณะหนองท่เี กิดขึ้นจะขน เหนยี วเปนครีมคลา ยเนยสีเหลืองปนเขยี ว และถา หากตมุ หนองนนั้ แตก หรือเกิดเปน ฝแ บบเรอื้ รังจะทําใหแ ผลบรเิ วณนั้นแหง แข็งเปนปน นอกจากนีย้ ังอาจพบการเกิดหนองท่ีอวัยวะภายใน เชน ตอ มน้าํ เหลอื งทใี่ ตผวิ หนัง บรเิ วณ ระหวางขวั้ ปอดทั้งสองขาง ตอ มนา้ํ เหลอื งในระบบทางเดินอาหารและเย่อื แขวนสาํ ไส โรคนอี้ าจ ไมกอ ใหเ กิดอาการรนุ แรงมากนกั หากไมเกิดหนองข้ึนทอ่ี วยั วะสําคัญ และการเกดิ อาการแบบ เรื้อรงั จึงทําใหแ พะเพยี งแคเกดิ ความออ นแอ ผอมแหง ผวิ หนังแหง หยาบ และถา แพะปว ยเปน เวลานานจะทาํ ใหแพะมีระบบภมู คิ ุมกันต่ําลง นอนซม ลุกขึน้ ยืนไมไ ด การปองกนั และรักษา กรณที ี่พบวา มีแพะปว ยดวยอาการเกดิ ตมุ ฝหนองขน้ึ ในฝงู ควรแยกแพะออกจากฝูงเพ่ือทําการรักษาโดยใชน ้าํ ยาฆา เช้ือชะลา งตมุ หนอง และตอ งทําความ สะอาดพน้ื คอกดวยน้าํ ยาฆา เช้อื รวมถงึ สว นของเศษหนองท่ีไหลเปอ นอยหู ลงั จากทําการรกั ษา นอกจากน้อี าจจําเปน ตองฉีดยาปฏชิ ีวนะใหแกแ พะท่ปี ว ย แตเ น่อื งจากโรคนี้เปนโรคเรอ้ื รงั และ เชอื้ โรคจะมีมากในกอ นของฝหนอง ยาจงึ ไมส ามารถแทรกซึมผา นเย่ือผังผดื ของกอ นฝเขาไป ยังเชือ้ โรคทีอ่ ยูในสว นหนองไดทาํ ใหการรักษาไมคอ ยไดผลนัก ดังน้นั การปองกนั การเกดิ โรค จึงเปน สงิ่ ท่ตี องคาํ นึงถึงทั้งในเรื่องของการรักษาความสะอาดและใชส ารเพอ่ื ฆา เชอ้ื บริเวณคอก พืน้ โรงเรอื น รางนํ้า รางอาหารอยเู ปนประจํา AT 335 139

ภาพที่ 8.4 การเกดิ ตมุ ฝห นองพพุ องทวั่ ไปตามรา งกายและใบหนาในแพะ (ที่มา: http://www.fao.org/docrep/003/t0756e/T0756E06.htm) ภาพท่ี 8.5 กอ นหนองทเ่ี กดิ ขึ้นที่อวัยวะภายในของแพะ (ท่ีมา: http://www.uoguelph.ca/~pmenzies/) AT 335 140

โรคขอ อกั เสบ (Arthritis) โรคขอ อักเสบ (Arthritis) เปนภาวะท่ีเกดิ การอักเสบของขอขา มกั เกิดมีอาการกับ ขอ ของขาขา งใดขา งหนึ่งทําใหส ัตวเ กิดความเจบ็ ปวดและบวมขึ้นอยางรวดเรว็ สาเหตแุ ละอาการของโรคขอ อกั เสบ โรคขออักเสบอาจเกิดไดจ ากหลายสาเหตุ แตจ ะทําใหม อี าการของการอักเสบ บวม ขอ จะรอ น และเกดิ ความเจ็บปวดของขอไดค ลายกนั โดยการอกั เสบของขอในแพะเกิดไดทง้ั แบบการอกั เสบแบบไมต ดิ เชอื้ และแบบตดิ เชื้อ ซึ่งแบบ ที่ไมต ิดเชือ้ อาจเกิดจากการกระทบกระแทกบาดเจบ็ หรอื การใชง านหนักเกินไป เชน เดิน วงิ่ มากเกนิ ไป รวมถึงพฤตกิ รรมของตัวแพะเองทจ่ี ะชอบปน ปา ย กระโดดไปมา หรือมกี ารตอสูก ัน เองเกิดข้นึ ภายในฝงู และการกระโดดเพ่อื ทาํ การขนึ้ ผสมของพอ พันธทุ ยี่ ืนอยูบนพ้นื ที่ไมเรียบ ทําใหม อี าการปวดบวมและการอักเสบของขอ เกิดขึ้น กรณขี องลกู แพะทม่ี กี ารสะสมแคลเซยี ม ในกระดูกและขอผิดปกติไปจะพบวาขอ ขามกี ารบวมผดิ รูปรา ง กระดูกขาออน (Rickets หรอื Osteopetrosis) ทําใหล ูกแพะยนื ไดล าํ บาก และมกี ระดกู ขาทเี่ ล็ก แนวกระดกู บิดงอ สว นแพะที่ มอี ายุมากจะพบอาการอักเสบบวมของขอ จากสาเหตภุ าวะความเสือ่ มของขอ (Degenerative osteoarthriitis) ท่เี กิดขึน้ ตามอายตุ ามการใชง านและความสกึ หรอของรา งกาย สาเหตุจากการตดิ เชื้อนั้นมที ้งั แบบทตี่ ดิ เช้ือแลวทาํ ใหเกดิ เปน หนอง และแบบทไี่ ม เกิดหนอง โดยการตดิ เช้อื พวก Chlamydia มกั ทาํ ใหเ กิดการอกั เสบแบบไมเกดิ หนอง ซึ่งมัก พบในแกะ สวนแพะกอ็ าจพบการเกดิ โรคจากเชอื้ นไ้ี ดบา ง นอกจากนก้ี ารอักเสบของขอทพี่ บ ไดใ นลูกแพะแรกเกดิ และแพะรนุ อาจมสี าเหตุเกดิ มาจากการติดเชื้อกลมุ Mycoplasma spp. การติดเช้อื ท่ีขอ แบบทีท่ ําใหม ีหนองมักจะเกดิ ไดจ ากเช้อื แบคทเี รยี หลายชนิดทพี่ บอ ยูทว่ั ไปในสภาพแวดลอ มรอบตัวสตั ว เชน Streptococcuc spp., Staphylococus spp. และ Corynebacterium spp. เปน ตน การตดิ เชอื้ ทข่ี อนน้ี อกจากจะทาํ ใหแ พะมีอาการของขออักเสบ บวม เจบ็ ปวดและเกิดหนองทขี่ อแลว ยงั ทาํ ใหแพะมีไข ซึม เบื่ออาหารและออ นเพลยี อกี ดว ย การปองกนั และรักษา โรคขอ อกั เสบสามารถใชย าฉีดเพอื่ ลดอาการอักเสบของ ขอ โดยยากลุมทีน่ ิยมใชเ ปน กลุม ยาแกปวดลดบวมพวก Steroid หรือ NSAIDs กไ็ ด สวนกรณี ของการอักเสบแบบติดเชอ้ื ตองทาํ การรกั ษาขอโดยการดดู เอาฝห นองออกจากขอ ลางทําความ สะอาดแผลดว ยนํา้ ยาฆาเชอื้ จากนั้นควรฉีดยาลดอกั เสบและยาปฏชิ วี นะท่มี ีการออกฤทธ์แิ บบ วงกวา งใหแ กแ พะ และควรแยกแพะทม่ี ีอาการขอ อักเสบกกั ไวในคอกเพื่อลดการออกกําลังกาย ทาํ ใหสตั วไดพ กั การใชข าระยะหนง่ึ ตามความรนุ แรงของอาการ ซึ่งสว นใหญตอ งทําการรกั ษา ตดิ ตอกนั เปน ระยะเวลาอยา งนอ ย 1 สปั ดาห AT 335 141

ภาพที่ 8.6 อาการขอ บวมอักเสบในแพะ โรคลําไสอักเสบเปนพิษ (Enterotoxemia) โรคลาํ ไสอักเสบเปนพษิ (Enterotoxemia) เปน โรคท่ีพบไดทว่ั ไปทุกทอ งถิ่นและ ทาํ ใหเกิดความเสียหายรายแรงแกแ พะไดท ุกชว งอายุ โดยเฉพาะลกู แพะท่โี รคนมี้ กั เปน สาเหตุ หลกั ที่ทําใหมอี ัตราการปว ยและตายอยูเสมอ สาเหตขุ องโรค เกิดจากเชอ้ื แบคทีเรียพวก Clostridium spp. โดยเฉพาะอยางย่งิ เชือ้ Clostridium perfringens ซ่ึงเปน แบคทีเรยี แกรมบวกที่สามารถสรางสปอรแ ละสรางสาร พษิ กลุม Enterotoxin ได เชอ้ื แบคทเี รียนสี้ ามารถเจริญไดด ใี นทที่ ีป่ ราศจากออกซเิ จน และมี การแบงตัวไดใ นระยะเวลาอนั สน้ั หลังจากท่มี ีการตดิ เชอื้ เขา ไปในระบบทางเดินอาหาร ซ่งึ เปน แหลงที่เหมาะสมในการเจรญิ เตบิ โตของเชอื้ การตดิ ตอ ของโรค เช้ือแบคทเี รียพวก Clostridium spp. อาจพบไดวาปนเปอ น ในอุจจาระของสตั วเ คีย้ วเออ้ื งพวกโค กระบือ และหากอยใู นดนิ กจ็ ะสามารถดาํ รงชีวติ และสรา ง สปอรป กปอ งตวั เองทําใหทนตอ สภาพแวดลอมทไี่ มเหมาะสม และยังคงความสามารถของการ ตดิ เช้ือไวไดน าน แพะไดรบั เชื้อเขาไปไดจากการกนิ อาหารทีป่ นเปอ นเชื้อหรอื อาหารที่บูดเนา เมอ่ื เชือ้ เขา สรู ะบบทางเดนิ อาหารของสัตวแ ลว จะเกิดการเพิ่มจํานวนขึ้น นอกจากน้เี ช้อื โรคยงั AT 335 142

สามารถสรางสารพิษอนั เปน สาเหตุทที่ ําใหเกดิ การดูดซมึ สารพษิ เขา สรู างกายสัตวจนเกิดภาวะเ ลือดเปนพิษและทาํ ใหสตั วต ายอยา งกระทันหนั อาการของโรค การแสดงอาการของโรคน้นั อาจขึ้นอยกู ับความรุนแรงของภาวะ การตดิ เช้ือ การดดู ซึมสารพษิ ท่ีเชือ้ แบคทเี รยี นสี้ รางข้นึ เขาสูรา งกายและอายุของแพะ โดยอาจ มอี าการแบบเร้อื รงั คือ พบอาการไดตง้ั แตแพะจะซึม เบอ่ื อาหาร มึนงง กลามเนอื้ ออ นเปล้ีย ขาทงั้ 4 ขางไมมีแรง เดินโซเซ เดนิ ไมสมั พันธก นั ทอ งเสยี มไี ขส ูงๆตาํ่ ๆอยูนานเปน หลาย สัปดาห นาํ้ หนกั ลด แพะทอ่ี ยูในชว งการใหน มจะพบวาใหนมลดลง ในแพะทีอ่ ายนุ อ ยหรือมี การดดู ซมึ สารพิษจากเช้อื แบคทเี รียเขา ไปจะทําใหเกดิ อาการแบบเฉยี บพลัน คอื แพะจะซมึ นอนซมและตายอยางกระทันหนั การปองกันและรกั ษา โรคนีส้ ามารถปอ งกนั ไดด ว ยการฉดี วัคซีนซง่ึ เปน ท่นี ิยม ทํากันในตางประเทศ แตใ นประเทศไทยเรานั้นยังไมเ ปน ทน่ี ยิ มนกั จึงมีเพยี งแตมาตรการทใี่ ช ในการปอ งกันการเกิดโรคโดยการจดั การสุขาภิบาลทดี่ ี มีการรักษาความสะอาดคอก โรงเรอื น และการจดั การสง่ิ ปฏกิ ูลอยา งถูกสุขลักษณะเพ่ือปอ งกันไมใ หเปน แหลงสะสมของเช้ือ นอกจากนตี้ อ งใสใ จในเร่ืองของการจดั การดา นการใหอ าหาร โดยตอ งจัดหาอาหาร ที่สะอาดไมเ กดิ การบูดเนาหรือเกา เก็บ และตอ งหมน่ั เกบ็ อาหารทแ่ี พะกินเหลอื ในแตล ะวันออก เพื่อไมใหเ กดิ การเนาเสียเปน แหลง ของเชอ้ื โรคได ภาพที่ 8.7 ความเสียหายในระบบทางเดนิ อาหารของแพะจากโรคลําไสอกั เสบเปนพิษ (ท่ีมา: http://www.fao.org/docrep/003/t0756e/T0756E06.htm) AT 335 143

