ชุดการเรียนรู้ทางไกล คร้ังท่ี /18 เร่ือง ÁÃ襸°¤¡ª· Á°¦r°¸n วชิ า เทคโนโลยสี ารสนเทศเพ่อื การจดั การอาชีพ รหสั วชิ า 3001 -2001 สาขาวชิ า เทคโนโลยสี ารสนเทศ ประเภทวชิ า เทคโนโลยีสารสนเทศ หลกั สูตรระดับ ประกาศนียบตั รวชิ าชีพช้นั สูง (ปวส.) ตามหลกั สูตร สานกั งานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา พทุ ธศกั ราช 2557 ประทีป ผลจนั ทร์งาม เพ่ือการจดั ทาเน้ือหาและพฒั นาส่ือการสอนอาชีพและวชิ าชีพ สาหรับการศกึ ษาทางไกลหรือเรียนฝึกงานในสถานประกอบการดว้ ยตนเอง วทิ ยาลัยเทคนคิ ระยอง สถาบันการอาชวี ศึกษาภาคตะวันออก สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ
สารบญั 1. รายละเอียดหลกั สูตรรายวชิ า 1 2. ใบวเิ คราะห์หวั ขอ้ เร่ือง 4 3. แผนภมู ิปะการัง 6 4. โครงการจดั การเรียนรู้ 8 5. แผนการจดั การเรียนรู้ 12 6. เน้ือหา (ใบความรู้) 19 7. ส่ือประกอบการสอน 37 8. แบบทดสอบก่อนเรียน 85 9. แบบทดสอบหลงั เรียน 88 10. เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน 91 11. เฉลยแบบทดสอบหลงั เรียน 93 12. แบบประเมินพฤติกรรมรายบุคคล 95 13. แบบบนั ทึกหลงั การเรียนรู้ 97
1 1.รายละเอียดหลกั สูตรรายวชิ า
2 ช่ือวชิ า.เทคโนโลยสี ารสนเทศเพือ่ การจดั การอาชพี คาอธิบายรายวชิ า รหัสวชิ า300– แผ่นที่ 1 สาขาวชิ า เทคโนโลยีสารสนเทศ คาอธิบายรายวชิ า ( เดมิ ) 1. รหัสและช่ือวชิ า 3000–0203. วชิ า เทคโนโลยสี ารสนเทศเบอื้ งต้น 2. ระดบั รายวชิ า ระดบั ช้นั ปวส. ปี ท่ี 1 3. เวลาศึกษา 72 ชว่ั โมงตลอด 18 สัปดาห์ ทฤษฎี 2 ชว่ั โมง ปฏิบตั ิ 2 ชว่ั โมงต่อสปั ดาห์ 4. จานวนหน่วยกติ 3 หน่วยกิต 5. จุดประสงค์รายวชิ า 1. เเขา้ ใจเก่ยี วกบั คอมพวิ เตอร์ ระบบเครอื ข่ายคอมพิวเตอร์และสารสนเทศรจดั การสารสนเทศ 2. สามารถสบื ค้น จัดเก็บ คน้ คนื สง่ ผ่าน จดั ดำเนนิ การข้อมูลสารสนเทศ นำเสนอและสือ่ สารข้อมูล ส 3. มีคณุ ธรรม จรยิ ธรรมและความรับผิดชอบในการใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศเพื่อการจดั การอาชพี 6. สมรรถนะรายวชิ า 1. แสดงความรเู้ กี่ยวกบั หลักการและกระบวนการสบื ค้น จัดดำเนนิ การและสอ่ื สารขอ้ มลู ฯ 2. ใชค้ อมพวิ เตอรในการสืบค้นและสอื่ สารขอ้ มลู สารสนเทศผา่ นระบบ เครือข่ายคอมพวิ เตอร์ 3. จัดเก็บ ค้นคนื สง่ ผ่านและจดั ดำเนินการขอ้ มูลสารสนเทศตามลักษณะงานอาชพี 4. นำเสนอและสื่อสารขอ้ มลู สารสนเทศในงานอาชพี โดยประยุกต์ใชโ้ ปรแกรมสำเรจ็ รปู 7. คาอธิบายรายวชิ า ศกึ ษาและปฏิบัติเก่ยี วกบั คอมพวิ เตอรแ์ ละอุปกรณโ์ ทรคมนาคม ระบบเครือขา่ ยคอมพวิ เตอร์ และ สารสนเทศ การสบื ค้นข้อมูลสารสนเทศ การจดั เก็บ คน้ คืน ส่งผ่านและจัดดำเนนิ การขอ้ มูล สารสนเทศ การประยุกตใ์ ชโ้ ปรแกรมสำเรจ็ รปู ในการนำเสนอและสอ่ื สารข้อมลู สารสนเทศ ตามลกั ษณะงานอาชพี
3 ชื่อวชิ า.ทคโนโลยีสารสนเทศเพอ่ื การจดั การอาชีพ คาอธิบายรายวชิ า แผ่นท่ี 2 รหสั วชิ า3001–2001 สาขาวชิ า เทคโนโลยสี ารสนเทศ คาอธิบายรายวชิ า ( เดมิ ) ศกึ ษาและปฏิบัตเิ กย่ี วกบั คอมพิวเตอร์และอปุ กรณ์โทรคมนาคม ระบบเครอื ขา่ ยคอมพิวเตอร์ และ สารสนเทศ การสบื ค้นข้อมูลสารสนเทศ การจัดเก็บ คน้ คนื ส่งผ่านและจัดดำเนินการขอ้ มลู สารสนเทศ การประยกุ ตใ์ ชโ้ ปรแกรมสำเรจ็ รูปในการนำเสนอและสื่อสารข้อมลู สารสนเทศ ขอ้ มลู สารสนเทศเพ่ือพฒั นางานอาชีพดว้ ยคอมพวิ เตอร์ คาอธิบายรายวชิ า ( ปรับปรุง ) ศึกษาเกยี่ วกบั พ้ืนฐานเทคโนโลยสี ารสนเทศและการสื่อสาร ขอ้ มลู และการจดั การฐานขอ้ มลู การส่ือสารขอ้ มลู เทคโนโลยคี อมพวิ เตอร์ เทคโนโลยซี อฟตแ์ วร์ ระบบปฏิบตั ิการคอมพวิ เตอร์ ความรู้พ้ืนฐานของเทคโนโลยเี ครือขา่ ย เทคโนโลยสี ารสนเทศกบั อินเตอร์เน็ต การสืบคน้ ขอ้ มูล ตามลักษณะงานอาชีพ ศกึ ษาและปฏิบตั ิเกย่ี วกบั งานทดสอบโปรแกรมการจดั การฐานขอ้ มูล MS-ACCESS งานประกอบ ไมโครคอมพวิ เตอร์PC งานทดสอบโปรแกรม MS-Word งานทดสอบโปรแกรม MS-Power Point งานทดสอบโปรแกรม MS-Excel งานติดต้งั และทดสอบระบบปฏิบตั ิการ Linux งานติดต้งั และ ทดสอบระบบปฏิบตั ิการ Windows XP งานทดสอบระบบเครือขายวนิ โดว์ งานทดสอบสาย UTP งาน ทดสอบสอบ Switching HUB งานทดสอบระบบเครือขายอินเทอร์เน็ต งานทดสอบ IP Address งาน ทดสอบการใชง้ าน Browser งานทดสอบการใช้ e-Mail งานทดสอบการสืบคน้ มูลผา่ นเครือข่าย อินเทอร์เน็ต
4 2. ใบวิเคราะห์หวั ขอ้ เร่ือง
5 ชื่อวชิ า.เทคโนโลยสี ารสนเทศเพื่อการจดั การอาชพี ใบวเิ คราะห์หัวข้อเรื่อง รหัสวชิ า300– สาขาวชิ า เทคโนโลยสี ารสนเทศ แผ่นท่ี 1 แหล่งข้อมูล หวั ข้อเรื่อง ( Topic ) ABCDE 1. พ้ืนฐานเทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่ือสาร 2. ขอ้ มูลและการจดั การฐานขอ้ มลู /// / 3. การส่ือสารขอ้ มลู 4. เทคโนโลยคี อมพวิ เตอร์ / //// 5. เทคโนโลยซี อฟตแ์ วร์ 6. ระบบปฏิบตั ิการคอมพิวเตอร์ / //// 7. ความรู้พ้ืนฐานของเทคโนโลยเี ครือข่าย 8. เทคโนโลยสี ารสนเทศกบั อินเตอร์เน็ต / //// 9. การสืบคน้ ขอ้ มูลสารสนเทศเพอ่ื พฒั นางานอาชีพดว้ ยเครือข่าย อินเตอร์เน็ต / //// / //// / //// / //// / //// หมายเหตุ A : คาอธิบายรายวชิ า B : ประสบการณ์ของผู้สอน C : ผู้เช่ียวชาญ D : ผู้ชานาญงาน E : เอกสาร / ตารา
6 3. แผนภมู ิปะการงั
9.1 การสบคนขอมลสารสนเทศบนอนเทอร์เน็ต 1.1 เทคโนโลยสารสนเทศ 2.1 ขอมลและสารสนเทศ 9.2 เทคนคการสบคนขอมล 1.2 วฒนาการเทคโนโลยสารสนเทศและการสอสาร 2.2 ฐานขอมลและการจดการฐานขอมล 9.3 เวบ็ ไซต์ทเกยวของเพอประโยชน์ในการศกษา 9. การสบคนขอมลสารสนเทศเพอพฒนา 1. พนฐานเทคโนโลย 2. ขอมลและการจดการ 3.1 รปแบบของการสอสารขอมล งานอาชพดวยเครอขายอนเตอรเ์ น็ต สารสนเทศและการสอสาร ฐานขอมล 3.2 ชนดของสญญาณ อเล็กทรอนกส์ 3.3 รหสทใชแทนขอมลในการสอสาร 8. เทคโนโลยสารสนเทศกบ วชา เทคโนโลยสี ารสนเทศเพื่อการจดั การอาชพีี 3. การสอสารขอมล 3.4 ระบบการสอสารอเลก็ ทรอนกส์ อนเตอร์เนต็ รหสั 3001–2001สาขาวิชาเทคโนโลยสารสนเทศ 3.5 ทศทางของการสอสารขอมล 3.6 สอและอปกรณร์ บสงขอมล 8.1 เครอขายอนเตอรเ์ นต็ 7. ความรพนฐานของ 4. เทคโนโลยคอมพวเตอร์ 4.1 คอมพวเตอรแ์ ละฮารด์ แวร์ 8.2 การบรการเครอขายอนเตอร์เน็ต เทคโนโลยเครอขาย 5. เทคโนโลยซอฟต์แวร์ 4.2 องคป์ ระกอบพนฐานของเครอง คอมพวเตอร์ 8.3 โพรโตคอล TCP/IP 6. ระบบปฏบตการ (Transmission Control คอมพวเตอร์ 4.3 ประเภทของคอมพวเตอร์ Protocol/Internet Protocol) 4.4 เทคโนโลยคอมพวเตอรส์ วนบคคล 4.5 แนะนาการเลอกซออปกรณ์คอมพวเตอร์ 8.5 การเชอมตอเขากบอนเตอรเ์ นต็ 4.6 คอมพวเตอรก์ บเครอขาย 8.6 การใชงานและบรการตางๆ บนเครอขาย อนเตอรเ์ นต็ Control (MAC) Method) 7.1 เปาหมายของเครอขายคอมพวเตอร์ 5.1 ซอฟตแ์ วรค์ อมพวเตอร์ 7.2 ประเภทระบบเครอขายคอมพวเตอร์ 8.7 การประยกตใ์ ชอนเตอรเ์ นต็ 5.2 ภาษาคอมพวเตอร์ 8.8 เครอขายอนทราเน็ต 7.3 ระบบเครอขายLAN (Local Area Network) 5.3 แนวทางการพฒนาซอฟตแ์ วร์ 7.4 สอทใชในการสงขอมล 6.1 ระบบปฏบตการ 6.2 ระบบปฏบตการ UNIX และ Linux 5.4 ซอฟตแ์ วรป์ ระยกต์ 7.5 อปกรณ์ทใชในการเชอมตอบนระบบเครอขาย 6.3 ระบบปฏบตการวนโดว์ (ตอนท่ 1 การใชงานโปรแกรม MS Word) 7.6 วธควบคมการเขาใชงานสอกลาง (Media Access Control 6.4 ระบบปฏบต Windows mobile 5.4 ซอฟตแ์ วรป์ ระยกต์ (ตอนท่ 2 การใชงานโปรแกรม MS Power Point ) (MAC) Method) 7.7 มาตรฐานระบบเครอขายแบบ LAN ชนดตางๆ 5.4 ซอฟตแ์ วรป์ ระยกต์ 7.8 โปรโตคอลของระบบเครอขาย (Network Protocol) (ตอนท่ 3 การใชงานโปรแกรมไมโครซอฟท์ MS Excel ) 7
8 4. โครงการจดั การเรียนรู้
9 โครงการสอนทางไกล วชิ า เทคโนโลยสี ารสนเทศเพ่อื การจดั การอาชีพ รหสั วชิ า 3001–2001 สาขาวชิ าเทคโนโลยสี ารสนเทศ หลกั สูตรระดับ ประกาศนียบตั รวชิ าชีพช้นั สูง (ปวส.) ตามหลกั สูตร สานกั งานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา พทุ ธศกั ราช 2557 สอนคร้ังที่ หน่วยการ รายการสอน หมายเหตุ 1 เรียนท่ี 2 1. พนื้ ฐานเทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่ือสาร 3 1 1.1 เทคโนโลยสี ารสนเทศ 2 1.2 วฒั นาการเทคโนโลยสี ารสนเทศและการสื่อสาร 4 3 5 2. ข้อมูลและการจัดการฐานข้อมูล 3 2.1 ขอ้ มลู และสารสนเทศ 6 4 2.2 ฐานขอ้ มูลและการจดั การฐานขอ้ มูล 7 4 3. การสื่อสารข้อมูล 5 3.1 รูปแบบของการสื่อสารขอ้ มูล 3.2 ชนิดของสัญญาณ อิเล็กทรอนิกส์ 3.3 รหสั ท่ีใชแ้ ทนขอ้ มลู ในการสื่อสาร 3.4 ระบบการส่ือสารอิเลก็ ทรอนิกส์ 3.5 ทิศทางของการส่ือสารขอ้ มลู 3.6 ส่ือและอุปกรณ์รับส่งขอ้ มลู 4. เทคโนโลยคี อมพวิ เตอร์ 4.1 คอมพิวเตอร์และฮาร์ดแวร์ 4.2 องคป์ ระกอบพ้ืนฐานของเคร่ืองคอมพิวเตอร์ 4.3 ประเภทของคอมพิวเตอร์ 4.4 เทคโนโลยคี อมพิวเตอร์ส่วนบุคคล 4.5 แนะนาการเลือกซ้ืออุปกรณ์คอมพวิ เตอร์ 4.6 คอมพวิ เตอร์กบั เครือขา่ ย 5. เทคโนโลยซี อฟต์แวร์ 5.1 ซอฟตแ์ วร์คอมพิวเตอร์
10 สอนคร้ังท่ี หน่วยการ รายการสอน หมายเหตุ เรียนที่ 8 5.2 ภาษาคอมพวิ เตอร์ 9 5 5.3 แนวทางการพฒั นาซอฟตแ์ วร์ 10 5 5.4 ซอฟตแ์ วร์ประยกุ ต์ 11 5 (ตอนที่ 1 การใชง้ านโปรแกรม MS Word) 12 6 5.4 ซอฟตแ์ วร์ประยกุ ต์ 13 (ตอนท่ี 2 การใชง้ านโปรแกรม MS Power Point ) 14 6 5.4 ซอฟตแ์ วร์ประยกุ ต์ 6 (ตอนท่ี 3 การใชง้ านโปรแกรมไมโครซอฟท์ MS 15 7 Excel ) 6. ระบบปฏิบตั กิ ารคอมพวิ เตอร์ 16 7 6.1 ระบบปฏิบตั ิการ 6.2 ระบบปฏิบตั ิการ UNIX และ Linux 8 6.3 ระบบปฏิบตั ิการวนิ โดว์ 6.4 ระบบปฏิบตั ิ Windows mobile 7. ความรู้พนื้ ฐานของเทคโนโลยเี ครือข่าย 7.1 เป้ าหมายของเครือข่ายคอมพวิ เตอร์ 7.2 ประเภทระบบเครือข่ายคอมพวิ เตอร์ 7.3 ระบบเครือข่ายLAN (Local Area Network) 7.4 สื่อที่ใชใ้ นการส่งขอ้ มูล 7.5 อุปกรณ์ท่ีใชใ้ นการเช่ือมตอ่ บนระบบเครือขา่ ย 7.6 วธิ ีควบคุมการเขา้ ใชง้ านสื่อกลาง (Media Access Control (MAC) Method) 7.7 มาตรฐานระบบเครือข่ายแบบ LAN ชนิดตา่ งๆ 7.8 โปรโตคอลของระบบเครือข่าย (Network Protocol) 8. เทคโนโลยสี ารสนเทศกบั อนิ เตอร์เน็ต 8.1 เครือขา่ ยอินเตอร์เน็ต 8.2 การบริการเครือข่ายอินเตอร์เน็ต 8.3 โพรโตคอล TCP/IP (Transmission Control Protocol/Internet Protocol)
สอนคร้ังท่ี หน่วยการ รายการสอน 11 เรียนที่ 8.4 ระบบชื่อโดเมน (Domain Name System) หมายเหตุ 17 8 8.5 การเช่ือมต่อเขา้ กบั อินเตอร์เน็ต 8.6 การใชง้ านและบริการตา่ งๆ บนเครือข่าย อินเตอร์เน็ตControl (MAC) Method) 8.7 การประยกุ ตใ์ ชอ้ ินเตอร์เน็ต 8.8 เครือขา่ ยอินทราเน็ต 18 9 9. การสืบค้นข้อมูลสารสนเทศเพอื่ พฒั นางานอาชีพด้วย เครือข่ายอินเตอร์เน็ต 9.1 การสืบคน้ ขอ้ มูลสารสนเทศบนอินเทอร์เน็ต 9.2 เทคนิคการสืบคน้ ขอ้ มูล 9.3 เวบ็ ไซตท์ ี่เกี่ยวขอ้ งเพอ่ื ประโยชน์ในการศึกษา
12 5. แผนการจดั การเรียนรู้
13 แผนการจดั การเรียนรู้ คร้ังที่ 5 วชิ า เทคโนโลยสี ารสนเทศเพ่ือการจัดการอาชีพ หน่วยท่ี 4 ชื่อหน่วย เทคโนโลยคี อมพวิ เตอร์ ช่ัวโมงรวม 2 ช.ม. ชื่อเรื่อง เทคโนโลยคี อมพวิ เตอร์ ตอนท่ี 1 จานวน 2 ชั่วโมง 1.จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. อธบิ ายความหมายคอมพิวเตอร์และฮาร์ดแวร์ไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ ง 2. บอกองคป์ ระกอบพ้ืนฐานของเครื่องคอมพิวเตอร์ไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ ง 3. จาแนกประเภทของคอมพิวเตอร์ไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ ง 4. อธบิ ายการทางานของเทคโนโลยคี อมพวิ เตอร์ส่วนบุคคลไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ ง 2. หวั ข้อสาระการเรียนรู้ 1. คอมพิวเตอร์และฮาร์ดแวร์ 2. องคป์ ระกอบพ้ืนฐานของเครื่องคอมพิวเตอร์ 3. ประเภทของคอมพวิ เตอร์ 4. เทคโนโลยคี อมพวิ เตอร์ส่วนบุคคล 3. สาระสาคญั การเรียนรู้ ฮารด์ แวร์ ซอฟต์แวรแ์ ละทรพั ยากรมนุษย์ ถอื ได้ว่าเป็นส่วนประกอบท่สี าคญั ของระบบ คอมพวิ เตอร์ โดยทฮ่ี ารด์ แวรจ์ ะเป็นส่วนของอุปกรณ์อะไรกต็ ามทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั ระบบคอมพวิ เตอร์ โดยมซี อฟต์แวรเ์ ป็นส่วนท่จี ะสงั่ งานทลี ะคาสงั่ ๆ ใหค้ อมพวิ เตอร์ทางานบางครงั้ เราเรยี กคาสงั่ เหล่าน้ีว่า \"โปรแกรม\" (Program) และในระบบน้ีจะมคี นซง่ึ ถอื ได้ว่าเป็นส่วนทส่ี าคญั มาก ทงั้ น้ี เพราะถา้ ไม่มคี นเป็นผใู้ ชง้ านคอมพวิ เตอรต์ ามต้องการแลว้ คอมพวิ เตอรก์ ค็ งไม่มปี ระโยชน์อะไร คนบางกลุ่มสามารถเขยี นโปรแกรมเพ่อื บอกให้คอมพิวเตอร์ทางานได้ เราเรยี กคนกลุ่มน้ีว่า \"โปรแกรมเมอร\"์ (Programmer) แต่บางคนก็เพยี งแต่ซอ้ื ซอฟต์แวรม์ าและใชง้ านเท่านัน้ เราจะ เรยี กคนเหล่าน้ีว่า \" ยสู เซอร์ หรอื เอนยสู เซอร\"์ (Users หรอื End Uses)เพราะถอื ได้ว่าเป็นส่วน สดุ ทา้ ยของการใชค้ อมพวิ เตอร์