โรคคอบวม (Hemorrhagic septicemia) โรคคอบวม (Hemorrhagic septicemia) เปน โรคติดตอ ในปศสุ ัตวท ่รี า ยแรงอกี โรคหนง่ึ ซึ่งโรคน้เี กิดขน้ึ ไดท ้ังโค กระบือ แพะ แกะ สุกร เปนโรคระบาดทเี่ กดิ ขน้ึ เกือบทกุ ฤดู โดยเฉพาะอยางยงิ่ ในชว งฤดฝู นทมี่ สี ภาพอากาศเปลยี่ นแปลงบอยสง ผลตอสขุ ภาพของสตั วท าํ ใหเกดิ ความเครียด และระบบภูมิคมุ กนั ของรา งกายลดตํา่ ลงก็จะทาํ ใหมกี ารระบาดของโรคได สาเหตุของโรค เกดิ จากเช้ือแบคทเี รียช่ือ Pasteurella multocida ซ่งึ เปน เช้ือท่ีจะ ไมก อ โรคหากรา งกายของสัตวน ้ันมสี ขุ ภาพดี ซึ่งระบบภมู ิคมุ กนั ของรา งกายสตั วจะสามารถ ควบคุมเชอ้ื ไวไ มใหม กี ารเพิ่มจํานวนและกาํ จัดเชอื้ ออกไปจนไมทําใหเ กดิ โรค การตดิ ตอ ของโรค การระบาดของโรคมกั เกิดข้นึ ไดใ นชว งทส่ี ตั วเกิดความเครยี ด และออนแอ เชน การเปลีย่ นแปลงของสภาพภมู อิ ากาศ โดยเฉพาะในชว งเปลี่ยนฤดูจากชว ง หนาฝนเขาสหู นา หนาว หรอื ในระหวางการขนยายสตั วท จ่ี ะทําใหส ตั วเ กดิ ความเครียดจากการ ปรับตวั ในสภาพแวดลอมใหมๆ ถงึ แมวา โรคน้สี ามารถเกดิ กบั สตั วไ ดห ลายชนดิ แตโรคนี้จะกอ ความรนุ แรงกับกระบอื มากกวาในแพะ การตดิ ตอ สว นมากแพะจะไดร บั เช้อื ผานทางอาหารและ นํา้ หรือจากการสัมผัสคลุกคลกี บั สัตวป วยจากการเลีย้ งสตั วใหอ ยใู นสภาพพ้ืนทค่ี ับแคบ และ อยอู ยา งแออัดหนาแนน เกินไป รวมทัง้ การถายเทอากาศในคอกไมด ี เปนตน อาการของโรค จะพบวา แพะมีอาการบวมนํ้าตามผวิ หนังที่บริเวณแกม ใตคาง ลาํ คอ เกดิ ความเจบ็ ปวดบรเิ วณทบ่ี วม สวนทบี่ วมจะมีลกั ษณะเปนกอนแข็ง คลําดรู ูสกึ รอน แพะจะหอบหายใจถี่ขึ้น และมอี าการหายใจลําบาก มนี ้าํ ลายไหลมากกวาปกตหิ รืออาจเห็นวา นา้ํ ลายฟมู ปากและมีของเหลวไหลยอยออกมาทางรูจมูก เยือ่ ตาอกั เสบแดง น้ําตาไหล มีไขสูง เบ่อื อาหาร ออ นเพลยี แพะทก่ี าํ ลังใหนมจะใหนมลดลงอยา งเหน็ ไดช ดั บางตวั อาจมีอาการ ทอ งผกู แตบ างตัวอาจพบวา ทองรวง ในรายทม่ี กี ารตดิ เชื้อรุนแรงจะนอนซมึ และในทีส่ ดุ กต็ าย สตั วท ี่อายุนอยจะตายเรว็ สวนสตั วท่ีมีอายมุ ากจะตายภายใน 4-6 วัน ในรายทเ่ี ปนแบบเรือ้ รัง มักพบวา แพะจะมีอาการถา ยเหลวเรอื่ ยๆแตไ มร นุ แรง ซบู ผอมลงและตายภายใน 3-4 สัปดาห การปองกนั และรกั ษา การควบคุมการแพรเ ชือ้ ทีด่ ีทีส่ ดุ คอื จะตอ งจัดการเกย่ี วกับ สขุ ภาพของสัตวใ หสมบรู ณแ ขง็ แรง และพยายามหลกี เลย่ี งมิใหส ัตวไดร ับการกระทบเทอื นจาก สภาพแวดลอมทไ่ี มดี หรอื ทําใหสตั วเกิดความเครียดอยูเปนเวลานาน เชน ปลอ ยใหแ พะขาด อาหารหรอื กระหายนาํ้ เปนเวลานาน การกกั ขังสัตวในคอกกไ็ มควรใหหนาแนนเกินไป และเมอ่ื มีการนาํ สตั วเขามาใหม ควรจะกกั ไวในคอกกักสตั วช ั่วระยะเวลาหน่งึ กอนท่ีจะปลอ ยใหร วมฝงู เพ่อื ทเี่ ปน การใหเวลาแกส ัตวต วั ใหมในการปรบั ตวั และยังชว ยปอ งกันการนําโรคเขา มาในฝงู หากวา สตั วน น้ั เปน พาหะนาํ โรค AT 335 144

กรณีพบสตั วท มี่ ีอาการปว ย หรอื สงสยั วาเปนโรคคอบวมตอ งแยกสัตวอ อกจากฝงู ทนั ที ควรทําความสะอาดคอกดวยนาํ้ ยาฆาเช้ือและอยาใหสตั วอยูใ นทชี่ ื้นแฉะ จดั คอกใหมกี าร ระบายอากาศทด่ี ีถายเทไดส ะดวก และทาํ การฉีดวคั ซนี เพ่ือสรา งภมู คิ มุ กนั โรคใหก บั สตั ว โดย ฉดี วัคซีนในลกู แพะหลังหยานมและควรทําซาํ้ อยา งนอยปล ะ 2 ครง้ั โรคปอดบวม (Pneumonia) โรคปอดบวม (Pneumonia) เปนโรคทีเ่ ก่ยี วของกบั ระบบทางเดนิ หายใจทีพ่ บได บอย ในสภาวะอากาศทห่ี นาวเย็นและชน้ื เกนิ ไป หรอื การเลยี้ งแพะในคอกทีห่ นาแนน จนทาํ ให การระบายอากาศเกดิ ข้ึนไดล าํ บากและมีการหมกั หมมของอจุ จาระ ปสสาวะ ทําใหมีกลนิ่ เหมน็ ของแอมโมเนียสะสมอยู ซง่ึ จะทําใหเกิดการระคายเคอื งระบบทางเดินหายใจของแพะได สาเหตุของโรค ในขนั้ แรกอาจเกดิ จากการตดิ เชอื้ ไวรัสและมีการตดิ เชื้อแบคทีเรยี แทรกซอน (Secondary infection) หรอื เกดิ จากการตดิ เชื้อแบคทเี รียโดยตรงซ่ึงเชื้อแบคทเี รีย กอโรคพบไดห ลายชนดิ เชน Pasteurella spp., Streptococus spp., Staphylococus spp. และ Hemophillus spp. เปน ตน การติดตอของโรค สว นใหญเกิดจากการหายใจเอาเชอื้ เขา ไปโดยตรง นอกจาก น้ยี งั เกิดจากการที่แพะสมั ผสั คลุกคลกี บั สตั วปว ย อยูในแหลงทีอ่ ยอู าศัยเดยี วกันอยา งหนาแนน ไมม กี ารระบายอากาศทีด่ ีทาํ ใหเชือ้ โรคลอ งลอยปนเปอ นอยูในอากาศ อาการของโรค โรคน้ีจะทาํ ใหเ กดิ มอี าการปอดชืน้ มีน้ําหรอื หนองค่ังอยูใ นปอด ทําใหมอี าการปอดบวมและปอดอักเสบ รวมถึงอาจเกดิ การอักเสบทห่ี ลอดลมทําใหแพะหายใจ ลาํ บาก หอบ มีขี้มูกขต้ี ากรงั ไอและจามบอ ยๆ แพะจะซมึ เบอ่ื อาหาร นํ้าหนักลด ลกุ ล้ลี กุ ลน เนอ่ื งจากการหายใจท่ลี าํ บากทาํ ใหไ มส ามารถไดรบั ออกซเิ จนเตม็ ที่ บางคร้งั แพะไมยอมนอน ตอ งยนื กางขาหอบหายใจแตหายใจไดต น้ื ๆ และหายใจเสยี งดงั รายที่มกี ารติดเช้อื รนุ แรงอาจ เกิดการอกั เสบและมีหนองทีต่ อ มนํ้าเหลอื งในชองอก (Mediastinal lymph nodes) รวมดว ย การปองกันและรกั ษา การควบคมุ ปอ งกนั โรคควรเนนดา นการสขุ าภบิ าลและ การรักษาความสะอาดของคอกและโรงเรอื น มีการถายเทอากาศทดี่ ี ควรมผี าใบกันลมกันฝน ในชว งทมี่ ีสภาพอากาศแปรปรวนชว ยปอ งกันไมใ หแพะเปนหวดั ไดง า ย หากพบแพะทปี่ ว ยเปนโรคปอดบวมควรนาํ แพะมาใหอ ยูในทอี่ บอุน การรักษาจะ ทําการรกั ษาตามอาการคอื ในกรณที ี่แพะมีการตดิ เชอ้ื แบคทีเรยี ในปอดจะฉีดยาปฏชิ ีวนะใหกบั แ พะติดตอกนั อยา งนอย 4-5 วนั จนกวาแพะจะมอี าการดีขนึ้ AT 335 145

โรคตดิ เชื้อไวรัส โรคท่เี กดิ จากเชอ้ื ไวรสั เปน โรคท่ีไมม ยี ารักษาแตสามารถปองกนั ไดโดยการรักษาคว ามสะอาดของคอกและโรงเรอื นแพะใหสะอาดและควรใชนํ้ายาฆาเช้อื โรคอยูเสมอ เพราะวา เช้อื ไวรสั จะถกู ทาํ ลายไดงา ย และไมสามารถทนตอสภาพแวดลอมไดน านหากอยูน อกตัวสัตว นอกจากนีส้ ัตวท ่ีมสี ขุ ภาพแขง็ แรงจะมีภูมิตา นทานโรคท่ดี ีไมทําใหเกดิ การตดิ เชอ้ื หรือปว ยงาย รวมถงึ ในปจ จบุ ันยังมวี ัคซีนท่ีใชใ นการปอ งกันโรคตา งๆที่ใชกันอยมู ากมายหลายชนดิ เพ่อื ชวยใ นการกระตนุ การสรา งภมู คิ ุมกันของรางกาย ซ่งึ วัคซนี ทีใ่ ชฉดี ใหก บั สัตวนนั้ สามารถทําใหเ กดิ การสรางภูมคิ มุ กันและปอ งกนั การตดิ โรคอยางไดผ ลดี โรคทเี่ กดิ จากเชอ้ื ไวรัสอันเปนปญหาสําคัญในการเลย้ี งแพะ ไดแก โรคปากและ เทา เปอ ย, โรคปากเปอ ยพพุ อง, โรคขอ และสมองอักเสบในแพะ เปน ตน โรคปากและเทาเปอย (Foot and mouth diseases; FMD) โรคปากและเทาเปอย (Foot and mouth diseases; FMD) เปนโรคติดตอ รายแรง ในสตั วกบี และเปน ปญ หาสําคญั ในวงการปศสุ ตั ว เนอ่ื งจากมีการระบาดไดอยา งรวดเรว็ หาก ไมมมี าตรการในการควบคมุ ปองกนั โรคและการกักสตั วท ี่เครง ครัด โรคนีจ้ ะทาํ ใหเ กดิ อาการที่ มลี กั ษณะเดนคอื มตี มุ ผดใสทป่ี ากและจะแตกกลายเปน แผลหลมุ ทําใหแพะเจบ็ ทปี่ ากแพะจงึ ไมสามารถกินอาหารได น้ําลายฟูมปาก เค้ียวเออ้ื งไมไ ด ตามกีบเทาเปนแผลและหนองทําให เทาเจบ็ จนแพะจะไมย อมเดินไปไหน โรคนอ้ี าจมีการตดิ ตอมาถงึ คนไดแตพ บวา มโี อกาสเกดิ ขน้ึ ไดนอ ยมาก สาเหตขุ องโรค เกดิ จาก RNA ไวรสั ในกลมุ Picorna virus มหี ลายชนดิ เชน type A, O, C, Asia 1 ซ่ึงแตละชนดิ จะไมม ีปฏกิ ริ ยิ าตอ กัน เนอื่ งจากเชือ้ ไวรสั จะไมสามารถ ดํารงชีวติ อยูไดดว ยตัวเองในสภาพแวดลอ มภายนอกตัวสตั ว จึงพบเชือ้ ไวรสั นอ้ี ยูในของเหลว เลือด น้ํานม ปส สาวะ สงิ่ ขบั ถายตา งๆจากสตั วท ป่ี ว ย และเนอื้ เยื่อท่หี ลุดลอกออกมาจากแผล หากมีสิง่ คดั หลั่งหรอื เนอ้ื เย่ือสตั วห อ หมุ ปกคลุมอยูเช้อื ไวรัสกส็ ามารถอยูไดน านขึน้ แตเ ชือ้ น้จี ะ สามารถถูกทาํ ลายไดงายเพยี งสัมผสั นํา้ ยาฆา เชือ้ อยางออ นหรือถกู แสงแดด จึงจาํ เปนอยา งย่ิง ท่ีเกษตรกรจะตองเนนหนักเร่อื งความสะอาดโรงเรือน อาหาร และนํ้า รวมถึงการสขุ าภิบาลทดี่ ี เพื่อเปน มาตรการในการปอ งกนั แพรร ะบาดของเชื้อไวรสั ปากและเทา เปอยอยา งไดผ ล การติดตอ ของโรค โรคนี้ติดไดงา ยและรวดเรว็ มากโดยการกินอาหาร หญา และ นา้ํ รว มกับสตั วป ว ย การคลกุ คลสี มั ผสั กนั โดยตรง หรอื การทลี่ กู ดูดนมจากแมที่ปวยดวยโรคนี้ รวมถึงการเคล่อื นยายสตั วท ่อี าจเปน พาหะของโรคจากแหลง หน่งึ ไปยังอกี แหลงสามารถทําให AT 335 146

เกดิ การแพรก ระจายของโรคไดงาย ดงั น้นั การเคล่ือนยา ยสัตวจ งึ จาํ เปนจะตอ งไดร บั การกกั กัน โรคและการรบั รองวาปลอดโรค อาการของโรค ลกั ษณะที่เปนอาการเดน ของโรคนค้ี ือจะพบวามตี มุ แดงเกิดขน้ึ อยู รอบๆริมฝป าก ภายในชอ งปาก เหงอื ก ลิน้ กระพุงแกม และรอบๆขอเทา ไรกบี หรือพบไดที่ หวั นม และเตานม แพะจะมีอาการไขร ว มดว ยนานประมาณ 3-6 วนั จากนัน้ ตมุ แดงจะมกี าร สะสมนาํ้ ใสๆและเริ่มแตกออก แผลทีเ่ กดิ จะพุพอง หนังหลดุ ลอกออกกลายเปน แผลหลุมขนาด ใหญลุกลามออกไป เมื่อตมุ น้ีแตกออกเปนแผลแลว จะทาํ ใหแ พะมนี าํ้ ลายฟูมปากอยูเสมอและ เจ็บปากจนทาํ ใหแพะกินอาหารและเคยี้ วเอือ้ งไมได รางกายซบู ผอมออนแอลงจนตายไปเอง สว นท่ีไรกบี กจ็ ะพบตุมท่ีแตกออกทําใหเ กดิ เปนแผลหลมุ ขนาดใหญ กีบและขอ เทา เปน แผล ทําใหส ัตวเ ดินไมสะดวกหรือเดนิ ไมได อาจมกี ารติดเชอื้ แบคทเี รยี แทรกซอนทําใหมี หนองและสรา งความเสียหายในเนื้อเยื่อชนั้ ทล่ี ึกลงไปจนถงึ กระดูกนิ้วเทา กบี เนา และหลดุ ออก มาได รวมถึงหากมกี ารติดเชือ้ ที่รนุ แรงอาจทําใหเ กดิ การตดิ เชอ้ื ในกระแสเลอื ดเกดิ ภาวะโลหติ เปนพษิ และตายได นอกจากนอ้ี าการอืน่ ๆทอี่ าจจะพบไดคือ ทเี่ ตานมจะแข็งเปนกอ นมีอาการคลา ยกบั เปนเตา นมอักเสบและเกดิ เปนแผลพพุ องทผี่ วิ หนงั ของเตา นม หวั นม ผลผลติ นาํ้ นมลดลงและ น้าํ นมทไ่ี ดเ กิดเปนหนองหรอื มเี ลือดและนาํ้ เหลอื งปนออก รวมท้งั อาจมีการแทง เกดิ ขึ้นได การปอ งกนั และรกั ษา โรคน้ีถือเปนโรคระบาดท่แี พรก ระจายไดร วดเรว็ และทํา ความเสยี หายใหแ กว งการปศุสตั วเปน อยา งมาก จึงจําเปนตองมีมาตรการท่ใี ชใ นการควบคมุ และปองกนั โรคนี้อยางเขม งวด โดยหากพบวามสี ตั วป วยดว ยโรคนี้ควรตองทาํ ลายสตั วแ ละฝง และมกี ารกักสัตวเ พื่อควบคมุ การแพรกระจายของโรค ในพืน้ ทเี่ มอ่ื มกี ารตรวจพบวาเกดิ โรคน้ี ระบาดแลว จะตอ งประกาศใหพ นื้ ที่นั้นเปน เขตกกั กนั สตั วข ้ึนทันที หามการเคลื่อนยายสตั วออก จากบรเิ วณนนั้ เนอื่ งจากโรคนเ้ี กิดจากเชื้อไวรสั จงึ ไมม กี ารรกั ษานอกจากจะใชการรกั ษาแบบพยงุ อาการน่ันคือ เม่ือพบอาการปว ยหรอื เกดิ บาดแผลทใ่ี ดก็ควรทาํ ความสะอาดบาดแผลดวยนาํ้ ยา ฆาเชือ้ และปายยามวงหรือใสย าทีแ่ ผลเพอื่ ปองกันการติดเชือ้ แบคทเี รยี แทรกซอ น และในราย ทีม่ ีอาการปวยรุนแรงหรอื มีไข ควรใหยาฉีดลดไขแ ละฉีดยาปฏิชีวนะใหเ พ่ือรักษาอาการตดิ เชอื้ แบคทเี รียแทรกซอน ปจจุบันวคั ซนี ทใี่ ชฉีดเพ่อื ปอ งกันโรคปากและเทา เปอ ยมีอยู 3 ชนดิ คือ type A, O และ Asia 1 ในฟารมแพะสามารถทําวคั ซนี ไดโ ดยฉดี วัคซีนในลูกแพะในชวงอายุ หลงั หยา นมและควรทาํ ซํา้ อยา งนอ ยปล ะ 2 ครงั้ AT 335 147

ภาพที่ 8.8 อาการปากเปอ ยแบบแผลหลมุ จากโรคปากและเทา เปอ ยในแพะ (ทม่ี า: http://www.foot-and-mouth-disease.com/.../symptoms.asp) ภาพที่ 8.9 อาการกบี และไรกบี เปน แผลจากโรคปากและเทา เปอยในแพะ (ท่มี า: http://www.foot-and-mouth-disease.com/.../symptoms.asp) AT 335 148

โรคปากเปอยพพุ อง (Contagious ecthyma) โรคปากเปอ ยพพุ อง (Contagious ecthyma) เปน โรคทท่ี ําใหเกดิ ผน่ื เม็ดตุมคลา ย ลมพษิ ขน้ึ ทบี่ รเิ วณรอบรมิ ฝป ากและเหงอื ก หรอื อาจพบไดท ีบ่ ริเวณเตา นม หัวนม และบรเิ วณ เยื่อออ นรอบๆทวารหนัก เม่อื ตมุ ผดนีแ้ ตกออกจะทําใหเกิดความเจบ็ ปวดมากจนทาํ ใหแ พะไม สามารถกนิ นํา้ และอาหารได สงผลถงึ ความออ นแอและรางกายทรดุ โทรมลงอยางมาก ในกรณี ทบี่ าดแผลเกดิ มีการตดิ เช้อื แทรกซอ นจากแบคทีเรียจะย่งิ เพม่ิ ความเสียหายแกบ าดแผลและตวั สัตวม ากขน้ึ ทําใหเ กิดภาวะตดิ เชือ้ เขา สกู ระแสเลือดได นอกจากน้โี รคน้ียงั เปน โรคติดตอจาก สัตวท ่ีสามารถติดสูค นได ซงึ่ ทาํ ใหเเกิดโรคผวิ หนงั และแผลพพุ อง สาเหตุของโรค โรคนี้มีสาเหตุมาจากการติดเชื้อไวรสั กลมุ Parapoxvirus ซ่งึ เปน เชือ้ ไวรัสในกลุมทีเ่ ขาทาํ ลายชนั้ เยอ่ื บุของผิวหนัง (Epitheliotropic parapoxvirus) โดยจะเขาสู ผวิ หนังและแบงตัวเพม่ิ จาํ นวนในสว นเซลลเคอราตนิ ของผิวหนงั (Keratinocyte) จนทาํ ใหเ กิด ความเสยี หายของเน้อื เยอ่ื และเกิดเน้ือตายหลุดลอกออก เชอ้ื ไวรัสชนิดนจ้ี ะมคี วามทนทานสงู หากอยูในเซลลห รอื เศษสะเกด็ แผลก็จะยงั มชี วี ิตและคงความสามารถในการกอ โรคได การติดตอ ของโรค โรคนี้ตดิ ไดง า ยและรวดเรว็ มากโดยการกินอาหาร หญา และ นํ้ารวมกับสตั วป วย การคลกุ คลีสัมผัสกนั โดยตรง การทลี่ ูกดูดนมจากแมทป่ี วยดว ยโรคนี้ หรอื ลกู ทีป่ ว ยดดู นมแมกจ็ ะแพรเชือ้ จากปากลูกสูเ ตานมของแมได รวมถึงการเคลอ่ื นยายสัตวทอ่ี าจ เปนพาหะของโรคจากแหลงหนง่ึ ไปยังอีกแหลง สามารถทําใหเ กิดการระบาดของโรคได อาการของโรค เม่อื มกี ารติดเชือ้ กจ็ ะทาํ ใหเ กิดตุม ผดสแี ดงข้นึ และกระจายลุกลาม ออกไปอยา งรวดเรว็ เมอื่ ตมุ น้ีแตกออกจะมเี ลือดและนา้ํ เหลืองไหลเย้มิ สตั วเ กดิ ความเจบ็ ปวด กินนํ้าอาหารไมไดจ นทาํ ใหรา งกายขาดอาหาร สขุ ภาพจะทรดุ โทรมและออนแอลงอยา งมากจน อาจทาํ ใหส ัตวห มดกําลงั และตายในที่สดุ ลกู แพะทม่ี แี ผลทปี่ ากก็จะดูดนมไดลาํ บาก และอาจจะ มไี ข ซึม ออ นแรงและตายไดงา ย การปองกันและรกั ษา โรคนเี้ ปนโรคท่มี กี ารระบาดไดอยา งรวดเรว็ และจะคงทน อยนู านทําใหเกิดเปน โรคประจําถน่ิ ไดงา ย จึงจาํ เปน อยางยิง่ ท่จี ะมมี าตรการในการปอ งกันโรค ไมใ หเ กิดข้นึ ในทองถนิ่ โดยการดูแลควบคมุ ในเร่ืองการเคลอ่ื นยา ยสัตวท ี่ปลอดจากโรคเขาสฝู งู อยา งเขม งวด และเมอื่ พบอาการปว ยหรอื เกดิ บาดแผลทีใ่ ดกค็ วรทําความสะอาดบาดแผลดวย น้าํ ยาฆาเช้อื และปายยามว งหรือยาใสแ ผลเพือ่ ปอ งกันการติดเชอื้ แบคทีเรยี แทรกซอ นแมโ รคนี้ จะไมก อ ใหเ กดิ ความรนุ แรงตอสตั วโ ตมากนักแตก ค็ วรจะดูแลปองกันไวกอ น โดยดแู ลเร่อื งการ รกั ษาความสะอาดและใชส ารฆาเชื้อท่พี น้ื คอก รางนาํ้ รางอาหารอยูเปนประจํา AT 335 149

ภาพที่ 8.10 อาการปากเปอยแบบแผลหลุมจากโรคปากเปอ ยในแพะ ภาพที่ 8.11 อาการปากเปอ ยแบบพุพองจากโรคปากเปอ ยในแพะ (ท่ีมา: http://www.cfsph.iastate.edu/.../ImageDB/imagesCE.htm) AT 335 150

โรคขอและสมองอักเสบในแพะ (Caprine Arthritis Encephalitis; CAE) เปน โรคท่ที ําใหเกดิ อาการเกยี่ วกบั ระบบประสาทในแพะทําใหแพะเกดิ อาการเดินไ มได ลม ลงนอนและลุกไมข้นึ คลา ยกบั เปน อมั พาต ซึ่งแพะมักจะมีการแสดงอาการปวยในชวง ฤดฝู น เนอื่ งจากความเครยี ด แตไวรัส CAE นี้ไมพ บวา มีรายงานการเกดิ โรคในคน สาเหตขุ องโรค เชอ่ื วา เกดิ จากเช้ือไวรสั Viral Leukoencephalomyelitis ซึ่งเปน เชอ้ื รโี ทรไวรสั (Retrovirus) ไวรัสกลมุ นีจ้ ะทาํ ใหเ กดิ โรคหลังจากใชระยะฟก ตวั เปนเวลานาน และเมือ่ สตั วไดรบั เชื้อเพียงครง้ั เดียวการตดิ เชื้อจะยงั คงอยไู ปตลอดชีวติ นอกจากนี้เชอ้ื ชนิดนี้ ยังกอใหเกิดอาการของขออักเสบในแพะ (Arthritic diseases) จงึ ทําใหม ีการเรียกกลมุ อาการ ของโรคทเ่ี กดิ จากเชือ้ ไวรสั ชนดิ นว้ี า Caprine Arthritis Encephalitis Syndrome (CAE) การตดิ ตอ ของโรค มกี ารรายงานวาแพะสามารถตดิ เช้อื นไ้ี ดตัง้ แตแรกคลอดโดย การทีล่ ูกแพะทเ่ี กดิ ใหมกินนมนา้ํ เหลอื งหรอื นมแมท ่ตี ิดเช้ือนี้ก็จะทาํ ใหลกู แพะติดโรคนีด้ ว ย แต หากลกู แพะทถี่ ูกแยกออกจากแมตงั้ แตแ รกเกิด และเล้ียงดว ยนมแพะ หรอื นมเทยี มจะสามารถ ควบคมุ การกระจายของเชอ้ื ได นนั่ แสดงใหเห็นไดว า ลกู แพะไมไ ดมกี ารตดิ เชื้อมาจากในมดลูก ชอ งคลอดหรอื ในระหวางกระบวนการคลอด แตจะตดิ เชือ้ นจ้ี ากการกนิ นมจากแมท่ตี ดิ เชอ้ื อาการของโรค การแสดงอาการของโรค CAE มีลักษณะอาการทเ่ี ดน ชดั 2 แบบ คือ อาการทางประสาทอนั เกิดจากความเสียหายท่สี มองและไขสันหลงั ซ่งึ มักจะพบมากในลูก แพะ กับอาการอกั เสบติดเชอื้ ที่ขอ ในแพะทม่ี อี ายุมาก และเช้ือไวรสั น้ียงั สามารถทําใหเ กดิ การ เปล่ยี นแปลงทีป่ อดและเตา นมไดอ ีกดวย รูปแบบของอาการท่ีเกิดขนึ้ ทางระบบประสาทนัน้ จะพบไดในลกู แพะทีม่ อี ายตุ ง้ั แต 1-4 เดือน โดยลกู แพะทไี่ ดร บั เชอื้ นีจ้ ะแสดงอาการของขาหลังออ นแรง แพะจะเดนิ กระเผลก คลายมกี ารเจบ็ ปวดเกดิ ขึน้ ท่ขี าขา งใดขา งหนงึ่ หรอื ท้ัง 2 ขา จากนั้นแพะจะลมลง และลุกไมขน้ึ ซ่ึงอาการจะรุนแรงข้นึ จนกลายเปนอมั พาตในทีส่ ุด การเกิดโรคและแสดงอาการน้อี าจจะมีระยะ เวลาตง้ั แตหลายวันจนถงึ หลายสปั ดาห ถงึ แมว าลกู แพะท่แี สดงอาการของการเปน อัมพาตแลว แตก ็พบวา ลกู แพะนั้นยังสามารถกนิ อาหารและนํ้าได อกี ทง้ั ยงั รา เริงเหมอื นแพะปกติ ซึ่งอาการ อัมพาตมีสาเหตมุ าจากการเสียหายและการอกั เสบของไขสนั หลัง สวนในลกู แพะทมี่ อี ายมุ าก ขนึ้ มาอาจจะพบวา มกี ารแสดงออกของอาการทางระบบประสาทอ่นื ๆได เชน คอเอยี ง เดนิ วน เปนวงกลม กลามเน้อื ทบี่ ริเวณใบหนา เปนอัมพาต ซึ่งเปนผลจากการถูกทาํ ลายจากเช้ือไวรสั บริเวณกานสมองของแพะ นอกจากน้ียังอาจจะพบวา ลูกแพะมกี ารแสดงอาการของสภาวะปอด อักเสบและปอดบวมรว มดวย AT 335 151