14 แผนการจดั การเรียนรู้ คร้ังท่ี 5 วชิ า เทคโนโลยสี ารสนเทศเพอื่ การจัดการอาชพี หน่วยที่ 4 ช่ือหน่วย เทคโนโลยคี อมพิวเตอร์ ช่ัวโมงรวม 2 ช.ม. 4. เนือ้ หาสาระ บทท่ี 4 เทคโนโลยคี อมพวิ เตอร์ 4.1 คอมพวิ เตอร์และฮาร์ดแวร์ 4.2 องคป์ ระกอบพ้ืนฐานของเครื่องคอมพวิ เตอร์ 4.3 ประเภทของคอมพิวเตอร์ 4.4 เทคโนโลยคี อมพิวเตอร์ส่วนบุคคล อา้ งอิงจากเอกสารประกอบการเรียนรู้ของ ประทีป ผลจนั ทร์งาม. วชิ าเทคโนโลยสี ารสนเทศเบือ้ งต้น .เอกสารประกอบการเรียนรู้.อดั สาเนา. เอกสารการพมิ พว์ ทิ ยาลยั เทคนิคบา้ นคา่ ย. 2555. 5. กจิ กรรมการเรียนการสอน กจิ กรรมครู กจิ กรรมนักเรียน ข้นั เตรียม ข้นั เตรียม 1. จดั เตรียมสื่อที่ใชป้ ระกอบการเรียนรู้ให้ 1. เตรียมตวั และเอกสาร หรือวสั ดุ เคร่ืองมือที่ พร้อม สาหรับการเรียนการสอน ( ตามรายการ จาเป็นตอ้ งใชใ้ นการเรียนรู้ ในหวั ขอ้ ท่ี ส่ือการเรียนรู้ เลือกส่ือการเรียนรู้ได้ 2. ใหค้ วามร่วมมือกบั ครูในการตรวจสอบรายช่ือ ตามความเหมาะสม ) เขา้ เรียน 2. ตรวจสอบรายช่ือนกั เรียนท่ีเขา้ เรียน 3. ถา้ เรียนรู้ผา่ นระบบ e-Learning ใหเ้ ขา้ สู่ระบบ เพ่อื เตรียมความพร้อมในการเรียนรู้ ข้นั สนใจปัญหา (Motivation) ข้นั สนใจปัญหา (Motivation) 1. ใหผ้ เู้ รียนทาแบบทดสอบก่อนเรียน โดย 1. ทาแบบทดสอบก่อนเรียน 2. ร่วมสนทนาและแสดงความคิดเห็น ใชเ้ วลา 30 นาที และครูตรวจคาตอบหลงั จาก เสร็จสิ้นการทดสอบ เพ่ือแจง้ ผลการทดสอบให้ นกั เรียนทราบหลงั เรียนจบบทเรียน 2. ใชส้ ่ือช่วยสอน นาเขา้ สู่บทเรียนดว้ ยภาพ แบบจาลอง ของตวั อยา่ ง หรือสิ่งท่ีจะช่วยดึงดูด ความสนใจ หรือคาถาม
15 แผนการจดั การเรียนรู้ คร้ังท่ี 5 วชิ า เทคโนโลยสี ารสนเทศเพื่อการจดั การอาชีพ หน่วยท่ี 4 ชื่อหน่วย เทคโนโลยคี อมพวิ เตอร์ ช่ัวโมงรวม 2 ช.ม. หมายเหตุ หากเรียนรู้จากสื่อวดี ีทศั น์ ทางไกลผา่ นดาวเทียม หรือผา่ นอินเทอร์เน็ต ตอ้ งทาการทดสอบก่อนเรียนใหแ้ ลว้ เสร็จก่อน การเรียนรู้ จากส่ือฯ ที่ทาการออกอากาศ ข้นั ศึกษาข้อมูล (Information) (60 นาท)ี ข้ันศึกษาข้อมูล (Information) 1. ใหผ้ เู้ รียนเริ่มเรียนรู้เน้ือหา หรือฝึก 1. ผเู้ รียนเร่ิมเรียนรู้เน้ือหา หรือฝึกปฏิบตั ิงาน ปฏิบตั ิงาน จากการฉายวดี ีทศั น์ในรูปแบบ จากการฉายวดี ีทศั นใ์ นรูปแบบ DVD หรือ ส่ือวดี ี DVD หรือ สื่อวดี ีทศั นท์ างไกลผา่ นดาวเทียม ทศั น์ทางไกลผา่ นดาวเทียม หรืออินเทอร์เน็ต หรืออินเทอร์เน็ต หรือแบบออฟไลน์ หรือแบบออฟไลน์ 2. ใหผ้ เู้ รียนไดส้ อบถามหรือขอ้ สงสยั จาก 2. ผเู้ รียนไดส้ อบถามหรือขอ้ สงสัย จากการ การเรียนรู้เน้ือหา เรียนรู้เน้ือหา ข้นั พยายาม (Application) (30 นาท)ี ข้นั พยายาม (Application) 1. หลงั การเรียนรู้เน้ือหาเสร็จสิ้น ใหผ้ เู้ รียน 1. หลงั การเรียนรู้เน้ือหาเสร็จสิ้นผเู้ รียนทา ทาแบบทดสอบหลงั เรียนหรือแบบฝึกปฏิบตั ิ แบบทดสอบหลงั เรียนหรือแบบฝึกปฏิบตั ิ 2. หรือใหผ้ เู้ รียนทาแบบทดสอบบน 2. หรือทาแบบทดสอบบนออนไลน์ และ ออนไลน์ และสามารถตรวจคาตอบไดท้ นั ที สามารถตรวจคาตอบทนั ที ข้นั สาเร็จผล (Progress) ข้นั สาเร็จผล (Progress) 1. ประเมินผลการปฏิบตั ิงานหรือ 1. รับผลการทดสอบ แบบทดสอบของผเู้ รียนหลงั ข้นั พยายามโดย 2. ครูและนกั เรียนร่วมกนั สรุปสาระสาคญั เทียบกบั วตั ถุประสงคก์ ารเรียนที่ต้งั ไว้ 3. นกั เรียนสอบถามขอ้ สงสัย 2. ผสู้ อนแจง้ ผลคะแนนการปฏิบตั ิงานหรือ 4. ฟังและปฏิบตั ิตามที่ครูแนะนา การทดสอบก่อนเรียนและหลงั เรียนใหผ้ เู้ รียน 5. ผเู้ รียนที่มีคะแนนทดสอบหลงั การเรียนท่ีไม่ ทราบ เพอ่ื เปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน ผา่ นเกณฑข์ ้นั ต่า ปฏิบตั ิตามขอ้ แนะนาตามเกณฑ์ ของตน การประเมินผล และคาแนะนาของครูผสู้ อน 3. ผสู้ อนแจง้ ใหผ้ เู้ รียนท่ีมีคะแนนหลงั เรียน ที่ไม่ผา่ นเกณฑข์ ้นั ต่า ปฏิบตั ิตามขอ้ แนะนาตาม เกณฑก์ ารประเมินผล
16 แผนการจดั การเรียนรู้ คร้ังท่ี 5 วชิ า เทคโนโลยสี ารสนเทศเพอื่ การจัดการอาชีพ หน่วยที่ 4 ช่ือหน่วย เทคโนโลยคี อมพิวเตอร์ ชั่วโมงรวม 2 ช.ม. 4. ผสู้ อนสรุปสาระสาคญั และตอบขอ้ สงสยั พร้อมแนะนาสิ่งท่ีเก่ียวขอ้ งในการเรียนรู้คร้ังน้ี และแนะนาการเรียนรู้ในคร้ังต่อไป 6. สื่อการเรียนการสอน ส่ือการเรียนรู้ ใหค้ รูผสู้ อนและผเู้ รียนเลือกใชส้ ่ือประกอบการเรียนการสอนตามสภาพความ พร้อมของของตนเอง ดงั น้ี 6.1 ส่ือโสตทศั น์ 1) วดี ีทศั นใ์ นรูปแบบ DVD เร่ือง เทคโนโลยคี อมพวิ เตอร์ ตอนท่ี 1 สาหรับผเู้ รียน ท่ี เรียนรู้จากการฉายวีดีทศั น์ 2) วดี ีทศั น์ทางไกลผา่ นดาวเทียม วงั ไกลกงั วล ตามตารางการออกอากาศ เรื่อง เทคโนโลยี คอมพวิ เตอร์ ตอนที่ 1 สาหรับผเู้ รียนท่ีเรียนรู้ทางไกลผา่ นดาวเทียม 6.2 โสตทศั น์อุปกรณ์ 1) เคร่ืองเล่น DVD พร้อม TV ที่มีช่องรับสญั ญาณ AV (AV IN) สาหรับผเู้ รียน ท่ีเรียนรู้ จากการฉายวดี ีทศั น์ 2) เคร่ืองรับสญั ญาณดาวเทียม ท่ีรับสัญญาณจากมูลนิธิการศึกษาทางไกลผา่ นดาวเทียม วงั ไกลกงั วล พร้อม TV ที่มีช่องรับสญั ญาณ AV (AV IN) สาหรับผเู้ รียนที่เรียนรู้ทางไกลผา่ น ดาวเทียม 6.3 สื่อส่ิงพมิ พ์ 1) สาเนาส่ือโปรแกรมนาเสนอ PowerPoint เร่ือง เทคโนโลยคี อมพวิ เตอร์ ตอนที่ 1 2) เอกสารประกอบการเรียนรู้ เช่น ใบความรู้ แบบทดสอบฯลฯ 6.4 ส่ือบทเรียนอเิ ลก็ ทรอนิกส์ 1) เคร่ืองคอมพวิ เตอร์ท่ีสามารถเช่ือมต่ออินเทอร์เน็ตได้ และเขา้ เวบ็ ไซต์ url: http://edltv.vec.go.th 2) เคร่ืองคอมพิวเตอร์พร้อมติดต้งั ระบบ edltv เพ่อื พฒั นาอาชีพ แบบออฟไลน์ สามารถเขา้ ใช้ งานและเรียนรู้ไดโ้ ดยตรง
17 แผนการจดั การเรียนรู้ คร้ังท่ี 5 วชิ า เทคโนโลยสี ารสนเทศเพื่อการจัดการอาชพี หน่วยที่ 4 ชื่อหน่วย เทคโนโลยคี อมพิวเตอร์ ช่ัวโมงรวม 2 ช.ม. 7. การวดั ผลและประเมนิ ผล 7.1 ก่อนเรียนรู้ วธิ ีการวดั ผล - ทดสอบก่อนเรียนรู้ เครื่องมือวดั - แบบทดสอบก่อนเรียนรู้ 7.2 ระหว่างเรียนรู้ วธิ ีการวดั ผล - ประเมินพฤติกรรมรายบุคคล เคร่ืองมือวดั - แบบประเมินพฤติกรรมรายบุคคล 7.3 หลงั เรียน วธิ ีการวดั ผล - ทดสอบหลงั เรียนรู้ เคร่ืองมือวดั - แบบทดสอบหลงั เรียนรู้ 8. เกณฑ์การประเมินผล 8.1 เกณฑ์การวดั ผลสัมฤทธ์จิ ากแบบทดสอบและใบมอบงานมเี กณฑ์ดังนี้ ร้อยละ 80-100 หมายถึง ผลการเรียนรู้ดีมาก ร้อยละ 70-79 หมายถึง ผลการเรียนรู้ดี ร้อยละ 60-69 หมายถึง ผลการเรียนรู้ปานกลาง ร้อยละ 50-59 หมายถึง ผลการเรียนรู้ผา่ นเกณฑ์ ข้นั ต่า (ควรปรับปรุงดว้ ยการศึกษาทบทวน) ต่ากวา่ ร้อยละ 50 หมายถึง ผลการเรียนไม่ผา่ นเกณฑ(์ ตอ้ งปรับปรุงและ เรียนซ่อมเสริมควรทดสอบการประเมินจนกวา่ จะผ่านข้นั ตา่ ) 8.2เกณฑ์การประเมนิ พฤตกิ รรมรายบุคคล 8-10 คะแนน หมายถึง มีพฤติกรรมดี 5-7 คะแนน หมายถึง มีพฤติกรรมพอใช้ ต่ากวา่ 5 คะแนน หมายถึง มีพฤติกรรมท่ีตอ้ งปรับปรุง