รปู แบบของอาการที่เกดิ ขึ้นทีข่ อ พบวา มักพบในแพะทม่ี อี ายุระหวาง 1-2 ป โดยท่ี อาการในแพะแตล ะตวั อาจมีความรนุ แรงแตกตา งกนั ไป คือ ในแพะบางตวั จะมีอาการอกั เสบ ของขอ รนุ แรงจนถึงเปนอมั พาตในระยะเวลาสั้นๆ ในขณะท่มี แี พะบางตวั อาจแสดงเพียงอาการ ขาออนแรง เวลาเดนิ จะมอี าการเกร็งแข็งอยูเปนเวลานานโดยไมเ ปนอมั พาต ปกตแิ ลว โรคนจี้ ะ กอ ใหเกดิ อาการขาออ นแรงทีละนอยและมกี ารอักเสบบวมของขอ สว นใหญจะพบทข่ี อ เขา และ ขอเทา ทําใหสัตวมคี วามเจบ็ ปวดทขี่ อจงึ ไมอ ยากลกุ เดนิ ตองนอนอยตู ลอดเวลา นา้ํ หนักลด บางครงั้ หากมกี ารติดเชอื้ ท่ีขอ อยา งรนุ แรงทําใหแพะมไี ข รวมถึงจะมีการเคลอื่ นไหวรา งกายได ลาํ บากจนตองคลานดวยเขา ซง่ึ ทาํ ใหเ กดิ แผลพพุ องท่ีขอ ขาและบรเิ วณลําตวั สะโพก หวั ไหล จากการกดทับของน้าํ หนักตัวแพะที่จะนอนอยตู ลอดเวลา อันอาจเปนสาเหตขุ องภาวะติดเชอื้ แทรกซอ นและปอดบวมจนทาํ ใหแ พะตายได การปอ งกันและรกั ษา จากการศกึ ษาดานการกระจายของโรคนนั้ พบวา การทล่ี กู แพะเกดิ ใหมก ินนมน้าํ เหลอื งหรอื นมแมท่ีติดเชอื้ นีก้ จ็ ะทําใหลูกแพะติดโรคน้ดี ว ย ดังนัน้ ในการ ควบคมุ และปอ งกันโรคจึงทําไดโดยการแยกลูกแพะออกจากแมต ั้งแตแ รกเกิด และเลยี้ งดว ยนาํ้ นมแพะ นมเทียม หรอื นมโคพาสเจอรไรซ ทงั้ นอ้ี าจใชน มนา้ํ เหลืองทผ่ี านการฆา เชอ้ื ดวยความ รอนใชเลยี้ งลกู แพะกจ็ ะสามารถควบคุมการกระจายของเชอื้ นี้ได รวมถึงควรเพมิ่ ความเอาใจใส ในเรอ่ื งของการรกั ษาความสะอาดและใชส ารฆาเชอื้ ในบรเิ วณคอก พนื้ คอก รางนํา้ รางอาหาร อยเู ปนประจํา ในสว นของแนวทางการวนิ จิ ฉัยโรค CAE น้นั สามารถกระทาํ ไดโ ดยการตรวจ ทางซรี ่มั วทิ ยาดวยวธิ ี Agar Gel Immunodiffusion (AGID) เพอื่ ทดสอบวา แพะไดมีการสรา ง สารภมู คิ มุ กัน (Antibody) ตอ โรค CAE หรอื ไม เน่อื งจากสัตวท เี่ คยสมั ผัสเชอ้ื หรอื เคยติดเช้ือ มากอ นจะมกี ารตอบสนองโดยการสรา งภูมิคุม กันตอ โรคทาํ ใหส ตั วมรี ะดับ titer ของภูมิคุมกัน ของโรค CAE สูง ดังนั้นจึงเปนไปไดวา สตั วท มี่ ีระดับภมู ิคมุ กันที่เปน บวกจะยงั คงมีการติดเชือ้ นอกจากน้ียังมมี าตรการในการทาํ ใหฝูงแพะปลอดจากโรค CAE โดยทผี่ ูเ ลยี้ งตอ ง เขาใจการระบาดของโรค และปองกันการแพรกระจายของโรคอยางเครงครดั กจ็ ะชวยลดอตั รา เสีย่ งของการติดโรคในฝูงได ทงั้ นคี้ วรจะใหความสาํ คัญกบั การปอ งกันและการกระจายของโรค เพราะโรค CAE นน้ั เปน โรคทีร่ ุนแรงและยงั ทําความเสียหายอยางมาก ทง้ั ยังไมมวี ธิ ีรกั ษาและ ไมมีวคั ซีนท่ีใชไ ดผ ลกบั โรคน้ี มาตรการเพิ่มเตมิ ดา นการจัดการฟารมอน่ื ๆในการควบคุมและ ปอ งกันโรค CAE มีดังตอ ไปน้ี 1. ควรทาํ การตรวจเลอื ดแพะทกุ ตัวในฝงู ทุก 6 เดือน เพือ่ เปน การเฝา ระวังการเกิดโรค หรือเพือ่ ตรวจหาสตั วท เ่ี ปน พาหะนําโรค 2. ใหทําการคัดท้งิ ทันทที พ่ี บวาสัตวนน้ั มีผลการตรวจเลอื ดเปนบวก AT 335 152

3. หากสตั วใ นฝงู บางตวั หรอื ทง้ั หมดมีผลการตรวจเลอื ดเปนบวกอาจกอ ใหเกดิ ภาวะการก ระจายของโรคไปยังลกู สตั วไ ด ดังนน้ั จงึ ตอ งแยกลูกทีไ่ ดจากฝงู ออกกจ็ ะสามารถนาํ ลกู ทเ่ี กิดใหมม าใชประโยชนในการสรางฝงู ทป่ี ลอดจากโรคฝูงใหมได 4. ทําการตรวจเลอื ดลกู แพะทกุ ตัวในฝงู ทุก 6 เดือน เพ่อื ตรวจสอบสถานการณก ารติด เช้ือ และหากพบวา ผลการตรวจเลอื ดเปน บวกใหท าํ การคดั ท้ิงลกู แพะนนั้ ทันที 5. หากทาํ ตามมาตรการเฝาระวงั โรคนจี้ ะชว ยใหก ารปองกนั โรค CAE เปน ไปไดอ ยา งมี ประสิทธิภาพและฝงู แพะจะปลอดจากโรคไดอ ยางรวดเรว็ ภายใน 2-3 ชั่วอายุ 6. เน่อื งจากโรคนีม้ สี าเหตจุ ากเชื้อไวรสั จงึ ไมมีวิธีการรักษาท่ีไดผลดี นอกจากการรักษา แบบพยงุ อาการ โดยเมอ่ื แพะมีอาการปวยในระบบใดจงึ จะใหก ารรกั ษาตามอาการที่ เกดิ ขนึ้ เชน การใหยาปฏชิ ีวนะรักษาอาการติดเช้ือ และการใหย ากลมุ สเตียรอยดใ น รายท่ีมกี ารอักเสบ 7. รักษาความสะอาดและใชส ารฆา เช้อื บรเิ วณฟารม พื้นคอก รัว้ โรงเรือน รางน้ําและ รางอาหารอยูเปนประจาํ โรคติดเช้อื ปรสติ โรคตดิ เชอื้ ปรสติ ในแพะน้นั สามารถพบไดทัง้ ปรสิตภายนอกและปรสิตภายใน โดย ปรสติ ภายนอกหรอื พยาธิภายนอก (External parasite) จะพบไดห ลายชนิด เชน เหบ็ หมัด เหา และแมลงราํ คาญอืน่ ๆ สวนปรสิตภายในหรือพยาธิภายใน (Internal parasite) ทสี่ ําคัญ เชน พยาธไิ สเ ดอื น พยาธเิ สน ดา ย พยาธิปากขอ พยาธแิ สม า พยาธิตัวตดื พยาธใิ บไม เปนตน ทั้งพยาธภิ ายนอกและพยาธภิ ายในนับวา เปน ปญหาสาํ คญั ท่เี ปน สาเหตทุ าํ ใหเกิด ความเจ็บปว ยหรอื ทําใหส ขุ ภาพโดยรวมของสตั วเ ส่ือมโทรมลง ซูบผอม ขนหยองหยาบกราน ซึม เบื่ออาหาร การเจริญเติบโตชา ลง เกิดภาวะโลหติ จาง และอาจพบวา แพะมอี าการทองเสยี หรือทองผูกอยูเ ปน ประจาํ นอกจากนีย้ ังอาจพบอาการอุจจาระมเี ลอื ดปน สตั วม กั จะเหนอื่ ยงา ย หอบ ระบบภมู คิ ุมกนั ของรางกายออ นแอลงทําใหมีโรคแทรกซอ นงาย ผลกระทบสาํ คัญทเ่ี กิดขึ้นคอื ทาํ ใหผลผลติ ของสตั วล ดลง โดยทีแ่ พะที่อยรู ะหวา ง ระยะใหน มพบวา นาํ้ นมจะลดลง แพะทเ่ี ล้ยี งขนุ เพ่ือใหเนอ้ื กจ็ ะมอี ตั ราการเจรญิ เติบโตลดต่ําลง ผอมแหง ไมแ ขง็ แรง พวกแพะทถ่ี กู เหบ็ หมดั กัดอาจทาํ ใหม ผี ลเสียถึงผิวหนังท่ีเกดิ มีบาดแผล ซึ่งทาํ ใหห นงั แพะทจ่ี ะนําไปใชประโยชนใ นงานอตุ สาหกรรมการทําเคร่อื งหนังนนั้ มตี ําหนิ และ มีคณุ ภาพหนังต่าํ ลงทาํ ใหข ายไมไ ดราคา เปนตน AT 335 153

ปรสิตภายในหรอื พยาธภิ ายใน (Internal parasite) ปรสิตภายในหรือพยาธิภายใน (Internal parasite) เปน โรคตดิ พยาธิทกี่ อใหเ กิด อันตรายตอสขุ ภาพสตั วเ ปน อยา งมาก โดยพยาธิแตล ะชนิดจะทําความเสียหายในอวัยวะทม่ี นั อาศยั อยู ซึ่งความเสยี หายดงั กลา วอาจสรปุ ไดด ังน้ี 1. การท่พี ยาธิดดู เลอื ดจากผนงั กระเพาะอาหารและลาํ ไสท าํ ใหส ัตวเสยี เลอื ด เกิดมภี าวะ โลหติ จาง การแข็งตวั ของเลอื ดผดิ ปกติ หรอื มีเลือดออกจากบาดแผลทใ่ี นผนังลําไสท ํา ใหแพะถายเปน เลอื ด หรือเปน มูกเลือด 2. กอ ใหเกิดความระคายเคอื งในปอด ขวั้ ปอด และหลอดลม จากการทีต่ วั ออนของพยาธิ ในปอดเขาชอนไช ทาํ ใหแ พะมอี าการคลา ยปอดอกั เสบ 3. ทําใหเ กดิ มีเมด็ ตมุ จากพยาธิทีส่ รา งเกราะหมุ ตวั เองในลําไสแ ละกลา มเนือ้ ของสตั ว 4. พยาธิในลาํ ไสจ ะแยง ดูดซึมสารอาหารทสี่ ตั วไ ดรบั ทําใหส ัตวเ ปน โรคขาดสารอาหาร สัตวจ ะผอมแหง ออ นเพลีย นาํ้ หนกั ลด เจรญิ เติบโตชา การใหผลผลติ ลดลง 5. พยาธทิ ี่อยใู นลาํ ไสถา มมี ากๆจะสง ผลถึงการทําหนาท่ีของระบบทางเดนิ อาหาร โดยท่ี อาจจะทาํ ใหแ พะเกดิ อาการทอ งเสียหรอื ทอ งผูกอยูเปนประจํา 6. สภาพรางกายโดยรวมของแพะจะทรุดโทรม ผวิ หนงั แหงกรา น ขนหยองฟู เบอ่ื อาหาร ไมก ระตอื รอื รน หรอื รา เรงิ เหมอื นแพะสุขภาพดีปกติ 7. พยาธบิ างชนดิ อาจสรางสารพิษออกมากอใหเกิดอันตรายตอตวั แพะได จากการท่ีพยาธิแตล ะชนดิ จะทําความเสยี หายใหแ กส ตั วด งั ทก่ี ลาวมาน้นั จึงจาํ เปนอ ยา งย่งิ ท่ีจะตอ งมกี ารปองกันการตดิ โรคพยาธแิ ละเอาใจใสในเร่อื งการสขุ าภบิ าลทีด่ ี มกี ารจดั วางโปรแกรมการถา ยพยาธอิ ยูเปนประจาํ ซงึ่ การถา ยพยาธเิ ปน แนวทางที่ทําไดง าย และตอง เขาใจถึงวงจรชีวติ ของพยาธิดวย จงึ จะทําใหสามารถวางแนวทางการปฏิบตั งิ านตามโปรแกรม อยางไดผลดี ไมวาการจดั การถา ยพยาธใิ หกับตัวสตั ว หรือการจดั การแปลงหญากรณีท่มี ีการ ปลกู หญา ไวสาํ หรับปลอยแพะลงแทะเล็ม ควรมกี ารเตรยี มแปลงปลกู ไถพรวนพลิกหนา ดินตาก แดดทิ้งไว เพ่อื ทาํ ใหไ ขหรอื ตวั ออนพยาธทิ อี่ าจปนเปอ นในดนิ ตาย พยาธติ ัวกลมในกระเพาะและลาํ ไสแ พะ พยาธติ วั กลมในกระเพาะและลําไสข องแพะนน้ั มหี ลายชนดิ เชน พยาธติ วั กลมใน กระเพาะอาหารแพะ (Ostertagia spp., Trichostrongylus spp., Haemonchus spp.), พยาธิ แสม า (Trichuris spp.), พยาธิปากขอ (Bunostomum spp.), พยาธิไสเดอื น (Nematodirus spp.), พยาธิเม็ดตมุ (Oesophagostomum spp.), และพยาธิเสน ผม (Strongyloides spp.) AT 335 154

พยาธติ วั กลมในกระเพาะอาหารแพะ พยาธติ วั กลมในกระเพาะอาหารแพะเปนพยาธิทีม่ ีขนาดเลก็ ตวั เตม็ วัยของพยาธิ จะอาศัยอยูใ นกระเพาะอาหารทงั้ ส่กี ระเพาะของแพะโดยเฉพาะกระเพาะแท พยาธทิ ี่พบมากคือ Ostertagia trifurcata (Brown stomach worms) เปน พยาธทิ ม่ี ีขนาดเลก็ คลา ย เสน ผมสว นใหญอ าศยั ในกระเพาะแท (Abomasum) Trichostrongylus spp. ตวั ออนของพยาธชิ นดิ น้ีคอนขางทนทานสามารถอยูในดนิ และแปลงหญา ไดนาน 4-6 เดือน หากสภาพอากาศไมรอนมากนัก อาจอยูไดน านถงึ 15 เดอื น Haemonchus contortus เปน พยาธทิ ีพ่ บไดในสตั วกระเพาะรวมหลายชนดิ ทง้ั ใน โค กระบือ แพะ แกะ โดยพบไดทงั้ สี่กระเพาะ พยาธติ วั เมยี จะมลี กั ษณะเปนเกลียวคลา ยสปริง หรือเคร่ืองหมายรานตัดผม (Barber pole) พยาธิตัวกลมในลาํ ไสข องแพะ พยาธิตวั กลมในลาํ ไสพบไดใ นทงั้ สวนของลาํ ไสเล็ก (Small intestine), ลําไสใ หญ (Large intestine) และไสต ่ิง (Caecum) ของแพะ ซงึ่ พยาธชิ นดิ ตา งๆน้จี ะทาํ ใหเ กดิ มีอาการ ระคายเคอื งทเ่ี ย่ือบุผนงั ลาํ ไส พยาธจิ ะแยงดูดซึมสารอาหารทม่ี ีประโยชนจากสตั ว และยงั ทําให เกดิ การอุดตนั ของลําไสไดถา หากมพี ยาธอิ ยใู นลําไสเปน จํานวนมาก พยาธใิ นลําไสท ่พี บไดค ือ พยาธิแสมา (Trichuris spp.) เปนพยาธิตวั กลมขนาดเลก็ ท่อี าศัยอยใู นสว นไสต ง่ิ (Caecum) และทบ่ี ริเวณสว นทายๆของลําไสใ หญต อ กบั ทวารหนกั พยาธแิ สม า เปนพยาธทิ จี่ ะ แทรกหัวเขาไปในเยือ่ บุผนังลาํ ไสแ ละดดู เลอื ดจากผนังลาํ ไสส ว นนั้นรอยแผลทเ่ี สียหายจะทาํ ให เกดิ มีการไหลซึมของเลอื ดทาํ ใหสัตวเสยี เลอื ดและเกดิ ภาวะโลหิตจางตามมาได ตวั ออนและไข ของพยาธชิ นดิ นจี้ ะคอ นขางทนทานตอสภาพแวดลอมอยา งมาก พยาธปิ ากขอ (Bunostomum trigonocephalum) เปนพยาธติ ัวกลมที่มกั พบใน ลาํ ไสเ ล็ก มลี กั ษณะปากที่เปนตะขอใชเ กาะผนังลําไสและดดู เลอื ดจากผนงั ลาํ ไสส วนนัน้ ซง่ึ ทาํ ใหสตั วเ สยี เลอื ดและเกดิ ภาวะโลหติ จางตามมา ถา มีอาการรนุ แรงอาจพบอาการถายเปนเลือด นอกจากนี้พยาธิปากขอจะทําใหเ กดิ มอี าการระคายเคอื งที่เยอ่ื บุผนังลําไส และขัดขวางขบวน การยอ ยและการดูดซมึ สารอาหารของแพะได พยาธเิ มด็ ตุม (Oesophagostomum columbianum) เปน พยาธิตวั กลมทจี่ ัดอยใู น กลมุ ที่ทาํ อนั ตรายตอสตั วท ม่ี นั อาศยั อยูโดยการดูดกินเลือดจากผนงั ลาํ ไส พยาธจิ ะเขา ไปฝง ตวั อยูภายในเย่อื บขุ องผนงั ลาํ ไสท าํ ใหเ กิดมีรอยแผลและเปน เม็ดตมุ นนู ขนึ้ นอกจากจะทาํ ใหแ พะ AT 335 155

เสยี เลอื ดเกดิ ภาวะโลหติ จางแลว เม็ดตมุ ท่ีเกดิ ขึน้ น้ียงั จะสง ผลถึงการขดั ขวางขบวนการดูดซมึ สารอาหารและทาํ ใหแพะเกดิ มอี าการทอ งเสียได พยาธติ วั กลมในลําไสเล็กสว นตน ของสัตวกระเพาะรวม ในแพะมกั พบพยาธกิ ลุม Nematodirus spp. และพยาธิเสนผมกลุม Strongyloides spp. มักจะกอ ใหเกิดการอดุ ตันลาํ ไส หรือเกดิ อาการทอ งเสยี และยงั แยงดูดซึมสารอาหารทมี่ ีประโยชนจากลําไสของสัตวด วย วงชีวติ ของพยาธิ (Life cycle) คอื ลกั ษณะการดาํ รงชวี ิตของพยาธติ ้งั แตฟก ออก จากไข กลายเปนตวั ออนระยะท่ี 1, ตัวออ นระยะท่ี 2 และตวั ออ นระยะสุดทา ยท่จี ะเกาะตาม ยอดหญาและใบพชื เพอื่ รอใหแพะมาแทะเล็มหญาและสามารถตดิ ตอ เขาสตู วั สตั วไดเมื่อแพะ มาแทะเลม็ หญาทม่ี กี ารปนเปอ นตวั ออ นระยะสุดทายนีเ้ ขา ไป จากน้ันตวั ออนระยะสดุ ทายนจี้ ะ มกี ารเจรญิ เตบิ โตพฒั นาเปน พยาธติ วั เตม็ วยั ในกระเพาะอาหารและลําไสข องแพะ พยาธิตวั แก สามารถผลติ ไขพยาธอิ อกมากับอจุ จาระของแพะปะปนกบั แปลงหญาและส่ิงแวดลอ มไดตอไป ตวั ออนพยาธเิ กาะบนหญาเมอื่ แพะมาแทะเลม็ ไขพ ยาธิปะปนออกมากับอุจจาระแพะ พยาธิออกจากไขและพัฒนาเปนตวั ออนระยะติดตอ ภาพที่ 8.12 วงชวี ติ ของพยาธติ วั กลมในกระเพาะและลาํ ไสแ พะ AT 335 156

ภาพท่ี 8.13 ลักษณะการทาํ อนั ตรายตอ เยือ่ บุผนังลําไสข องพยาธแิ สม า (ทีม่ า: Blagburn & Dryden. 2000. p 11) ภาพที่ 8.14 ไขข องพยาธิแสมา ที่ตรวจพบจากอุจจาระ (ที่มา: Blagburn & Dryden. 2000. p 43) AT 335 157

ภาพที่ 8.15 ลักษณะการทาํ อนั ตรายตอเย่ือบุผนังลาํ ไสของพยาธิปากขอ (ที่มา: Blagburn & Dryden. 2000. p 9) ภาพท่ี 8.16 ลักษณะปากทม่ี ตี ะขอของพยาธปิ ากขอ (ทมี่ า: http://www.umanitoba.ca/.../dick/z346/hookhome.html) AT 335 158

ภาพที่ 8.17 ลกั ษณะการอดุ ตนั ของลาํ ไสจ ากพยาธิตวั กลมในลําไสท ีม่ จี ํานวนมาก (ท่ีมา: Blagburn & Dryden. 2000. p 13) ภาพที่ 8.18 พยาธติ วั กลมในลาํ ไส (ทีม่ า: http://www.latech.edu/.../parasite-pictures.shtml) AT 335 159

พยาธิตัวตดื พยาธติ วั ตืดเปนพยาธติ วั แบนทม่ี ลี ําตวั เปนปลองๆ และในแตล ะปลอ งมอี วยั วะสบื พนั ธุ 2 ชุดทําใหส ามารถท่จี ะผลติ ไขพยาธิได ซึ่งปลองสดุ ทา ยทส่ี ุกจะหลุดออกจากตัวเตม็ วยั ปะปนออกมากับอจุ จาระและตดิ ตอ สูแพะตวั อืน่ ไดต อไป พยาธติ วั ตืดท่มี กั จะพบแพรร ะบาดใน แพะ คอื Moniezia expansa ซึง่ เปน พยาธิตวั ตืดทีม่ ีขนาดลําตวั ยาว ใหญ พยาธิตวั ตืดจะทํา อันตรายตอตวั สตั วโ ดยการแยงดูดซมึ สารอาหารที่มีประโยชนไ ปทาํ ใหแ พะผอมแหง ขนหยอง ไมร า เรงิ ไมมีแรง ออนเพลีย อัตราการเจริญเติบโตลดลง มีอาการทองเสยี บอ ย และอาจเกดิ อาการทองผูกไดเ นือ่ งจากการอุดตนั ของลําไสจากมีพยาธิอยเู ปน จาํ นวนมาก ภาพท่ี 8.19 ลักษณะพยาธติ ัวตืดที่อาศยั อยูในลําไสเ ลก็ ของแพะ (ทม่ี า: Blagburn & Dryden. 2000. p 17) พยาธิตวั ตดื จะขยายพันธุโดยที่ปลองสดุ ทายที่สกุ จะหลุดออกจากพยาธิตวั แก แลว ปะปนกบั อุจจาระของแพะ เม่ือปลองนแี้ ตกออกจะปลอ ยไขแ ละตวั ออ นออกมามากมาย ตวั ไรท่ี อยใู นส่ิงแวดลอ มซงึ่ ถือเปนพาหะตัวกลาง (Intermediate host) กินไขและตัวออนของพยาธิ AT 335 160

ตัวตืดเขาไป จากน้ันตวั ออนของพยาธติ วั ตดื ทอ่ี าศยั อยใู นตวั ไรจะมีการพฒั นาจนกลายเปน ตัว ออ นระยะสุดทายท่ีสามารถตดิ ตอ สแู พะได แพะจะสามารถติดพยาธินไ้ี ดจ ากการลงแทะเลม็ ในแปลงหญา บริเวณทม่ี ีการแพร ระบาดของตวั ไรทมี่ ตี ัวออ นของพยาธิตวั ตืดระยะติดตอ อยู ดงั นนั้ กรณีการปอ งกนั การติดพยาธิ ตวั ตืดในแพะนอกจากการจดั การแปลงหญาดังทก่ี ลา วมาแลว นน้ั ยงั จะตองกาํ จัดพาหะตวั กลาง พวกตวั ไรโดยการรักษาความสะอาดของตวั แพะและการฉีดพน ยากําจดั เห็บ หมัด และไร หรือ ใชว ธิ ีการฉีดยากาํ จัดไรขเ้ี รื้อนเขา ใตผ วิ หนงั จะชวยควบคมุ การแพรร ะบาดของโรคพยาธติ วั ตดื และยังชว ยรักษาโรคผิวหนงั จากพยาธภิ ายนอกไดอีกดว ย ตัวไรท่มี ตี วั ออนพยาธอิ ยูในตวั จะเกาะ ไขพยาธทิ อี่ ยใู นปลอ งแกข องพยาธิ บนหญา เพือ่ เขา หาแพะเมื่อมาแทะเลม็ ตวั ตืด ปะปนออกมากบั อจุ จาระแพะ ตัวไรซ่งึ เปน พาหะตวั กลางของพยาธิจะกนิ ไข และตวั ออนของพยาธติ วั ตดื เขาไป ภาพท่ี 8.20 วงชวี ติ ของพยาธิตวั ตืดในแพะ AT 335 161

ภาพที่ 8.21 พยาธติ วั ตดื (ทม่ี า: http://www.mdsheepgoat.blogspot.com/2007/04/about-tapewo...) ภาพท่ี 8.22 ไขข องพยาธิตวั ตืดทตี่ รวจพบจากอุจจาระ (ท่มี า: http://www.w3.ufsm.br/.../arquivospagina/ovosdebovinos.htm) AT 335 162

พยาธใิ บไม พยาธใิ บไมเ ปน พยาธติ วั แบนมีลกั ษณะคลายใบไม ซงึ่ มกั เปน พยาธิทีพ่ บไดใ นสตั ว กระเพาะรวมหลายชนดิ ไมวาจะเปน โค กระบอื แพะ แกะ และทพี่ บมากคอื พยาธิใบไมใ นตบั คือ Fasciola hepatoca และ F. magna และพยาธใิ บไมในกระเพาะ Paramphistomum spp. การท่ีพยาธติ ดิ เขา สูตวั สตั วแ ลว จะทาํ ใหเกดิ อนั ตรายได จากการที่ตวั ออนของพยาธิชอนไชอยู ในเนือ้ ตบั เพอ่ื ดดู เลอื ดและเน้อื เย่ือจากตบั และกระเพาะอาหารของแพะ ในรายรุนแรงทีม่ ีพยาธิ จํานวนมากจะกอ ใหเ กดิ ภาวะดซี า น การเจรญิ เตบิ โตลดลง เบ่ืออาหาร มีปญ หาเกยี่ วกับการ ยอ ยและดูดซึมสารอาหาร อาจมีอาการทองเสยี หรือทอ งผูกเปน ๆหายๆ คณุ ภาพซากแพะ และ ปรมิ าณนํ้านมลดลง พยาธิตวั ออนไชออกจากหอยและเกาะ ไขพ ยาธิปะปนออกมากับอุจจาระแพะ บนหญาเพอ่ื รอใหแ พะมาแทะเลม็ หอยนํ้าจืดซงึ่ เปน พาหะตวั กลางของ พยาธิใบไมจ ะกนิ ไขพ ยาธิเขา ไป ภาพที่ 8.23 วงชีวติ ของพยาธใิ บไมใ นตบั วงชีวติ ของพยาธใิ บไมใ นตบั เร่มิ จาก ตัวเต็มวัยท่อี าศยั อยูในเนอ้ื ตบั และในทอ นาํ้ ดี จะออกไข แลวไขพ ยาธจิ ะไหลผานไปตามลาํ ไสเ ล็กและนา้ํ ดปี ะปนมากบั อุจจาระ เมื่อแพะถา ย มลู ลงในแปลงหญาทใี่ กลก บั แหลงนา้ํ หรือในสภาพพ้นื ดินท่ชี ้นื แฉะจะเปน แหลงทเ่ี หมาะสมตอ การฟกออกจากไขของตวั ออนระยะแรกทเี่ รียกวาไมราซิเดียม (Miracidium) ซึง่ ตัวออ นระยะนี้ วายน้าํ ไดแลว จะชอนไชเขาไปในหอยนํา้ จดื ชนิดหนงึ่ ที่เรยี กวา หอยคนั (Lymnaea spp.) ทพี่ บ AT 335 163