18 แผนการจดั การเรียนรู้ คร้ังที่ 5 วชิ า เทคโนโลยสี ารสนเทศเพื่อการจดั การอาชพี หน่วยท่ี 4 ชื่อหน่วย เทคโนโลยคี อมพิวเตอร์ ชั่วโมงรวม 2 ช.ม. 8.3 เกณฑ์การตดั สิน 2 คะแนน หมายถึง มีพฤติกรรมในระดบั ปฏิบตั ิสม่าเสมอ 1 คะแนน หมายถึง มีพฤติกรรมในระดบั ปฏิบตั ิบางคร้ัง 0 คะแนน หมายถึง มีพฤติกรรมในระดบั ไม่ปฏิบตั ิ 8.4 เกณฑ์การประเมนิ 8 - 10 คะแนน หมายถึง มีพฤติกรรมดี 5 - 7 คะแนน หมายถึง มีพฤติกรรมพอใช้ ต่ากวา่ 5 คะแนน หมายถึง มีพฤติกรรมที่ตอ้ งปรับปรุง 9. แหล่งการเรียนรู้เพมิ่ เติม - ประทีป ผลจนั ทร์งาม. วชิ าเทคโนโลยสี ารสนเทศเบือ้ งต้น .เอกสารประกอบการเรียนรู้. อดั สาเนา. เอกสารการพิมพว์ ทิ ยาลยั เทคนิคบา้ นคา่ ย. 2555. - สืบคน้ ขอ้ มูลจากแหล่งขอ้ มูลอื่นๆ ผา่ นเครือขายอินเทอร์เน็ต
19 6. เน้ือหา (ใบความรู้)
20 บทเรียนท่ี 4 เรอื่ ง เทคโนโลยีคอมพิวเตอรฮ์ ารด์ แวร์ จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ 1. อธบิ ายสว่ นประกอบฮารด์ แวรค์ อมพวิ เตอรไ์ ดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ ง 2. จาแนกองคป์ ระกอบคอมพวิ เตอรไ์ ดอ้ ยา่ งถูกตอ้ ง 3. บอกประเภทของคอมพวิ เตอรไ์ ดอ้ ยา่ งถูกตอ้ ง 4. อธบิ ายการพฒั นาเทคโนโลยสี ว่ นบุคคลไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ ง 5. อธบิ ายถงึ วธิ กี ารเลอื กซอ้ื อุปกรณ์คอมพวิ เตอรไ์ ดอ้ ยา่ งถูกตอ้ ง 6. อธบิ ายการนาคอมพวิ เตอรไ์ ปใชง้ านในระบบเครอื ขา่ ยไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ ง หวั ข้อเนื้อหา 1. บทนา 2. คอมพวิ เตอรแ์ ละฮารด์ แวร์ 3. องคป์ ระกอบพน้ื ฐานคอมพวิ เตอร์ 4. ประเภทของเครอ่ื งคอมพวิ เตอร์ 5. เทคโนโลยคี อมพวิ เตอรส์ ่วนบคุ คล 6. แนะนาการเลอื กซอ้ื อุปกรณ์คอมพวิ เตอร์ 7. คอมพวิ เตอรก์ บั เครอื ขา่ ย 8. สรปุ
21 บทเรียนที่ 4 เทคโนโลยีคอมพิวเตอรฮ์ ารด์ แวร์ 4.1 บทนา มคี นจานวนไมน่ ้อยทไ่ี มก่ ลา้ ใชค้ อมพวิ เตอร์ รสู้ กึ ยากมากเมอ่ื จะเรมิ่ ตน้ และเป็นปญั หาทห่ี นกั ขน้ึ ไปอกี เมอ่ื อยากจะซอ้ื คอมพวิ เตอรส์ กั เครอ่ื งมาใชง้ าน มคี าทป่ี รากฏในใบโฆษณามากมายทอ่ี ่าน แลว้ ไมเ่ ขา้ ใจ จะซอ้ื คอมพวิ เตอรร์ นุ่ ไหนจงึ จะเหมาะกบั งานทเ่ี ราตอ้ งการใช้ ถงึ เวลาทเ่ี หมาะสมหรอื ยงั ทจ่ี ะซอ้ื เพราะคอมพวิ เตอรม์ กี ารเปลย่ี นแปลงทร่ี วดเรว็ มาก เมอ่ื ซอ้ื แลว้ เราตอ้ งซอ้ื อุปกรณ์อะไร เพมิ่ เตมิ หรอื ไม่ การดแู ลรกั ษาจะทาอยา่ งไร หรอื แมแ้ ต่บางคนอาจ คดิ วา่ งานของเรากด็ าเนินไปได้ และกม็ กี าไรอยแู่ ลว้ เรายงั น่าจะซอ้ื มาใชห้ รอื ไม่ คาถามทเ่ี กดิ ขน้ึ มากมายเหลา่ น้คี งมคี าตอบใหเ้ รา พอสมควรเมอ่ื เราไดอ้ ่านบทเรยี นน้ผี า่ นไปแลว้ ฮารด์ แวร์ ซอฟต์แวร์และทรพั ยากรมนุษย์ ถือได้ว่าเป็นส่วนประกอบท่สี าคญั ของระบบ คอมพวิ เตอร์ โดยทฮ่ี ารด์ แวรจ์ ะเป็นส่วนของอุปกรณ์อะไรกต็ ามทเ่ี ก่ยี วขอ้ งกบั ระบบคอมพวิ เตอร์ โดยมซี อฟตแ์ วรเ์ ป็นสว่ นทจ่ี ะสงั่ งานทลี ะคาสงั่ ๆ ใหค้ อมพวิ เตอรท์ างานบางครงั้ เราเรยี กคาสงั่ เหล่าน้ี ว่า \"โปรแกรม\" (Program) และในระบบน้ีจะมคี นซง่ึ ถอื ไดว้ ่าเป็นส่วนทส่ี าคญั มาก ทงั้ น้ีเพราะถ้าไม่ มคี นเป็นผใู้ ชง้ านคอมพวิ เตอรต์ ามตอ้ งการแลว้ คอมพวิ เตอรก์ ค็ งไมม่ ปี ระโยชน์อะไร คนบางกลุ่ม สามารถเขยี นโปรแกรมเพ่อื บอกให้คอมพวิ เตอรท์ างานได้ เราเรยี กคนกลุ่มน้ีว่า \"โปรแกรมเมอร\"์ (Programmer) แต่บางคนกเ็ พยี งแต่ซอ้ื ซอฟต์แวรม์ าและใชง้ านเท่านนั้ เราจะเรยี กคนเหล่าน้ีว่า \" ยสู เซอร์ หรอื เอนยูสเซอร\"์ (Users หรอื End Uses)เพราะถอื ไดว้ ่าเป็นส่วนสุดท้ายของการใช้ คอมพวิ เตอร์ ในบทเรยี นน้ี พยายามทจ่ี ะอธบิ ายถงึ ส่วนประกอบพน้ื ฐานของระบบคอมพวิ เตอร์ แยกตาม ลกั ษณะของส่วนนาเขา้ (Input) ส่วนประมวลผล (Process) ส่วนแสดงผล (Output) และส่วนการ เก็บข้อมูล (Storage) ตลอดถึงการวิธีการท่ีเราจะเช่ือมโยงคอมพิวเตอร์ของเราให้รู้จกั กับ คอมพวิ เตอรท์ วั่ โลก ว่าเราจะทาไดอ้ ย่างไรบา้ ง มซี อฟต์แวรอ์ ะไรท่เี ก่ยี วขอ้ งบ้าง อกี ทงั้ เราจะได้ ทราบถงึ ร่นุ และขนาดของเคร่อื งคอมพวิ เตอรแ์ ละช่วยใหเ้ ราสามารถพจิ ารณาเลอื กซอ้ื คอมพวิ เตอร์ มาใชง้ านไดอ้ ยา่ งเหมาะสม
22 4.2 คอมพิวเตอรแ์ ละฮารด์ แวร์ (Computer and Hardware) คอมพิวเตอร์ (Computer) หมายถงึ อุปกรณ์ทางอเิ ลก็ ทรอนิกส์ ทส่ี ามารถกาหนดชุดคาสงั่ (Programmed) เพ่อื ใหเ้ กดิ การรบั ขอ้ มลู จากส่วนนาเข้า (Input Unit) แลว้ นามาทาการประมวลผล (Processing) ใหเ้ กดิ เป็นสารสนเทศในส่วนแสดงผลลพั ธ์ (Output Unit) ทเ่ี กดิ ประโยชน์และเรา เกบ็ สารสนเทศเหลา่ น้ไี วใ้ นสว่ นสารองขอ้ มลู (Secondary Storage) ทเ่ี ราสามารถนากลบั มาใชห้ รอื ปรบั แกไ้ ดต้ ามตอ้ งการ รปู ท่ี 4.1 แสดงสว่ นประกอบของระบบคอมพวิ เตอร์ มหี ลายคนสงสยั ว่าคอมพวิ เตอรเ์ อาขอ้ มลู เขา้ มาทางานเพ่อื ใหไ้ ดเ้ ป็นสารสนเทศไดอ้ ย่างไร เราดไู ดจ้ ากหน้าทใ่ี นการทางานของฮารด์ แวร์ 4 สว่ นน้ีคอื 1. อปุ กรณ์นาเข้า (Input Unit) เมอื ไดร้ บั ขอ้ มลู หรอื คาสงั่ ทอ่ี ยใู่ น รปู แบบทค่ี อมพวิ เตอร์ ใชไ้ ดเ้ ขา้ มา (รปู แบบขอ้ มลู ทม่ี ลี กั ษณะเป็นดจิ ติ อล รหสั 0 และ 1) คอมพวิ เตอรจ์ ะส่งขอ้ มลู หรอื คาสงั่ เหล่าน้ไี ปยงั ส่วนความจาหลกั (Primary Storage) ของคอมพวิ เตอรเ์ พ่อื ใหส้ ่วนประมวลผล (Processing Unit) นาขอ้ มลู เหลา่ นนั้ ไปทางานต่อไป 2. ส่วนประมวลผล จะมตี วั โปรเซสเซอร์ (Processor) ซง่ึ เป็นแผงวงจรทางอเิ ลค็ ทรอนิค ทเ่ี รยี กวา่ \"หน่วยประมวลผลกลาง\" (Central Processing Unit : CPU) คอยจดั การขอ้ มลู หรอื คาสงั่ ทเ่ี ขา้ มาเหลา่ น้ใี หไ้ ดผ้ ลลพั ธเ์ ป็นสารสนเทศทค่ี นต้องการ 3. ส่วนแสดงผลลพั ธ์ (Output Unit) เมอ่ื ไดผ้ ลลพั ธม์ ากจ็ ะนามาแสดง โดยผ่านอุปกรณ์ เช่น จอภาพ เครอ่ื งพมิ พ์ เป็นตน้
23 4. ส่วนสารองข้อมลู (Secondary Storage) สามารถเกบ็ สารสนเทศเหล่าน้ไี วไ้ ด้ เพอ่ื ทจ่ี ะนากลบั มาใชห้ รอื ปรบั แกไ้ ดต้ ามตอ้ งการ อุปกรณ์เหล่าน้ไี ดแ้ ก่ แผ่นดสิ กเ์ กต็ (เรยี กสนั้ ๆ วา่ แผ่นดสิ ก)์ ฮารด์ ดสิ ก์ ซง่ึ ถา้ เป็นขอ้ มลู ทเ่ี กบ็ ไวใ้ นส่วนความจาสารองน้ีจะไมห่ ายไปเมอ่ื ปิดเครอ่ื ง คอมพวิ เตอร์ ต่างจากขอ้ มลู ในสว่ นความจาหลกั ทข่ี อ้ มลู จะหายไป ต่อไปเราพจิ ารณาวา่ ฮารด์ แวรท์ ่ี เกย่ี วขอ้ งในแต่ละส่วนมอี ะไรบา้ ง และเพอ่ื ใหเ้ ราเขา้ ใจไดง้ า่ ย เราจะพจิ ารณาจากอุปกรณ์ของเครอ่ื ง คอมพวิ เตอรส์ ่วนบคุ คลทม่ี อี ยทู่ วั่ ไป 4.3 องคป์ ระกอบพื้นฐานของเครื่องคอมพิวเตอร์ องคป์ ระกอบของเครอ่ื งคอมพวิ เตอร์ ไมว่ ่าจะเป็นเครอ่ื งคอมพวิ เตอรข์ นาดเลก็ ไปถงึ คอมพวิ เตอรข์ นาดใหญ่ทม่ี กี ารทางาน ซบั ซอ้ นเพยี งใดกต็ าม เมอ่ื เราพจิ ารณาแลว้ จะเหน็ ไดว้ า่ มี องคป์ ระกอบเหมอื นกนั คอื สว่ นนาเขา้ (Input) สว่ นประมวลผล (Process) ส่วนแสดงผล (Output) และสว่ นเกบ็ ขอ้ มลู (Storage)ดงั นนั้ เพอ่ื ใหง้ า่ ยต่อการทาความเขา้ ใจเรามาพจิ ารณา ระบบ คอมพวิ เตอรส์ ว่ นบคุ คล หรอื ทเ่ี ราเรยี กว่า พซี ี ทเ่ี ราสามารถพบเหน็ ไดบ้ ่อยจะเหน็ ไดว้ ่า พซี มี สี ่วน ของอุปกรณ์นาขอ้ มลู เขา้ ซง่ึ จะนาขอ้ มลู เขา้ ไปสสู่ ว่ นการประมวลผล กลางทอ่ี ยใู่ นเครอ่ื ง (กลอ่ ง สเ่ี หลย่ี มดา้ นซา้ ยของจอภาพทเ่ี รยี กว่า โปรเซสเซอร์ ลกั ษณะกลอ่ งวางเป็นแนวตงั้ เราเรยี กว่า \"ทาว เวอร\"์ (Tower) เพราะมลี กั ษณะเหมอื นหอคอย นยิ มตงั้ ไวท้ พ่ี น้ื เพอ่ื ประหยดั เน้อื ทท่ี างาน) โดยผ่าน อุปกรณ์ทเ่ี ราเรยี กว่า เมาส์ คยี บ์ อรด์ หรอื ไมโครโฟนและแสดงผลในสว่ นแสดงผลโดยผา่ นอุปกรณ์ ทเ่ี รยี กวา่ จอภาพหรอื เครอ่ื งพมิ พแ์ ละถา้ มเี สยี งกจ็ ะสง่ ออกทางลาโพงไดเ้ ช่นกนั และถา้ ตอ้ งการเกบ็ ขอ้ มลู เหลา่ น้ไี ว้ กจ็ ะเกบ็ ขอ้ มลู ไวใ้ นสว่ นสารองขอ้ มลู โดยผา่ นเครอ่ื งอ่านและเขยี นแผน่ ดสิ กเ์ กต็ ปจั จบุ นั ทน่ี ิยมใช้ จะเป็นแผ่นดสิ กเ์ กต็ ทม่ี ขี นาด 3 น้วิ หรอื เกบ็ ไวใ้ นเครอ่ื งอ่านหรอื เขยี นฮารด์ ดสิ ก์ ทส่ี ามารถนาขอ้ มลู ออกมาใชไ้ ดส้ ะดวกและรวดเรว็ กวา่ นอกจากน้เี ราอาจเกบ็ ขอ้ มลู ลงในอุปกรณ์ท่ี เรยี กว่าเครอ่ื งอ่านและเขยี น CD-ROM ในลกั ษณะขอ้ มลู ทเ่ี ป็นดจิ ติ อล
24 รปู ท่ี 4.2 แสดง องคป์ ระกอบพน้ื ฐานของเครอ่ื งคอมพวิ เตอร์ โดยใชพ้ ซี เี ป็นการแสดงใหเ้ หน็ ได้ ชดั เจน 4.4 ประเภทของคอมพิวเตอร์ คอมพวิ เตอร์ แบง่ เป็น 3 ประเภทใหญ่ ๆ ดงั น้ี 1. ซปู เปอรค์ อมพิวเตอร์ (Supercomputers) เป็นคอมพวิ เตอรท์ ม่ี ขี นาดใหญ่ทส่ี ดุ และ มคี วามสามารถในการทางานมากทส่ี ุดดว้ ย 2. เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ (Mainframe computers) เป็นคอมพวิ เตอรท์ ม่ี ขี นาดใหญ่ และมคี วามสามารถในการทาการประมวลผลขอ้ มลู ทม่ี จี านวนมหาศาลนบั เป็นลา้ น ๆ ไดใ้ นเวลาดนั รวดเรว็ เหมาะสมกบั หน่วยงาน เช่นธนาคาร สายการบนิ 3. คอมพิวเตอรส์ ่วนบคุ คล (Personal computers) เป็นคอมพวิ เตอรท์ ม่ี ขี นาดเลก็ และ มคี วามสามารถในการประมวลผลขอ้ มลู ทไ่ี มม่ ากนกั คอมพวิ เตอรท์ เ่ี ราพบเหน็ ทวั่ ไป มกั เป็น คอมพวิ เตอรส์ ว่ นบคุ คล จนคนบางกลุ่มเกดิ ความเขา้ ใจผดิ คดิ ไปวา่ คอมพวิ เตอรใ์ นโลกน้ี มอี ยเู่ พยี ง ประเภทเดยี ว การแบ่งประเภทของคอมพวิ เตอรน์ นั้ จะพจิ ารณาจากทงั้ ขนาดและ ความสามารถใน การทางาน แต่ถงึ แมว้ า่ เราพยายามทจ่ี ะแบง่ ประเภทของคอมพวิ เตอร์ เพยี งไรกต็ าม ความจรงิ ทเ่ี รา ตอ้ งตระหนกั อยเู่ สมอกค็ อื คอมพวิ เตอรม์ กั ไมส่ ามารถแบง่ ไดอ้ ยา่ งชดั เจนว่าเป็นประเภทไหนหรอื แมแ้ ต่ในเรอ่ื งของประสทิ ธภิ าพเอง กม็ กี ารซอ้ นกนั อย่ปู ระกอบกบั คอมพวิ เตอรม์ กี ารเปลย่ี นแปลงท่ี
25 รวดเรว็ จงึ ทาใหก้ ารแบง่ ยากมากขน้ึ ไปอกี ดว้ ย ซปู เปอรค์ อมพิวเตอร์ เป็นคอมพวิ เตอรท์ ม่ี คี วามสามารถในการประมวลผลไดเ้ รว็ ทส่ี ุด ทางานในแต่ละวนิ าทไี ดถ้ งึ พนั ลา้ นคาสงั่ เรามกั พบเหน็ คอมพวิ เตอรเ์ หล่าน้ี ใน หน่วยงานขนาดใหญ่มากๆ ทงั้ ภาครฐั บาลและเอกชน เช่น ตลาด หลกั ทรพั ยใ์ นประเทศสหรฐั อเมรกิ า, วงการการออกแบบหรอื สรา้ งภาพยนตร์ ทม่ี กี ารสรา้ งภาพซง่ึ มคี วามละเอยี ดและ การเคล่อื นไหวเรว็ มาก ๆ เชน่ ภาพยนตรก์ ารต์ ูนเรอ่ื ง ไดโนเสาร์ รปู ท่ี 4.3 แสดงเครอ่ื งซปู เปอรค์ อมพวิ เตอร์ ซง่ึ มี (Dinosaur) หรอื ในงานวจิ ยั เช่นการวจิ ยั ประสทิ ธภิ าพสงู และขนาดใหญ่ เรอ่ื ง DNA ของมนุษยห์ รอื งานสรา้ ง อาวธุ ทม่ี ศี กั ยภาพ เป็นต้น ถงึ แมว้ ่า คอมพวิ เตอรป์ ระเภทน้ีจะมคี วามสามารถสงู มาก แต่กม็ ขี ดี จากดั ในการทห่ี น่วยงานจะนามาใชไ้ ด้ เพราะคอมพวิ เตอรป์ ระเภทน้กี ม็ รี าคาทส่ี งู มากดว้ ยเชน่ กนั จงึ ทาใหเ้ ราไมส่ ามารถพบเหน็ คอมพวิ เตอรป์ ระเภทน้ไี ดแ้ พรห่ ลายมากนกั เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ เป็นคอมพวิ เตอรท์ ม่ี คี วามสามารถ ในการประมวลผลไดเ้ รว็ มาก ทางานในแต่ละวนิ าทไี ดถ้ งึ ลา้ นคาสงั่ เรามกั พบเหน็ คอมพวิ เตอรเ์ หล่าน้ใี นหน่วยงานทม่ี ขี อ้ มลู มากๆ และมี การประมวลผลทร่ี วดเรว็ เชน่ ลกู คา้ ของธนาคารย่อมตอ้ งการทา รายการหรอื การเบกิ ถอนทร่ี วดเรว็ จากธนาคาร การควบคุม สายการผลติ สนิ คา้ ทต่ี อ้ งการทงั้ ความถกู ตอ้ งและความรวดเรว็ การ จองหรอื ยกเลกิ ตวั ๋ ของสายการบนิ ทม่ี ลี กู คา้ จากทวั่ โลก เราจะสงั เกต ไดว้ ่า สว่ นใหญ่แลว้ บรษิ ทั ทใ่ี ชเ้ ครอ่ื งประเภทเมนเฟรมมกั เป็นธุรกจิ บรกิ ารทม่ี ขี อ้ มลู ของลกู คา้ เป็นจานวนมากและตอ้ งการความรวดเรว็ ในการบรกิ ารเพราะเป็นธุรกจิ ทม่ี กี ารแขง่ ขนั สงู อกี ทงั้ ตอ้ งสามารถ รปู ท่ี 4.4 แสดงเครอื งเมนแฟรม ใหบ้ รกิ ารลกู คา้ คราวละหลาย ๆ คนไดพ้ รอ้ มกนั โดยไมต่ อ้ งมกี ารรอ คอมพวิ เตอร์ กนั เราเรยี กระบบทส่ี ามารถรองรบั การทางานของผใู้ ชห้ ลายคนได้ พรอ้ มๆ กนั ว่า \"มลั ตยิ สู เซอร\"์ (Multiuser) คอมพวิ เตอรป์ ระเภทน้ีมรี าคาทส่ี ูงถงึ หลายลา้ นบาท เช่นกนั ดงั นนั้ เรากจ็ ะพบเหน็ คอมพวิ เตอรป์ ระเภทน้ี ในธุรกจิ ขนาดใหญ่ๆ หรอื ในภาครฐั บาล เช่น
26 กรมศุลกากรทม่ี ขี อ้ มลู เป็นจานวนมากและตอ้ งการความ รวดเรว็ ในการใหบ้ รกิ าร เป็นตน้ ถงึ แมจ้ ะ มคี าถามเกดิ ขน้ึ กบั ผใู้ ชบ้ ่อย ๆ ว่าเม่อื เทยี บประสทิ ธภิ าพต่อราคาของเมนเฟรมจะสงู กว่า ประสทิ ธภิ าพต่อราคาของเครอ่ื งคอมพวิ เตอรส์ ่วนบุคคลมาก อยา่ งไรกด็ กี ารทางานสาหรบั คอมพวิ เตอรส์ ่วนบุคคลกย็ งั ไมส่ ามารถแทนทค่ี อมพวิ เตอรป์ ระเภทเมนเฟรมได้ สาหรบั ขนาดของเมนเฟรมคอมพวิ เตอรน์ ้ี กย็ งั มคี วามสามารถในการทางานในหลายระดบั ตงั้ แต่หน่วยงานทม่ี กี ารทางานไมซ่ บั ซอ้ น เช่น ระบบสารสนเทศของมหาวทิ ยาลยั ระบบลงทะเบยี น ระบบรายงานผลการเรยี น เป็นตน้ เราเรยี กเมนเฟรมทม่ี กี ารทางานขนาดน้วี า่ \"มนิ คิ อมพวิ เตอร\"์ (Minicomputer) ไปจนถงึ หน่วยงานทม่ี กี ารทางานซบั ซอ้ นมากขน้ึ จะใชเ้ มนเฟรมทม่ี ขี นาดกลาง (Midsize Mainframe) เชน่ กรมสรรพากร ซง่ึ จะตอ้ งมกี ารเกบ็ ขอ้ มลู เพอ่ื คานวณยอดภาษขี อง ผปู้ ระกอบการทงั้ ประเทศ สาหรบั ความรวดเรว็ ในการใหบ้ รกิ ารอาจมคี วามจาเป็นน้อยกว่ากรม ศุลกากรอยบู่ า้ ง เพราะไมต่ อ้ งแขง่ ขนั ทางการคา้ กบั ประเทศคคู่ า้ และสุดทา้ ยเป็นเมนเฟรมขนาด ใหญ่ ทม่ี กี ารทางานซบั ซอ้ นมากขน้ึ ไป เช่น ธนาคาร บรษิ ทั สายการบนิ กรมศุลกากรเป็นตน้ คอมพิวเตอรส์ ่วนบคุ คล เป็นคอมพวิ เตอรท์ ม่ี ขี นาดเลก็ และมคี วามสามารถในการ ประมวลผลทไ่ี ม่ซบั ซอ้ นเท่ากบั เครอ่ื งระดบั ซปู เปอรค์ อมพวิ เตอรห์ รอื เมนเฟรม แต่กส็ ามารถรองรบั งานไดด้ สี าหรบั ธรุ กจิ ขนาดเลก็ ไปจนถงึ ธรุ กจิ ขนาดกลางหรอื แมแ้ ต่นามาใชภ้ ายในบา้ น เป็น คอมพวิ เตอรท์ ม่ี รี าคาถูกในระดบั ตงั้ แต่ไมก่ ห่ี มน่ื บาท จนถงึ ไมก่ แ่ี สน ดว้ ยราคาทไ่ี มส่ งู น่เี องจงึ ทาใหม้ กี ารใช้ งานอย่างแพรห่ ลาย ในบางครงั้ อาจเรยี กว่า \"ไมรโครคอมพวิ เตอร\"์ (Microcomputers) หรอื เรยี ก ยอ่ ๆ วา่ \"พซี \"ี (PCs) และเชน่ เดยี วกบั เมนเฟรมคอมพวิ เตอร์ พซี เี องกม็ ขี นาดและ วตั ถุประสงคก์ ารใชง้ านในระดบั ทต่ี ่างกนั มากมายให้ เลอื กซอ้ื มาใช้ เชน่ ถา้ งานทต่ี อ้ งการความเรว็ มากกซ็ อ้ื รปู ท่ี 4.5 แสดงไมโครคอมพวิ เตอร์ เครอ่ื งทม่ี หี น่วยประมวลผลทม่ี คี วามความเรว็ สงู หรอื ถา้ ตอ้ งการใชง้ านทม่ี ขี นาดของขอ้ มูลมาก กซ็ อ้ื เครอ่ื งท่ี มหี น่วยความจามากๆ รวมถงึ ซอ้ื สว่ นสารองขอ้ มลู ทม่ี ี ความจมุ าก ดงั นนั้ เครอ่ื งคอมพวิ เตอรจ์ ะมรี าคาถกู หรอื แพง กเ็ ป็นเรอ่ื งทผ่ี ซู้ อ้ื จะไดพ้ จิ ารณาเลอื กซอ้ื ไดต้ ามตอ้ งการ
27 นอกจากคอมพวิ เตอรส์ ่วนบุคคลเป็นคอมพวิ เตอรท์ ม่ี รี ุ่นใหมๆ่ หรอื ส่วนประกอบต่างๆ มา ใหผ้ ใู้ ชเ้ ลอื กมากมายแลว้ ยงั มรี นุ่ ทเ่ี หมาะสาหรบั การใชง้ านเฉพาะอยา่ งอกี ดว้ ย เรามกั เรยี ก คอมพวิ เตอรร์ นุ่ น้วี า่ \"เวอรก์ สเตชนั่ \" (Workstation) เชน่ งานดา้ นวศิ วกรรม งานคา้ หลกั ทรพั ย์ งาน ออกแบบ หรอื รนุ่ ทม่ี กี ารพกพาทไี ดร้ บั ความนยิ มมาก คอื รนุ่ ทเ่ี ราเรยี กว่า \"คอมพวิ เตอรโ์ น้ตบุค\" (Notebook Computer) หรอื รนุ่ ทม่ี กี ารพกพาขนาดเลก็ มากเราเรยี กว่า \"ปาลม์ พซี \"ี (Palm Pcs) เป็นรุน่ ทม่ี นี ้าหนกั เบา แต่การใชง้ านอาจไมม่ คี วามสามารถเท่ากบั คอมพวิ เตอรท์ วั่ ไป เช่น มี หน่วยความจาน้อยกว่า มฮี ารด์ ดสิ กท์ ม่ี คี วามจไุ มม่ าก มซี อฟตแ์ วรส์ าหรบั ทางานทม่ี ฟี งั กช์ นั การ ทางานน้อยกว่า เชน่ ซอฟตแ์ วรเ์ วริ ด์ โปรเซสเซอรใ์ นเครอ่ื งปาลม์ จะมฟี งั กช์ นั การทางานทน่ี ้อยกวา่ ซอฟตแ์ วรเ์ วริ ด์ โปรเซสเซอรท์ ม่ี ใี ชใ้ นเครอ่ื งพซี ที วั่ ไป เป็นตน้ (ก) เครอ่ื งปาลม์ (ข) เครอ่ื งคอมพวิ เตอรแ์ บบพกพา (Notebook) รปู ท่ี 4.6 แสดงเครอ่ื งคอมพวิ เตอรส์ ่วนบคุ ลลแบบต่าง ๆ คอมพวิ เตอรส์ ่วนบคุ คลน้ี ถอื ไดว้ า่ เป็นคอมพวิ เตอรท์ ม่ี กี ารเปลย่ี นแปลงทางดา้ นเทคโนโลยี ทเ่ี รว็ ทส่ี ดุ สงิ่ หน่งึ ทท่ี าใหค้ อมพวิ เตอรส์ ่วนบคุ คลไดร้ บั ความนิยมอย่างรวดเรว็ เพราะความสามารถ ในการตดิ ต่อกบั เครอ่ื งคอมพวิ เตอรเ์ ครอ่ื ง อ่นื ๆ ทวั่ โลกนนั่ เอง จงึ มผี ผู้ ลติ บางรายใหค้ วามสนใจมงุ่ ผลติ คอมพวิ เตอรท์ ม่ี คี วามสามารถดา้ นน้ี เราเรยี กว่า \"คอมพวิ เตอรเ์ น็ตเวอรก์ \" (Network Computer : NC) บางรนุ่ อาจเป็นเครอ่ื งคอมพวิ เตอรท์ ม่ี คี วามสามารถดา้ นน้ี แต่บางรนุ่ อาจเป็น เพยี งกลอ่ งของฮารด์ แวรท์ จ่ี าเป็นต่อการทจ่ี ะต่อเชอ่ื มกบั คอมพวิ เตอรเ์ ครอ่ื งอ่นื ไดก้ ถ็ อื วา่ เพยี งพอ แลว้ เชน่ มหี น่วยความจาและสว่ นประมวลผลเทา่ ทจ่ี าเป็น แต่จะไม่มฮี ารด์ ดสิ กเ์ พ่อื เกบ็ ขอ้ มลู ใดๆ การต่อเชอ่ื มกบั อนิ เตอรเ์ น็ตทาโดยผ่านจอทวี แี ละการสง่ สญั ญาณผ่านสายโทรศพั ท์ ในทางการคา้
28 เราเรยี กอุปกรณ์น้วี ่า \"เวบ็ ทวี \"ี (Web TVs.) และในปจั จบุ นั มเี ทคโนโลยใี หมท่ ก่ี าลงั เขา้ มาอย่าง รวดเรว็ และอาจทาใหเ้ กดิ การเปลย่ี นบทบาทการดาเนินชวี ติ ของผคู้ น ทเ่ี ราเรยี กว่า \"แวบ็ เทคโนโลย\"ี (WAP -Wireless Application Protocol Technology : ) เทคโนโลยนี ้ีเป็นการรวมเอา ความสามารถของโทรศพั ทม์ อื ถอื และความสามารถของคอมพวิ เตอร์ ทม่ี กี ารเชอ่ื มต่อเครอื ขา่ ย ทเ่ี รา เรยี กว่าอนิ เตอรเ์ น็ต ใหส้ ามารถใชร้ ว่ มกนั ได้ นนั่ หมายถงึ ถา้ เทคโนโลยดี า้ นน้ไี ดร้ บั การพฒั นาใหม้ ี ประสทิ ธภิ าพสงู มากและรองรบั ความตอ้ งการของผใู้ ชไ้ ดอ้ ยา่ งดี ผคู้ นอาจมกี ารตดิ ต่อหรอื ทาธรุ ะ กรรมต่างๆ ผ่านมอื ถอื โดยไมต่ อ้ งพบปะกนั ไดต้ ลอดเวลาและไรข้ ดี จากดั มากขน้ึ รปู ท่ี 4.7 แสดงแวบ็ เทคโนโลยี WAP -Wireless Application Protocol Technology ในการพจิ ารณาเลอื กซอ้ื คอมพวิ เตอรส์ ่วนบคุ คลนนั้ สง่ิ สาคญั ตอ้ งดทู ว่ี ตั ถปุ ระสงคก์ าร นามาใช้ บางคนอาจตอ้ งการนามาใชเ้ พ่อื ความบนั เทงิ ตอ้ งการภาพกราฟฟิคสวยๆ บางคนตอ้ งการ การคานวณสงู บา้ งกอ็ าจนามาทาการเขยี นโปรแกรม บางคนอาจนามาทาเพยี งงานขนั้ พน้ื ฐานเช่น ทารายงาน ทาบญั ชี หรอื ถา้ เป็นงานทต่ี อ้ งพบลกู คา้ ภายนอก การนาโน้ตบุคมาใชย้ อ่ มสะดวกกว่า เพราะสามารถนาตดิ ตวั ไปได้ 4.5 เทคโนโลยีคอมพิวเตอรส์ ่วนบคุ คล (Personal Computer Technology) ภาพรวมคอมพวิ เตอรส์ ว่ นบคุ คลหรอื พซี ี ส่วนสาคญั หลกั ในเครอ่ื งพซี ปี ระกอบดว้ ย แผงวงจรหลกั (Main Board or Mother Board) ฮารด์ แวรท์ ใ่ี ชส้ าหรบั การอ่านหรอื เขยี นขอ้ มลู แผงวงจรไฟฟ้าเพอ่ื ควบคมุ การทางานของฮารด์ แวรอ์ ่นื ทม่ี าต่อพว่ ง
29 เดมิ เราเคยมองภาพของพซี ตี ามลกั ษณะของขอ้ มลู ว่าส่วนไหนเป็นฮารด์ แวรท์ น่ี าขอ้ มลู เขา้ มาหรอื สว่ นไหนเป็นสว่ นทน่ี าขอ้ มลู ไปทาการประมวลผล ตลอดจนถงึ ว่าสว่ นไหนนาเอาผลลพั ธ์ มาแสดงและเราจะเกบ็ ผลลพั ธน์ นั้ ไวไ้ ดอ้ ยา่ งไร แต่ถา้ เรามองภาพในการทางานของเครอ่ื งพซี แี ลว้ เราจะพบว่า พซี ี แบง่ การ ทางานไดเ้ ป็น 2 ส่วนทส่ี าคญั คอื ส่วนทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั ตวั ของ พซี เี อง จะมสี ่วนทส่ี าคญั ภายใน เครอ่ื ง 3 สว่ นคอื แผงวงจรหลกั ฮารด์ แวรส์ าหรบั เกบ็ ขอ้ มลู และ แผงวงจรทม่ี าเสยี บเพม่ิ เตมิ กบั อกี ส่วนหน่งึ จะเป็นฮารด์ แวร์ หรอื อุปกรณ์รอบขา้ ง (Peripherals) ไดแ้ ก่ คยี บ์ อรด์ เมาส์ จอภาพ เครอ่ื งพมิ พแ์ ละ รปู ท่ี 4.8 ภาพแสดงความสาคญั ของซพี ยี กู บั อุปกรณ์ต่าง ๆ สแกนเนอร์ ลาดบั แรกเรามา พจิ ารณาสว่ นของแผงวงจรหลกั (Main Board or Mother Board) ซง่ึ ถอื ว่าเป็นส่วนทม่ี ฮี ารด์ แวร์ สาคญั ๆ อยหู่ ลายอยา่ งดว้ ยกนั เช่น ซพี ยี ู (CPU: Central