ภาพที่ 8.24 พยาธใิ บไมใ นตบั (ท่มี า: http://www.latech.edu/.../parasite-pictures.shtml) AT 335 164

ภาพท่ี 8.25 พยาธิใบไมใ นกระเพาะ (ทมี่ า: http://www.ufsm.br/parasitologia/imagensendo/paramphistoma.jpg) ภาพท่ี 8.26 ไขข องพยาธใิ บไมทต่ี รวจพบในอจุ จาระ (ทมี่ า: http://www.ufsm.br/parasitologia/imagensendo/fasciolaovo.JPG) AT 335 165

ภาพท่ี 8.27 แพะทป่ี ลอ ยเล้ียงใกลแหลงนา้ํ มโี อกาสติดพยาธิใบไมใ นตบั ได พยาธใิ นปอด เปน พยาธติ วั กลมท่ที ําใหเกดิ อาการไอ ปอดอักเสบ อาศยั อยูใ นปอดและหลอดลม ของแพะ สว นใหญจะพบการระบาดของพยาธิพวก Dictyocaulus spp., Nullerius spp. และ Protostrongylus spp. โดยทพ่ี ยาธใิ นปอดนจี้ ะมีวงชวี ติ ท่ีสาํ คญั คอื ไมจาํ เปนตองอาศยั พาหะ ตวั กลาง (Intermediate host) ซงึ่ ตัวแกของพยาธิทอี่ าศยั อยูในปอดของแพะจะปลอยไขพ ยาธิ ออกมาและไขจะถูกขับออกมาทางหลอดลม การตดิ พยาธอิ าจเกดิ กบั แพะตวั เดมิ โดยเมอ่ื พยาธิ ไขและไขถ กู ขบั ออกมาทางหลอดลม แพะก็จะไอและกลนื กินไขพ ยาธิกลบั เขา ไปในระบบทาง เดนิ อาหารและฟก ออกเปนตัวออนทล่ี าํ ไส จากนนั้ ตัวออ นจะปนออกมากับอุจจาระได หรือแพะ อาจไอเอาไขพ ยาธอิ อกมาทาํ ใหเกดิ การปนเปอ นไขพยาธิสูสงิ่ แวดลอ มได ซงึ่ พยาธิจะฟก ออก จากไขแ ละพฒั นากลายเปน ตวั ออนพยาธิ ตวั ออนของพยาธริ ะยะติดตอนีจ้ ะมคี วามทนทานตอ สภาวะแวดลอ มไดเ ปนอยางดี หากวา มีแพะตวั อ่ืนในฝงู กนิ เอาตวั ออ นของพยาธเิ ขาไป ตวั ออ น ระยะตดิ ตอ น้จี ะไชผานจากลาํ ไสไ ปยังตบั และเขาสกู ระแสเลอื ดเพอ่ื ไชเขาไปในปอด ซง่ึ ขณะที่ ตัวออนของพยาธิไชไปตามอวัยวะตางๆกอ นจะถึงปอดจะเปนอันตราย และเกิดความเสียหาย ของเนื้อเย่อื เปนอยา งมาก ถา เปน รนุ แรงอาจทาํ ใหแพะแสดงอาการของปอดอกั เสบ ปอดบวม ไอเร้อื รงั ซูบผอม ไมมีแรง AT 335 166

ภาพท่ี 8.28 ตวั ออนพยาธใิ นปอด (ทม่ี า: http://www.wisc.edu/ansci_repro/101equinelab/parasites/dictyocaulus_arnfieldi.jpg) ภาพที่ 8.29 พยาธใิ นปอด (ท่ีมา: http://www.viarural.com.ar/viarural.com.ar/ganaderia/equinos/ dictyocaulosenpulmon.jpg) AT 335 167

การปองกันและรกั ษา ในการควบคมุ และปองกนั พยาธิภายในระบบทางเดินอาหารของแพะนนั้ จะมจี ุดมุง หมายท่ีสาํ คัญคือ เพอื่ ทจ่ี ะลดจํานวนพยาธิใหน อ ยลงหรือใหอยูใ นระดบั ท่ีไมเปนอนั ตรายตอตวั สัตวเ พราะหากตองการท่จี ะใหแพะปราศจากพยาธเิ ลยนน้ั อาจทําไดย ากเพราะสัตวมโี อกาสตดิ พ ยาธิไดต ลอดเวลาเนื่องจากตอ งปลอ ยแพะลงแทะเล็มหญาในแปลง มีการตดั หญา สดมาใหก นิ หรอื มีการเล้ียงแพะแบบปลอ ยรวมฝงู ทําใหม กี ารคลุกคลีสัมผสั กันอยตู ลอดเวลา ซึง่ แนนอนวา อาจมตี วั ออนของพยาธิปนเปอ นอยทู ่ใี ดทีห่ นงึ่ สําหรบั การปอ งกนั มิใหส ตั วต ดิ โรคพยาธิอาจทํา ไดโ ดยไมพ ยายามเลยี้ งแพะไวใ กลบรเิ วณรมิ นํ้าหรอื ชายนํา้ แตถาหลกี เลีย่ งไมไดต องพยายาม กําจดั หอย ซง่ึ เปนแหลงอาศัยของตวั ออ นพยาธิใบไมใหหมดไปเสยี กอ นหรอื จดั หานํ้าด่ืมไวให เปนกรณพี เิ ศษ อีกทง้ั เม่ือมกี ารเตรยี มแปลงปลูกหญากค็ วรมีการเตรียมดิน โดยการพลกิ หนา ดนิ ตากแดดท้งิ ไวห ลายๆวนั เพือ่ เปน การทาํ ลายไขห รือตัวออ นของพยาธิทีอ่ าจปนเปอ นอยใู น ดินกจ็ ะชว ยลดอัตราการตดิ พยาธิจากการปลอ ยแพะลงแทะเล็มในแปลงหญา ไดบ างระดับหน่ึง กรณขี องการใชยาถายพยาธิ (Deworm) ก็นับวาเปนวธิ ีการทใี่ หผ ลดีในการกาํ จัด พยาธไิ ดโดยตรง โดยยาถายพยาธิทนี่ ยิ มใชกนั จะใชถ ายพยาธิไดห ลายชนิดไมว าจะเปน พยาธิ ตวั กลม ตวั แบน ตวั ตืด พยาธิใบไม รวมถึงตวั ออนของพยาธิในระยะตางๆกส็ ามารถกําจัดได อยางมปี ระสทิ ธิภาพ ซงึ่ ยาถา ยพยาธิทม่ี จี าํ หนายท่วั ไปจะมีตวั ยาออกฤทธิ์ในกลมุ ตางๆดังนี้ กลมุ ยา Albendazole, Mebendazole, Phenbendazole, Thiabendazole, และ Fenbendazole ใชถา ยพยาธิตวั กลมทกุ ชนดิ รวมถึงตวั ออนและไขพ ยาธดิ วย และสามารถถาย พยาธิตวั แบนไดบ างชนิด Oxyclozanide และ Nitroxynil ออกฤทธใ์ิ นการถา ยตวั แกข องพยาธใิ บไมใ นตบั (Fasciola hepatica) ไดเ ทา นนั้ แตกบั ตวั ออ นของพยาธอิ าจไมไ ดผ ล Piperazine ใชถ ายพยาธิไดผลดกี บั พยาธิตวั กลมในลําไสพวกพยาธไิ สเ ดอื น และ พยาธเิ ม็ดตุม (Oesophagostomum spp.) Pyrantel ใชถ า ยพยาธิไดผลดกี ับพยาธติ วั กลมในลาํ ไสพ วกพยาธิไสเ ดอื น Niclosamide ใชถา ยพยาธติ ัวตดื ทว่ั ๆไป ใชไดทงั้ ในคนและสตั ว Resorantel ใชถ ายพยาธติ ัวตดื (Moniezia spp.) และพยาธใิ บไมใ นกระเพาะแท (Paramphistomum spp.) ของแพะแกะไดดี Ivermectin เปนยาฉีดเขา ใตผ วิ หนังใชส าํ หรับการถา ยพยาธิตวั กลมในลําไส และ ยังใชไดผ ลดกี บั การกําจัดพยาธภิ ายนอกพวกเห็บ และไรข้ีเรือ้ นพวก Psoroptes spp. และ Sarcoptes spp. AT 335 168

อยา งไรก็ตามเชื่อกนั วาการใหย าถายพยาธิแกแ พะอยา งนอ ยปล ะ 1-2 ครงั้ กน็ บั วา เปน การเพยี งพอกบั การควบคมุ พยาธภิ ายในของแพะ ดังนนั้ ในการจัดโปรแกรมการถายพยาธิ จงึ มกั ตัดสินจากความเส่ียงของการติดโรคพยาธิ เชน กรณีลกู แพะทเ่ี ล้ยี งใหอยูกับแมหรอื อยูรวมกนั ในฝูงควรถายพยาธิใหแ กลกู แพะใน ระยะหลังหยานมที่อายุประมาณ 3 สัปดาห พอ แมพันธแุ พะควรถา ยพยาธเิ ปนประจาํ ปล ะ 1 ครงั้ หรือในชว งกอนการเตรียมตวั สตั วเ ขา ผสมพันธุ ในแพะรนุ ทเ่ี ลย้ี งปลอยไวในแปลงหญาซง่ึ อาจมีสภาพความเส่ยี งของการตดิ พยาธิ มากกวาพวกที่เล้ียงในโรงเรือนสามารถทําการถา ยพยาธิไดป ล ะ 2 คร้ัง ภาพที่ 8.30 การปอนยาถา ยพยาธใิ นแพะ (ท่ีมา: http://www.sanangelo.tamu.edu/agcomm/newsreleases.htm) AT 335 169

โรคบดิ (Coccidiosis) โรคบดิ เปนภาวะการติดเชื้อโปรโตซวั ในลาํ ไสแพะ กลุมโปรโตซัวกอ โรคทีพ่ บบอ ย คอื Eimeria ashata และ E. ninakohlyakimovae โดยโรคบดิ จะทาํ ใหเกิดอาการลําไสอ กั เสบ เยือ่ บผุ นงั ลาํ ไสเ สยี หายจากการท่ีเชือ้ โปรโตซัวท่อี ยูในระยะชัยซ็อนต (Shizoite) ฝง ตวั เขาไป ในสว นของผนังลําไส เมื่อแตกออกก็จะกอ ใหเ กดิ ความเสยี หายตอเนื้อเย่อื และหลอดเลอื ดทอี่ ยู บรเิ วณรอบๆซง่ึ จะมีผลทาํ ใหเกิดเลอื ดออก สัตวจ ะเกดิ อาการทอ งเสีย และถา ยเปน เลือด วงชวี ติ ของเชอื้ บิดจะเริ่มจากการทมี่ โี อโอซสี ต (Oocyst) ปนออกมากับอจุ จาระ ซ่ึง เซลลภ ายในโอโอซีสตจ ะเจริญและแบง ตวั ใหไดเ ปนสปอโรซ็อยต (Sporozoite) อยูในโอโอซีสต ระยะตดิ ตอจะเรยี กโอโอซสี ตระยะนวี้ าสปอรูเลต (Sporulated oocyst) เมอ่ื สตั วกินหญาหรือ อาหารทป่ี นเปอ นดวยโอโอซสี ตร ะยะตดิ ตอเขา ไป สปอโรซ็อยตก จ็ ะออกมาจากโอโอซสี ตแ ละ แทรกตวั เขาไปฝงตวั ในผนงั ลําไสข องแพะ จากน้นั กจ็ ะมีการพัฒนาและเปลี่ยนแปลงตวั เองเปน ระยะที่เจริญแบบท่ไี มอ าศยั เพศเพอ่ื เพ่มิ จาํ นวน และแบบอาศัยเพศเพื่อผลติ โอโอซีสตป นออก มาปะปนกบั อจุ จาระตอไป ภาพท่ี 8.31 โอโอซสี ตท่ตี รวจพบในอุจจาระ (ทีม่ า: http://www.microscope-microscope.org/images/goat-ooycist.jpg) AT 335 170

โอโอซีสตร ะยะติดตอ ปนเปอ นบนหญา โอโอซีสตปะปนออกมา เมอ่ื แพะมาแทะเล็ม กบั อจุ จาระแพะ โอโอซสี ตเจริญและแบง ตวั ใหไ ดเ ปน สปอโรซอ็ ยต อยใู นเรียกโอโอซสี ตร ะยะตดิ ตอ ภาพที่ 8.30 วงชีวติ ของโปรโตซวั ทกี่ อ โรคบดิ ภาพที่ 8.32 วงชีวติ ของโรคบดิ (Coccidiosis) ปรสติ ภายนอกหรอื พยาธิภายนอก (External parasite) เปน โรคตดิ พยาธิท่ีกอใหเกดิ อันตรายตอทงั้ สุขภาพกาย และสขุ ภาพจิตของสัตวอ ยางมาก โดย เฉพาะสตั วทถ่ี กู พยาธภิ ายนอกกดั กินและดดู เลือดทผี่ ิวหนังนั้น จะเกดิ มีความหงุดหงิดรําคาญ เพราะมวั แตค นั ตามผวิ หนงั ทถี่ กู กดั อยตู ลอดเวลาไมเ ปน อนั กินอนั นอน เบื่ออาหาร ผอมแหง และเริม่ ออ นแอลงเรอื่ ยๆ นอกจากนี้หากพบวามพี ยาธภิ ายนอกชนิดดดู เลอื ดอยมู ากอาจสงผล ใหเกดิ ภาวะโลหิตจางได รวมถงึ อาจทําใหเกดิ โรคทเ่ี กย่ี วกบั ระบบเลอื ด หรอื ระบบภมู คิ มุ กัน ลดลง ซึ่งพยาธภิ ายนอกทีพ่ บมากในแพะมหี ลายประเภท เชน เห็บ หมดั เหา และไรขเี้ รอื้ น AT 335 171

เห็บ เห็บ (Tick) เปนพยาธิภายนอกที่จดั อยูในกลุมแมลง รูปรา งโดยทวั่ ไปคลา ยรปู ไข ขนาดตวั ใหญส ามารถมองเห็นไดด วยตาเปลา ตวั เมยี ที่ดูดเลือดแลวจะมขี นาดใหญข ึ้นจากเดิม หลายเทาและมขี นาดใหญก วา ตวั ผูมาก วงชวี ติ ของเหบ็ จะอาศยั อยบู นตวั สตั วระยะหนึง่ และอาศยั อยนู อกตวั สตั วร ะยะหนง่ึ โ ดยเหบ็ ตวั เต็มวัยจะจับคผู สมพันธุแ ละตวั เมยี จะสะสมไขไ วเ ตม็ ทอง เมอื่ ผสมพันธุและดดู เลือด จนอม่ิ แลว ตัวเมียทีม่ ีไขเ ตม็ ทอ งจะตกลงสพู ้ืนดินหรอื พ้ืนคอกและวางไขล งในดิน ตัวออนจะฟก ออกไขไ ดอยางรวดเร็ว โดยเฉพาะเมอ่ื อยูในสภาพอากาศท่รี อนชน้ื ตวั ออนเหบ็ จะอาศยั อยบู น ดิน และปน ขนึ้ ไปตามตนหญา เพอื่ รอใหแพะเขา มาแทะเลม็ หญา แลวถอื โอกาสนน้ั ข้นึ เกาะตวั สัตวเ พื่อดดู เลอื ดและเจรญิ เตบิ โตเปน ตวั เตม็ วัยตอไป ภาพท่ี 8.33 ลักษณะภายนอกของเหบ็ ตวั เตม็ วยั ขณะดดู กินเลอื ดบนผวิ หนังสตั ว (ที่มา: Blagburn & Dryden. 2000. p 22) AT 335 172

หมดั หมัด (Fleas) เปนพยาธิภายนอกทจ่ี ดั อยูใ นกลุมแมลงไมมปี ก (Wingless insect) ที่มีขนาดเล็กมาก มผี วิ เปน มนั สนี ้ําตาลเขม ลาํ ตวั แบนดา นขาง มีขาหลงั แขง็ แรงมากสามารถ กระโดดไดสงู และไกล หมดั มีวงชีวิตแบงเปน 4 ระยะ คือ ไข (Eggs), ตัวออน (Larva), ดกั แด (Pupa) และตวั เตม็ วยั (Adult) โดยหมัดตวั เตม็ วัยจะผสมพันธแุ ละออกไขบ นตวั สัตวไขท ่อี อกมาอาจจะ ตกจากตวั สตั วส ูพ้นื ดนิ ซึ่งสวนใหญจ ะฟก ออกจากไขภายใน 2 วนั และเจรญิ พฒั นาเปน ตวั ออ น บนพ้ืนคอกหรอื พ้ืนดนิ ท่สี ตั วอ าศยั อยนู ั้น หลงั จากท่เี ปนตัวออ นจะมอี ายปุ ระมาณ 2-3 สปั ดาห ตวั ออนก็จะกลายเปน ดกั แดอ ยูนานประมาณ 1 สัปดาห แลวเมือ่ ออกจากดักแดก็จะกลายเปน ตัวเตม็ วยั ท่ีสามารถกัดกนิ ผิวหนังและดูดเลือดไดภ ายใน 24 ชวั่ โมง แตอยา งไรก็ตามการแพร ระบาดของหมดั ในกลมุ ของสัตวก ระเพาะรวมยงั อาจจะไมเปนปญหาสําคญั มากนกั เพราะหมดั สว นใหญจ ะไมคอ ยชอบอาศัยบนตัวของสตั วพวกนน้ี กั ซ่งึ อาจเปนเพราะวาสตั วก ระเพาะรวมมี ลักษณะของช้นั ผวิ หนงั ทีห่ นาและมขี นเบาบางทําใหไ มส ามารถเปนท่อี าศยั และหลบซอนตวั ได ภาพท่ี 8.34 ลกั ษณะภายนอกของหมัดตัวเตม็ วยั (ท่ีมา: Blagburn & Dryden. 2000. p 20) เหา เหา (Lice) จดั เปน แมลงดดู เลอื ดทไ่ี มมปี ก (Wingless insect) ลําตวั แบนจากบน มาลาง เหาเปน พยาธภิ ายนอกชนดิ ถาวรคอื มนั จะอาศยั อยูบนตวั สตั วจนตลอดวงชีวติ ของมนั AT 335 173

เหาท่พี บในแพะแบงไดเ ปน 2 ประเภทคอื เหาชนิดทดี่ ดู เลอื ด (Sucking lice) และ เหาชนิดท่กี ัดกินเซลลผ วิ หนงั (Biting lice) ซึง่ ทงั้ 2 ชนิดจะทาํ ใหเ กิดความระคายเคอื งบรเิ วณ ทถ่ี ูกกัดเกิดเปน บาดแผล และความเจบ็ ปวดผวิ หนงั ท่ีถกู กดั ซึ่งเปน สาเหตขุ องภาวะโรคผวิ หนัง ขนรวง และการติดเช้อื แบคทเี รยี แทรกซอนบรเิ วณบาดแผลทถ่ี ูกกดั นอกจากนี้ยังทําใหแพะ เกดิ ความเครยี ด หงดุ หงิดรําคาญ อาจรุนแรงถงึ ขน้ั เบอื่ อาหาร นา้ํ หนกั ลด และไมส ามารถทีจ่ ะ นอนหลับได ในกรณีทม่ี ีเหาดดู เลอื ดเปน จํานวนมากๆอาจทาํ ใหแพะเกิดภาวะโลหติ จาง การติดตอ ของเหาจากแพะตัวหนง่ึ ไปยังแพะอีกตัวหนง่ึ นนั้ จะสามารถติดตอ ไดโ ดย การสัมผสั คลกุ คลใี กลช ิดกนั โดยเฉพาะฝูงแพะท่เี ลย้ี งรวมกันในคอกทหี่ นาแนนหรอื การปลอ ย เลยี้ งในทงุ เปน ฝูงใหญที่แพะในฝูงเปน เหา หรอื เกษตรกรไมคอ ยไดด ูแลฉีดพน ยากําจดั เห็บเหา ไรขเ้ี รอื้ น ไรขเี้ รอื้ น (Mange mite) เปนไรที่อาศยั อยูบนผวิ หนงั ของสตั วท ม่ี ีขนาดเลก็ จนไม สามารถมองเหน็ ไดด ว ยตาเปลา ในแพะสามารถพบไดทัง้ ไรชนดิ ทไ่ี มขุดโพรงคอื Psoroptes spp. และไรชนดิ ท่ีขดุ โพรงลกึ เขาไปในผวิ หนงั คอื Sarcoptes spp. โดยทมี่ ันจะขดุ โพรงเขาไป ในผิวหนงั และอาศัยอยูในโพรงจนตลอดชีวติ หรืออาจขึ้นมาบนผิวหนงั บางเปนครงั้ คราวเทานน้ั เพราะไรจะไมท นทานตอ สภาพแวดลอมทแี่ หง แลง นอกตัวสตั ว วงชวี ติ ของไรจะนานประมาณ 3- 4 สปั ดาห โดยตัวเตม็ วัยจะผสมพนั ธุที่บนผวิ หนงั แลวตวั เมียจะขดุ โพรงไปวางไขและไขก ็จะ ฟกตวั ออกจากไขเปน ตวั ออ นอยูใ ตชนั้ ผวิ หนงั การตดิ ตอของไรเกิดจากการสมั ผสั คลกุ คลีใกล ชดิ กันหรือติดจากไรทต่ี ิดอยตู ามรั้วและคอกที่แพะไปถไู ถเกาตวั เองไว ไรจะเปนสาเหตุของการเกดิ ภาวโรคผวิ หนงั ชนิดทเ่ี รียกวาขีเ้ รอ้ื น โดยทําใหแ พะมี อาการคนั อยา งรุนแรงจากการท่ไี รขุดโพรงเขาไปในชนั้ ผวิ หนงั ของสตั ว ทาํ ใหสตั วรูสกึ คนั และ จะเกาหรือถูไถตวั เองกบั คอก ริมรวั้ หรอื ตนไมอยตู ลอดเวลา ซึง่ จะทาํ ใหแพะเกดิ ความเครยี ด หงดุ หงิด รําคาญ อาจรุนแรงถึงข้นั เบือ่ อาหาร นํ้าหนักลด และไมส ามารถท่ีจะนอนหลับไดแ ละ มีอาการเดนชดั คือขนรว ง และอาจเกดิ การติดเชอ้ื แบคทเี รียแทรกซอนบรเิ วณผวิ หนงั หรอื บาด แผลท่ถี ูไถกับบริเวณรวั้ คอก AT 335 174

ภาพท่ี 8.35 ลักษณะภายนอกของไรข้เี ร้ือน (ท่มี า: Blagburn & Dryden. 2000. p 29) ภาพที่ 8.36 ลักษณะการขดุ โพรงเขาไปในชนั้ ผิวหนงั สตั วข องไรข้เี รอ้ื น (ท่ีมา: Blagburn & Dryden. 2000. p 29) AT 335 175

ภาพท่ี 8.37 แพะที่เปน โรคผิวหนังจากไรข้เี รอ้ื น การควบคมุ พยาธภิ ายนอก การเล้ียงสตั วใ นเขตรอ นนน้ั พยาธิภายนอกถือเปนปญ หาในการรบกวนตัวสตั วท ี่ สาํ คญั ทั้งนเี้ พราะอณุ หภมู ิ และความชื้น รวมถงึ วิธกี ารเลีย้ งสตั วในเขตรอนทเ่ี ปน การเล้ยี งแบบ ปลอ ยแทะเลม็ ในแปลงหญา ยิ่งจะเอือ้ อํานวยตอการเจรญิ เตบิ โต และการแพรระบาดของพยาธิ ภายนอก ดังนนั้ จึงเปน เรอ่ื งจาํ เปนที่ตอ งมกี ารดูแลเอาใจใสตอการกําจดั พยาธิภายนอกทีจ่ ะกอ ความเดือดรอนราํ คาญ และอาจมผี ลถงึ ความออ นแอของรางกายสัตวต ามมา กรณที ่ีถูกกดั กิน เลือดและผวิ หนงั ของสัตว การควบคมุ เหบ็ ในสัตวทปี่ ลอ ยแทะเล็มในแปลงหญาคอ นขางจะยงุ ยาก เพราะใน แปลงหญา นนั้ จะเปนแหลงของการฟก ไขแ ละการแพรกระจายของเหบ็ จึงตองเลอื กใชวธิ กี ารท่ี เหมาะสมและเลือกใชย าทไี่ ดผ ลดี เชน เม่อื มกี ารเตรยี มแปลงปลกู หญากค็ วรมีการเตรยี มดนิ AT 335 176

โดยการพลกิ หนาดินตากแดดท้งิ ไวห ลายๆวนั เพือ่ จะเปน การทาํ ลายไขข องเห็บทีอ่ าจปนเปอ น อยใู นดนิ ก็สามารถลดอตั ราการฟกไขได และชว ยลดการตดิ เหบ็ จากการปลอ ยแพะลงแทะเลม็ ในแปลงหญาไดบ า งระดับหน่งึ การใชผาชบุ นา้ํ ยากําจัดเหบ็ เหา ไรข้เี ร้ือน เชด็ ตามตัวสตั วกไ็ ดผ ลดี ท้งั น้ีข้ึนกับ จาํ นวนสัตวใ นฝูง ความสะดวกของผปู ฏิบตั ิ และสภาพเศรษฐกิจ ซง่ึ ถาหากมีสตั วจ าํ นวนนอ ย การใชผ าชบุ นาํ้ ยาเช็ดตามตวั สตั วหรอื การใชเคร่อื งพน ยาชนิดขวดสเปรยก จ็ ะชว ยใหท ํางานไดส ะดวกและประหยดั ไดมาก สว นการใชย าฉดี Ivermectin เขา ใตผวิ หนังก็ใชไดผ ลดกี บั การ กําจดั พยาธิภายนอกพวกเห็บ และไรขเี้ รอ้ื นพวก Psoroptes spp. และ Sarcoptes spp. โรคไมตดิ เชอื้ และความผดิ ปกตอิ นื่ ๆ โรคทองอดื (Bloat) เปน อาการท่พี บในสตั วสีก่ ระเพาะที่มีการยอ ยอาหารและการทํางานของระบบการห มักผดิ ปกติ ซง่ึ ทาํ ใหเ กิดมแี กซ มากเกินไปในกระเพาะอาหาร โดยสัตวไ มส ามารถระบายแกซ นัน้ ออกจากรางกายได อาการนีไ้ มไ ดมีสาเหตุจากเชอ้ื โรคใดๆแตส าเหตทุ ่แี ทจ รงิ นั้นมักมคี วาม สัมพนั ธเกย่ี วเนอ่ื งมาจากอาหารที่สตั วกินเขาไป แตโดยปกตใิ นแพะไมค อ ยพบอาการทองอืด สาเหตุของโรค สว นใหญเ กิดจากการทส่ี ัตวก ินอาหารมากเกนิ ไป ซงึ่ เปน สาเหตุ หลกั ท่พี บมากทส่ี ดุ เน่อื งจากกระเพาะอาหารของแพะมขี นาดเลก็ เม่ือเทียบกบั โค กระบือ และ มีอตั ราในการยอ ยและดูดซึมอาหารจาํ กดั ถาแพะกนิ อาหารมากเกินไปโดยเฉพาะอาหารพวก ธัญพชื อาหารขน หญา ออ น พืชอวบน้าํ หญา หมัก จนเกินขดี ความสามารถในการยอยของ กระเพาะแลว จะมีโอกาสทําใหเ กดิ ปญหาของอาหารไมยอยและเกิดทองอดื ไดงา ย หรอื ในกรณี ของลกู แพะทก่ี ินอาหารขนและอาหารหยาบมากเกนิ ไปกจ็ ะทําใหทองอืดได เนอ่ื งจากกระเพาะ อาหารของลกู แพะยงั เจรญิ ไมเ ตม็ ท่ี ทําใหการยอ ยอาหารยงั ไมม ปี ระสทิ ธภิ าพมากนักสวนใหญ มักจะเกดิ กับกระเพาะสว นแรก (Fore stomachs) ท่ีไมสามารถยอยอาหารได สาเหตุอ่นื ๆของอาการทอ งอืดคอื การทแ่ี พะกินอาหารทบ่ี ูดเนาหรอื กินวัตถทุ ่ยี อ ย ไมได เชน กระจกุ ขน พลาสตกิ และโลหะตางๆ รวมถึงสภาพความเครยี ดของแพะจากสภาพ อากาศท่ีรอนหรอื หนาวเกินไป มีผลใหร ะบบการยอ ยอาหารของแพะเกดิ การเปล่ียนแปลงการ ทาํ งานของกระเพาะอาหารชา หรือเร็วเกนิ ไป หรอื มีภาวะที่มกี ารสูญเสียหนาที่การสั่งการของ ระบบประสาทท่ีมาเล้ยี งสว นของอวยั วะทีใ่ ชย อยอาหาร ไมวาจะเกิดจากอุบตั เิ หตุกระทบเทอื น ตอระบบประสาทไขสันหลงั หรือภาวะจากความเสือ่ มของเซลลประสาทเอง AT 335 177