Processing Unit) สาหรบั ใชใ้ นการ ประมวลผล หน่วยความจารอม (Read Only Memory- ROM) ทเ่ี กบ็ ชดุ คาสงั่ ทส่ี าคญั เพอ่ื ใหเ้ ครอ่ื ง คอมพวิ เตอรใ์ ชใ้ นการเรมิ่ ทางานไดเ้ ป็นลาดบั แรก หน่วยความจาหลกั (Random Access Memory- RAM)สาหรบั เกบ็ ขอ้ มลู เพ่อื ส่งใหซ้ พี ยี ทู างานรวมถงึ เสน้ ทางทใ่ี ชใ้ นการส่งขอ้ มลู ทเ่ี ราเรยี กว่า\"บสั \" (Bus)เป็นตน้ ในส่วนของฮารด์ แวรท์ ใ่ี ชส้ าหรบั การอ่านหรอื เขยี นขอ้ มลู ประกอบดว้ ย 2 ส่วน คอื สว่ นท่ี เป็นเครอ่ื งอ่านและเขยี น กบั ส่วนทเ่ี ป็นส่อื ทใ่ี ชอ้ ่านหรอื เขยี น เช่นเดยี วกบั เครอ่ื งเสยี งทเ่ี ราพบเหน็ ทวั่ ไป เราจะพบว่าตอ้ งมเี คร่อื งเล่นเทปและตลบั เทป มเี ครอ่ื งเลน่ ซดี แี ละแผ่นซดี ี ฮารด์ แวรท์ ม่ี ใี ชใ้ น เครอ่ื งคอมพวิ เตอรไ์ ดแ้ ก่ฮารด์ ดสิ กด์ สิ กเ์ กต็ และซดี รี อม นอกจากน้ยี งั มแี ผงวงจรไฟฟ้าทม่ี าเสยี บบน แผงวงจรหลกั หรอื ทเ่ี รยี กว่า Expansion Cards เพ่อื ทาหน้าทค่ี วบคุมฮารด์ แวรห์ รอื อุปกรณ์อ่นื เช่น กราฟฟิคการด์ (Graphics Card) ใชส้ าหรบั ควบคุมการทาภาพ เน็ตเวอรก์ การด์ (Network Card)
30 ใชค้ วบคมุ เพ่อื การเชอ่ื มต่อกบั คอมพวิ เตอรเ์ ครอ่ื งอ่นื ๆ ซาวดก์ ารด์ (Sound Card) ใชใ้ นการควบคุม การทางานของระบบเสยี ง เป็นตน้ 4.5.1 แผงวงจรหลกั (Main Board or Mother Board) เป็นแผงวงจรไฟฟ้าของเครอ่ื งพซี ที ใ่ี หญ่ทส่ี ดุ แผงวงจรน้จี ะถูกตดิ ตงั้ อยใู่ นสว่ นของ ตวั ถงั (Case) ซง่ึ ตวั ถงั น้มี กั จะมลี กั ษณะเป็นกลอ่ งสเ่ี หลย่ี ม อาจอยใู่ นลกั ษณะระนาบเดยี วกบั โต๊ะ ทางานเราเรยี กวา่ \"เดสทอ็ ป\" Desktop หรอื อาจเป็นรนุ่ อยใู่ นลกั ษณะตงั้ เหมอื นหอคอย มกั ตงั้ ไวก้ บั พน้ื เราเรยี กว่า \"ทาวเวอร\"์ Tower การออกแบบแผงวงจรหลกั มงุ่ ทจ่ี ะใหเ้ กดิ ความสามารถใน การส่งขอ้ มลู ภายในไดเ้ รว็ และสามารถตดิ ตงั้ ฮารด์ แวรไ์ ดม้ าก โดยมพี ฒั นามายาวนาน รปู ท่ี 4.9 แสดงแผงวงจรหลกั ซง่ึ รองรบั สถาปตั ยกรรมแบบ Socket 370 ซง่ึ การทางานทเ่ี กดิ ขน้ึ บนแผงวงจรหลกั เกดิ จากการทางานของฮารด์ แวรท์ ส่ี าคญั ๆ หลาย อยา่ งประกอบกนั ไดแ้ ก่ ซพี ยี ู หน่วยความจารอม หน่วยความจาแรม พซี บี สั ซง่ึ เราจะศกึ ษาใน รายละเอยี ดของฮารด์ แวรแ์ ต่ละอยา่ งต่อไป ซีพียู (CPU) ถอื ไดว้ า่ เป็นหวั ใจหรอื ตวั จกั รสาคญั ในการทางานของเครอ่ื งพซี ี ลกั ษณะ ของซพี ยี ู ดงั รปู เราเรยี กว่า \"ชปิ \" (Chip) จะเป็นชปิ ทม่ี คี วามซบั ซอ้ นมากทส่ี ดุ กวา่ ชปิ ใดๆ และมชี อ่ื เรยี กเฉพาะว่า \"ไมโครโปรเซสเซอร\"์ (Microprocessor)
31 รปู ท่ี 4.10 แสดงรปู รา่ งของซพี ยี ู หน้าทห่ี ลกั ทข่ี องซพี ยี ู คอื การประมวลผลขอ้ มลู จากแรม ในลกั ษณะของการคานวณ การเปรยี บเทยี บ การเคล่อื นยา้ ยขอ้ มลู ผา่ นชดุ คาสงั่ ทไ่ี ดม้ กี ารออกแบบจากบรษิ ทั ผผู้ ลติ ไวก้ ่อน แลว้ โดยขอ้ มลู ทจ่ี ะสง่ เขา้ มาทางานในซพี ยี ู เพ่อื ส่งผลลพั ธอ์ อกไปยงั แรม จะมี 2 ลกั ษณะ คอื คาสงั่ ว่าจะใหด้ าเนินการอะไร ขอ้ มลู ทจ่ี ะนามาดาเนนิ การ ดงั นนั้ ถา้ ซพี ยี ทู างานไดเ้ รว็ เท่าไรกจ็ ะทาใหก้ ารทางานของพซี เี ครอ่ื งนนั้ มคี วามเรว็ สงู ดว้ ย เช่นกนั โดยการทางานของชปิ ไมโครโปรเซสเซอรน์ ้ี จะทางานตามจงั หวะเวลาทแ่ี น่นอน เมอ่ื มกี าร เคาะจงั หวะ 1 ครงั้ กจ็ ะเกดิ กจิ กรรมในซพี ยี ู 1 ครงั้ เราเรยี กหน่วยทใ่ี ชใ้ นการวดั ความเรว็ ของซพี ยี ู วา่ \"เฮริ ท์ \" (Herzt) หมายถงึ การทางานไดก้ ค่ี รงั้ ใน 1 วนิ าที ซพี ยี ใู นปจั จบุ นั มคี วามเรว็ สงู มากตงั้ แต่ ประมาณ 500-1000 ลา้ นครงั้ ต่อวนิ าที เราจะเรยี กซพี ยี นู นั้ ว่าเป็นซพี ยี ทู ม่ี คี วามเรว็ เทา่ กบั 500- 1000 MHz เช่น Intel Pentium III 650 MHz จะหมายถงึ ซพี ยี ขู องบรษิ ทั อนิ เทล รนุ่ เพนเทยี มทรี ท่ี มคี วามเรว็ ในการทางาน 650 ลา้ นครงั้ ต่อวนิ าที เป็นตน้
32 หน่วยความจารอม (Read Only Memory : ROM) เป็นชปิ อกี ตวั หน่งึ บนแผงวงจรหลกั ซง่ึ ทาหน้าทเ่ี ป็นหน่วยความจาทใ่ี ชอ้ ่านอย่างเดยี ว โดยในหน่วยความจาน้จี ะเกบ็ คาสงั่ ทจ่ี าเป็นใน การเรม่ิ งานของเครอ่ื งพซี ี ทนั ทที เ่ี ราเรม่ิ เปิดสวทิ ซใ์ หค้ อมพวิ เตอรท์ างาน รอมจะเรมิ่ ดาเนนิ การ ดงั น้ี Power On Self Test : POST เพอ่ื ตรวจสอบความเรยี บรอ้ ยของฮารด์ แวร์ เช่น แรม คยี บ์ อรด์ ฮารด์ ดสิ ก์ เป็นตน้ ถา้ ฮารด์ แวรไ์ มอ่ ยใู่ นสภาพพรอ้ มทจ่ี ะทางานกจ็ ะรายงานให้ ผใู้ ชท้ ราบ ถา้ พรอ้ มกจ็ ะทาการอ่านชุดคาสงั่ ในการตดิ ตงั้ ต่อไปจาก CMOS Complimentary METAL Oxide Semiconductor : CMOS เป็นชปิ อกี ตวั หน่งึ ทใ่ี ชเ้ กบ็ ขอ้ มลู เกย่ี วกบั วนั และเวลา ดงั ทเ่ี ราจะสงั เกตไดว้ ่า เมอ่ื เราเปิดคอมพวิ เตอรม์ าใชง้ านนนั้ คอมพวิ เตอรจ์ ะรายงานไดว้ ่า เป็นวนั ทห่ี รอื เวลาอะไรไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ ง แต่ชปิ น้ีตอ้ งใชไ้ ฟฟ้า จากแบตเตอรใ่ี นการเกบ็ รกั ษาขอ้ มลู ไวด้ ว้ ย เมอ่ื ผา่ นขนั้ ตอนเอาวนั ทแ่ี ละเวลาแลว้ ต่อไปจะ เป็นการทางานของโปรแกรมใน BIOS Basic Input Output System : BIOS เป็นโปรแกรมระบบ (System Program) ทอ่ี ยใู่ นรอม ซง่ึ โปรแกรมน้ีจะใชใ้ นการควบคุมอุปกรณ์ต่างๆ เมอ่ื เรมิ่ ทางาน ต่อไปขนั้ ตอนน้จี ะอ่าน โปรแกรม BIOS ออกมาไวท้ แ่ี รม เพ่อื ใหแ้ รมใชโ้ ปรแกรมน้ใี นการควบคมุ อุปกรณ์ต่าง ๆ ต่อไป Boot Instruction ขนั้ ตอนสดุ ทา้ ยจะนาโปรแกรมระบบปฏบิ ตั กิ าร เช่น DOS, OS/2, WINDOWS ซง่ึ เป็นชุดคาสงั่ ทส่ี าคญั ในการควบคมุ การทางานเขา้ มาไวใ้ นแรม เพอ่ื รอให้ ผใู้ ชส้ งั่ คาสงั่ ใหด้ าเนินการใดๆ ต่อไป ดงั รปู (..) รปู ท่ี 4.11 แสดง หน้าทก่ี ารทางานของรอม
33 หน่วยความจาแรม (Random Access Memory : RAM) เป็นหน่วยความจาทใ่ี ชใ้ นการ เกบ็ ขอ้ มลู ในระหว่างทม่ี กี ารเปิดเครอ่ื งพซี ี เพอ่ื รอใหม้ กี ารนาขอ้ มลู เหล่าน้สี ง่ ใหก้ บั ซพี ยี ใู นการ ประมวลผลหรอื รอสง่ ออกส่วนแสดงผล (Output ) หรอื รอส่งใหส้ ่วนความจาสารอง (Secondary Storage) โดยขอ้ มลู เหล่าน้ีจะสง่ ไปยงั ซพี ยี ผู ่านเสน้ ทางทเ่ี ราเรยี กวา่ \"ซสิ เตม็ บสั \" (System Bus) แต่ถา้ เป็นการสง่ ขอ้ มลู ไปยงั สว่ นแสดงผลหรอื สว่ นความจาสารองจะสง่ ผา่ นเสน้ ทางทเ่ี รยี กว่า \"ไอโอ บสั \" (Input/Out Busses : I/O Busses) และเมอ่ื ปิดเครอ่ื งขอ้ มลู ในหน่วยความจาน้ีกจ็ ะ หายไป ซง่ึ ขอ้ มลู ในทน่ี ้ี หมายถงึ โปรแกรมระบบปฏบิ ตั กิ ารทใ่ี ชใ้ นการควบคุมการทางานของเครอ่ื งพซี ี โปรแกรมประยกุ ตท์ ก่ี าลงั ใชง้ านอยใู่ นขณะนนั้ ขอ้ มลู ทโ่ี ปรแกรมกาลงั เรยี กใชง้ านอยู่ ดงั นนั้ แรมทม่ี ขี นาดความจมุ ากยอ่ มจะทาใหค้ อมพวิ เตอรเ์ ครอ่ื งนนั้ ๆ สามารถทจ่ี ะจดจา ขอ้ มลู ในขณะใดขณะหน่งึ ไดม้ ากและทาใหแ้ รมนนั้ สามารถรบั และสง่ ขอ้ มลู ใหซ้ พี ยี ไู ดม้ ากกว่า จงึ ส่งผลใหเ้ กดิ การประมวลผลทเ่ี รว็ ขน้ึ นอกจากในเรอ่ื งของความจแุ ลว้ แรมยงั มเี รอ่ื งของความเรว็ ในการรบั ส่งขอ้ มลู ใหซ้ พี ยี ผู ่าน System Bus เขา้ มาเก่ยี วขอ้ งดว้ ย ความเรว็ น้มี หี น่วยเป็น ns (nano Seconds) หมายถงึ แรม สามารถส่งขอ้ มลู ใหซ้ พี ยี หู น่ึงครงั้ ใชเ้ วลาเศษหน่งึ สว่ นพนั ลา้ นวนิ าที (1/10-9 วนิ าท)ี ซง่ึ แต่ละครงั้ จะ ส่งไดจ้ านวนกบ่ี ติ กข็ น้ึ อยกู่ บั ความกวา้ งของ System Bus ดว้ ย เรามกั พบเหน็ คาทใ่ี ชใ้ นการโฆษณาแรมอยหู่ ลากหลายคาเช่น EDO RAM (Extended Data Output RAM), SDRAM (Synchronous Data RAM) เป็นตน้ ซง่ึ แรมเหลา่ น้สี ามารถแบง่ ได้ เป็น 2 ประเภทใหญ่ๆ ดงั น้ี DRAM (Dynamic RAM SRAM (Static RAM) โดยปกตเิ มอ่ื เราพดู วา่ แรม มกั หมายถงึ DRAM ซง่ึ เป็นเทคโนโลยที ใ่ี ชใ้ นการผลติ หน่วยความจาทวั่ ไป สว่ น SRAM จะเป็นแรมทต่ี อ้ งเทคโนโลยชี นั้ สงู มาทาการผลติ เป็นแรมทม่ี ี ความเรว็ สงู มาก มรี าคาแพง จงึ ไมป่ รากฏว่ามบี รษิ ทั ใดนามาผลติ แรมซง่ึ เป็นหน่วยความจาทวั่ ไป
34 รปู ท่ี ภ.12 แสดง : แรมขนาด 64 Mb แบบ DIMM พีซีบสั เป็นเสน้ ทางทใ่ี ชใ้ นการเดนิ ของขอ้ มลู ระหว่างซพี ยี กู บั ส่วนอ่นื ภายในเครอ่ื งพซี ี เดมิ จะมเี พยี ง \"ซสิ เตม็ บสั \" (System Busses) เทา่ นัน้ แต่เน่อื งจากปญั หาของ อุปกรณ์นาขอ้ มลู เขา้ ออก ไมส่ ามารถพฒั นาใหม้ คี วามเรว็ เทา่ กบั ความสามารถของ ซพี ยี หู รอื แรมได้ ต่อมาจงึ ไดแ้ บ่งบสั ออกเป็น 2 สว่ น ไดแ้ ก่ System Busses สง่ ขอ้ มลู ระหว่างซพี ยี ู และ แรม I/O bus ส่งขอ้ มลู ระหว่างซพี ยี ู และ อุปกรณ์นาขอ้ มลู เขา้ ออก (ดงั รปู ) รปู แสดงท่ี 4.13 ซสิ เตม็ บสั และไอโอบสั ซง่ึ ใชเ้ ป็นเสน้ ทางของขอ้ มลู System Busses จะมขี นาดความกวา้ งและความเรว็ ขน้ึ อยกู่ บั ชนิดของซพี ยี ู ดงั นนั้ แผงวงจรหลกั จะตอ้ งถูกออกแบบมาใหส้ ามารถรองรบั ความกวา้ งของขอ้ มลู ทส่ี ง่ ผ่านแต่ละครงั้ และ ความเรว็ ของซพี ยี ใู หไ้ ด้ เช่น ซพี ยี รู นุ่ Intel Pentium II ทม่ี ขี นาด 64 Bit จะใช้ System Bus 100
35 MHz (เมก็ กะเฮริ ท์ ) หรอื ในปจั จบุ นั รนุ่ Intel pentium III ทม่ี ขี นาด 64-128 Bit จะใช้ Systembus 160 MHz I/O Busses มกั มคี วามเรว็ ต่ากว่า System Bus ทงั้ น้เี พราะอุปกรณ์เหล่าน้ยี งั ตอ้ งพง่ึ พา กลไกการทางานแบบเครอ่ื งจกั รกลอยู่ ซง่ึ ต่อมาไดก้ ลายเป็นมาตรฐานในการผลติ เครอ่ื งพซี ที จ่ี ะตอ้ ง มบี สั แยกกนั และมาตรฐานทน่ี ยิ มใชก้ นั ไดแ้ ก่ Industry Standard Architecture Bus : ISA Bus เป็นบสั ขนาด 8, 16 บติ แบบเก่าทม่ี ี ความเรว็ ต่า มกั ต่อกบั อุปกรณ์เช่น คยี บ์ อรด์ เครอ่ื งพมิ พ์ พอรต์ COM 1 และ 2 Peripheral Component Interconnect : PCI Bus มคี วามเรว็ สงู กว่ามกั ต่อกบั อุปกรณ์เชน่ ฮารด์ ดสิ ก์ VDO Adapter, Network Adapter Universal Serial Bus : USB Bus เป็นบสั แบบใหม่ทก่ี าลงั เขา้ มาแทนทแ่ี บบเก่า เพราะใช้ กบั อุปกรณ์แบบใหม่ ๆ ไดท้ ุกชนิด เชน่ เครอ่ื งเล่น DVD เป็นตน้ 4.5.2 ฮารด์ แวรท์ ี่ใช้สาหรบั การอ่านหรือเขียนข้อมลู คอมพวิ เตอรจ์ าเป็นตอ้ งมอี ุปกรณ์ทใ่ี ชใ้ นการเกบ็ โปรแกรมและขอ้ มลู ทถ่ี าวร ถงึ แมว้ ่าจะ ปิดเครอ่ื งคอมพวิ เตอรไ์ ปแลว้ กต็ าม ซง่ึ โปรแกรมหรอื ขอ้ มลู เหล่าน้ตี อ้ งสามารถนากลบั มาใชห้ รอื แกไ้ ขได้ เรามกั เรยี กว่า Secondary Storage หรอื auxiliary storage เพราะมกั ถูกแยกออกจาก หน่วยความจา อุปกรณ์เหล่าน้ีมลี กั ษณะการใชง้ านคลา้ ยกบั เครอ่ื งเล่นเทป เมอ่ื เราตอ้ งการฟงั เพลง เราตอ้ งนาเทป (สอ่ื ) ทผ่ี ลติ จากสารแมกเนตกิ ใสล่ งในเครอ่ื งเลน่ อุปกรณ์ทเ่ี รามกั พบเหน็ ในปจั จบุ นั ไดแ้ ก่ เครอ่ื งอ่านและเขยี นฮารด์ ดสิ ก์ ดสิ กเ์ กต็ และซดี รี อม
36 รปู ท่ี 4.14 แสดง ฮารด์ แวรท์ ใ่ี ชส้ าหรบั การอ่านหรอื เขยี นขอ้ มลู (ก) ฮารด์ ดสิ ก์ (ข) ดสิ กเ์ กต็ (ค) แผน่ ซดี รี อม แมกเนตกิ ดสิ กอ์ าจอยใู่ นรปู แบบของแผ่นดสิ กเ์ กต็ หรอื ฮารด์ ดสิ ก์ ถา้ เป็นดสิ กเ์ กต็ ทเ่ี รา พบเหน็ มกั มขี นาด 3 น้วิ ใส่อยใู่ นซองพลาสตกิ เกบ็ ขอ้ มลู ไดป้ ระมาณ 1.44 ลา้ นไบต์ (Byte) แต่ถา้ เป็นฮารด์ ดสิ กม์ กั จะมคี วามจุ ขอ้ มลู ไดม้ ากกว่า มกี ารอ่านและเขยี นขอ้ มลู ทเ่ี รว็ กว่าแผน่ ดสิ กเ์ กต็ และมกั ถกู เกบ็ อยใู่ นกลอ่ งทแ่ี น่นหนากวา่ สาหรบั เครอ่ื งพซี มี กั มที งั้ เครอ่ื งเลน่ ดสิ กเ์ กต็ และเครอ่ื งเล่น ฮารด์ ดสิ ก์ เพอ่ื ใชใ้ นการอ่านและเขยี นขอ้ มลู ในดสิ กเ์ กต็ หรอื ฮารด์ ดสิ ก์ แต่เครอ่ื งพซี บี างเครอ่ื งอาจมี อุปกรณ์ทม่ี คี วามจมุ ากและอ่านขอ้ มลู ได้ รวดเรว็ กว่าฮารด์ ดสิ กย์ ง่ิ ขน้ึ ไปอกี เราเรยี กวา่ \"ออปตคิ อล ดสิ ก\"์ เช่น ซดี รี อมซง่ึ จะไมใ่ ชส้ ารแมกเนตกิ ในการทาสอ่ื แต่จะใชร้ อยทเ่ี กดิ จากแสงเลเซอร์ ฮารด์ แวรห์ รอื อุปกรณ์รอบขา้ ง (Peripherals) ไดแ้ ก่ คยี บ์ อรด์ เมาส์ จอภาพ เครอ่ื งพมิ แ์ ละ สแกนเนอร์ เราพมิ พข์ อ้ มลู ลงบนแป้นพมิ พค์ อมพวิ เตอร์ เมอ่ื คอมพวิ เตอรร์ บั ขอ้ มลู แลว้ จะนาขอ้ มลู นนั้ แสดงใหเ้ ราเหน็ ผ่านจอภาพทอ่ี ยขู่ า้ งหน้าหรอื ในบางครงั้ เราใชเ้ มาสเ์ พ่อื ชไ้ี ปยงั ส่วนต่างๆ ของ จอภาพ เพอ่ื เป็นการเล่อื นไปยงั โปรแกรมทเ่ี ราตอ้ งการ เราคลกิ เมาสซ์ า้ ยเพ่อื ทาการเลอื ก หรอื กด เมาสต์ ่อเน่อื ง 2ครงั้ (Double Click) เพอ่ื ใหโ้ ปรแกรมทางาน
37 7. ส่ือประกอบการสอน
38 ครงั้ ที่ 5 หน่วยที่ 4 เทคโนโลยีคอมพิวเตอรฮ์ ารด์ แวร์ ตอนที่ 1
39 จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ 1. อธิบายความหมายคอมพิวเตอรแ์ ละฮารด์ แวร์ ไดอ้ ย่างถกู ตอ้ ง 2.บอกองคป์ ระกอบพ้ืนฐานของเคร่ือง คอมพิวเตอรไ์ ดอ้ ย่างถกู ตอ้ ง 3.จาํ แนกประเภทของคอมพิวเตอรไ์ ดอ้ ย่างถกู ตอ้ ง 4.อธิบายการทํางานของเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ ส่วนบคุ คลไดอ้ ย่างถกู ตอ้ ง หวั ขอ้ การเรียน 1 คอมพิวเตอรแ์ ละฮารด์ แวร์ 2 องคป์ ระกอบพ้ืนฐานของเครื่องคอมพิวเตอร์ 3 ประเภทของคอมพิวเตอร์ 4 เทคโนโลยีคอมพิวเตอรส์ ่วนบคุ คล
40 ความคิดรวบยอด
41
42
43
44
45
46
47
Search