อาการของโรค อาการโดยทวั่ ไปแพะจะหายใจลําบาก ซึม กระเพาะขยายทาํ ให ชองทอ งดา นซา ยมีขนาดใหญแ ละกางออก ชพี จรเตน เร็ว อัตราการหายใจเรว็ อุณหภูมิรางกาย สงู ขนึ้ อาจมีอาการตัวแข็ง ลม ตวั ลงนอน เหยยี ดและเกรง็ ขาทง้ั 4 ขา ง กดั ฟน และอาจตายได เนอื่ งจากสาเหตทุ ี่แพะหายใจไมออก การปองกนั และรกั ษา อาการทองอืดของแพะนัน้ มกั มสี าเหตหุ ลักมาจากอาหาร ดังน้ันการปองกนั ทดี่ คี อื ไมควรใหแ พะกนิ อาหารขน และอาหารหยาบอวบนาํ้ หรอื หญา ออ นใน ปรมิ าณมากเกนิ ไป รวมทงั้ ดูแลลกู แพะใหกนิ อาหารที่เหมาะสมถกู สว นและไมมากเกินไป การแกไ ขแพะทม่ี อี าการทอ งอดื น้ันทําไดโดยการระบายแกซออกซงึ่ ทําไดห ลายวธิ ี เชน ใชท ี่เจาะกระเพาะ (Trocar และ Cannula) เจาะที่บรเิ วณสวาปดา นซา ยของแพะใหตรงกบั กระเพาะหมกั ทําใหเ กดิ การระบายแกซ ออกไดอยางรวดเร็วชว ยใหแพะหายใจสะดวกขึ้น หรือ อาจใชวธิ ีการปอ นดว ยนาํ้ มนั พชื หรือ Mineral oil โรคไขน้าํ นม (Milk fever) โรคไขนา้ํ นม (Milk fever) มกั จะพบในแมแ พะทมี่ อี ตั ราการใหน มทส่ี งู พบวาแพะ จะมีอาการของโรคน้ีไดม ากในชวงกอ นคลอด ระหวางคลอด หรือหลงั คลอด ซง่ึ เกิดจากภาวะท่ี รางกายมรี ะดบั แคลเซยี มในเลอื ดลดต่าํ ลง (Hypocalcemia) เปน ผลใหรางกายเกิดภาวะขาด แคลเซียมอยา งเฉยี บพลนั ทาํ ใหม อี าการชกั กระตุก ลม ลงนอน และตายในทีส่ ุด สาเหตุของโรค กรณที ่ีแมแ พะมกี ารใหน มสงู ๆจะทําใหเ กิดการดึงธาตแุ คลเซยี ม ในเลือดไปเพอื่ การสรางเปน นาํ้ นม หรอื เนอ่ื งจากภาวะทฮ่ี อรโมนพาราไทรอยด (Parathyriod hormone) ท่ที าํ หนาท่ีกระตุน ใหเ กดิ การสลายแคลเซยี มจากกระดกู ออกสกู ระแสเลอื ดและเพม่ิ อัตราการดดู ซึมแคลเซยี มจากระบบทางเดินอาหารอยูในสภาวะเฉ่ือย โดยมากมักพบในแพะที่ อว น ทําใหร า งกายของแมแพะไมสามารถดงึ แคลเซยี มทสี่ ะสมไวใ นรา งกายออกมาผลิตนาํ้ นม ไดเ พยี งพอทําใหในกระแสเลือดเกิดการขาดแคลเซียมอยางฉับพลนั และถา หากวาแมแ พะเกิด ภาวะท่มี รี ะดบั ของแคลเซยี มในเลือดตํ่า ก็อาจจะสงผลถึงตวั ลูกทคี่ ลอดออกมาได โดยลูกแพะ จะไดร บั แคลเซียมไมเพียงพอตอ การเจรญิ เตบิ โต และการสะสมแคลเซียมในกระดกู เม่ือคลอด ออกมาลกู แพะก็อาจจะมีอาการขาดแคลเซียมไดด วยเชนกัน อาการของโรค แพะทีข่ าดแคลเซียมอาจจะพบอาการตัง้ แตการเดนิ โซเซ เดินวน ขาออ นแรง หรือเดนิ ลากขา ขาหลังไมม ีแรง ในลกู แพะจะไมแขง็ แรงและไมเจริญเตบิ โต ตวั เย็น ปลายหูและปลายขาจะเย็น ระบบยอ ยอาหารไมท าํ งาน ตวั ท่ีมอี าการรุนแรงจะลมลงนอน หอบ หายใจลําบาก ชักกระตกุ หมดสตแิ ละตายในท่ีสดุ AT 335 178

การปองกนั และรกั ษา หากพบแพะท่ีมอี าการของการขาดแคลเซียมสามารถทํา การรกั ษาโดยการฉดี ธาตุแคลเซยี มเขาทางหลอดเลือดดาํ ใหญท่ีคอ (Jugular vein) อยา งชาๆ ซึง่ แคลเซยี มท่ีใชร กั ษาโรคไขน ้ํานม คอื แคลเซียมโบโรกลูโคเนต (Calcium borogluconate) นอกจากนคี้ วรใหส ารละลายฟอสฟอรสั เชน คาโตซาล และฉดี วติ ามนิ ดี เชน AD3E เพอ่ื ชวย ในการดูดซมึ แคลเซียมทบี่ ริเวณลําไส การปองกันควรมีการเสรมิ แคลเซียมในอาหารแกแ พะ ท่ใี หนมสงู ๆและตรวจดรู ะดบั อัตราสว นของแคลเซียมตอฟอสฟอรสั ในอาหารใหอ ยูในระดบั 1:1 หรอื 2:1 แตไ มค วรใหเกนิ 3:1 สวนในระยะ 2-3 สัปดาหก อ นคลอด ควรลดระดบั แคลเซยี ม ในอาหารเพือ่ กระตนุ ใหรา งกายมีการปรบั ตวั ใหฮ อรโมนพาราไทรอยดอ ยูใ นสภาพเตรยี มพรอมท่ี จะทําหนา ทีใ่ นการกระตนุ การสลายกระดูก เพื่อนําแคลเซยี มออกสูกระแสเลือดทําใหร างกาย สามารถดดู ซมึ มาใชไ ดท นั ทใี นระยะหลงั คลอด และไมควรใหแมแ พะอว นเกินไปในระยะพกั รดี นม (Dry) เพราะจะทาํ ใหแมแ พะกนิ อาหารนอ ยลงและยังสงผลตอ การลดการดูดซมึ แคลเซียม ที่ลาํ ไสใ นระยะหลังคลอดทาํ ใหเกดิ การขาดแคลเซียมในกระแสเลอื ดอยางกระทันหันได โรคคโี ตซสี (Ketosis) เปน โรคทเ่ี กดิ จากการทีร่ า งกายขาดสารอาหารพวกที่ใหพลงั งาน ทําใหร างกายดงึ ไขมนั ทสี่ ะสมไวมาเปล่ียนเปนพลังงาน การเผาผลาญพลังงานจากสารต้งั ตนพวกไขมนั ท่ีสะสม ในรา งกายจะทําใหเ กดิ ของเสยี ทเ่ี ปนสารพิษ คอื สารคโี ตน (Ketone) ซ่ึงสารคโี ตนทเี่ กดิ ขึน้ จะ เขา สกู ระแสเลอื ดทาํ ใหส ัตวแ สดงอาการปวยโดยทาํ ใหเกิดความเปน พิษของสารคโี ตนตอระบบป ระสาทและระบบทางเดนิ อาหาร มกั พบไดใ นแมแพะทใี่ หน ้ํานมมากหรือในแพะท่ีอวนมไี ขมัน สะสมในรา งกายมาก และมกั จะเกิดในชวงระยะหลงั คลอดประมาณวันที่ 10-30 สาเหตขุ องโรค การขาดอาหารพลงั งานในชว งหลังคลอดเกิดข้นึ ไดเน่อื งจากการ ทแ่ี มแพะเกดิ ความเครยี ดจากความเจ็บปวดในการคลอด ทําใหเบอื่ อาหารกนิ อาหารไดนอ ยลง และรา งกายตอ งนําสารอาหารจากกระแสเลอื ดเพ่อื มาใชใ นการสรางน้ํานมชวงหลงั คลอดทเี่ พม่ิ มากขึน้ กย็ ่งิ สงผลถึงสภาวะการขาดสารอาหาร และพลงั งานท่ใี ชในการดาํ รงชวี ิต รวมถงึ การ เพิม่ ผลผลติ ของแพะ นอกจากน้กี รณที ่ีแมแพะอวนเกนิ ไป มกี ารออกกาํ ลังกายนอยจะทําใหม ี การสะสมไขมนั ตามสว นตา งๆของรา งกาย และอวัยวะในชองทอ งมากเกินไปการทีแ่ พะมีไขมัน มากจะทําใหรา งกายมีการปรบั ตวั โดยการดงึ ไขมนั ทสี่ ะสมไวใ นรางกายออกมาใชมากขึน้ และ พลังงานทีไ่ ดม าจากการเผาผลาญไขมนั นั้นทําใหเกดิ ของเสยี ท่ีเปนพิษคอื สารคีโตน (Ketone) การสะสม และดูดซึมสารคีโตนเขา สรู า งกายจะกอใหเกิดอนั ตรายตอระบบตางๆ ในรางกายได AT 335 179

อาการของโรค แพะทปี่ ว ยจะแสดงอาการซมึ เบอ่ื อาหาร ทองอืด นํ้าหนักตัวลดลง อยางรวดเร็ว เดินโซเซ ขาออ นแรง แมแ พะนมจะใหนมลดลง บางคร้ังอาจทาํ ใหเกดิ ปญ หา ทางระบบสบื พนั ธุ เชน แมแ พะไมเ ปนสดั ไมยอมผสมพันธุ หรือไมสนใจดแู ลลกู การปองกนั และรักษา กรณที ่ีพบแมแ พะทป่ี ว ยดว ยโรคคีโตซสี แบบแสดงอาการ ควรฉดี สารละลายกลูโคสเขา เสน เลอื ด เพ่ือใชเ ปน แหลงพลังงานแกแ มแ พะทส่ี ามารถนาํ ไปใช ไดอ ยางทันที รว มกับยากลุมตา นการอักเสบ (Anti-inflammation) และยากระตุนการทํางาน ของระบบทางเดินอาหาร นอกจากนค้ี วรใหอาหารพลงั งานทมี่ กี ารยอยสลายงา ย เพ่อื ชวยเพม่ิ พลังงานใหแ มแ พะดว ย การปองกันคือไมค วรใหแพะอวนเกินไปในระยะพักรดี นมเพราะอาหาร ทแ่ี มแพะกนิ มากเกินไป และเกินความตอ งการของรา งกายจะไปสะสมในรา งกายในรูปไขมัน ทาํ ใหแพะอว นและมีแนวโนมจะเกดิ โรคนไี้ ดง ายในระยะหลังคลอด และควรหมั่นตรวจสอบสาร คโี ตนในนา้ํ ปส สาวะของแมแ พะระยะหลังคลอด เพื่อเปน การเฝาระวังการเกดิ โรค เน่ืองจากโรค นี้มภี าวะที่ทําใหเ กดิ โรคแบบเรือ้ รังอยูเสมอ แตถา เมอ่ื เกดิ การแสดงอาการของโรคแลวไมไ ดรบั การรักษาอยา งทันทวงทีอาจทําใหแพะตายได โดยเฉพาะในกรณที ่แี มแพะเรม่ิ เบอื่ อาหารและ ปริมาณนมลดลงกระทนั หัน การตรวจหาสารคีโตนสามารถตรวจไดจ ากนํา้ ปสสาวะหรอื น้าํ นม โดยนาํ มาทดสอบกับแผน ทดสอบตรวจหาสารคโี ตน (Ketosis test strips) ถานาํ้ ปสสาวะมีสาร คีโตนแผนทดสอบจะเปลีย่ นเปน สนี ้ําเงินหรอื มวงแดง ภาพท่ี 8.38 แผนตรวจสารคีโตน (Ketosis test strips) ในนา้ํ ปสสาวะ (ท่ีมา: http://www.nutrivea-usa.com/ketochart.gif) AT 335 180


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook