38 ตัวบ่งชที้ ่ี 3.2 การส่งเสริมและพฒั นานักศกึ ษา 1. การควบคมุ การดูแลการใหค้ ำปรึกษาวชิ าการ และ แนะแนวแกน่ ักศกึ ษาปรญิ ญาตรี - การให้คำปรึกษา เมื่อนักศึกษาเรียนภายในชั้นเรียน นอกเหนือจากการให้ความรู้ทาง วิชาการ โดยรวมเปน็ การแจง้ ข่าวสาร ประชาสัมพันธเ์ รอ่ื งต่าง ๆ ทีน่ กั เรยี นควรตอ้ งทราบ เชน่ เรื่อง กำหนดการลงทะเบียน กำหนดการสอบกลางภาค กำหนดการสอบปลายภาค เรื่องการแต่กาย เรื่องการขาด ลา มาสาย - การให้คำปรึกษา นอกชั้นเรียน เป็นการอาศัยชอ่ งทางของสื่อโซเชียลมีเดีย เช่น Line, Facebook, Microsoft Teams ในการให้ความรู้ ให้ข่าวสารทางวิชาการ รวมถึงการแจ้งข่าวสาร ประชาสมั พันธ์เรอื่ งต่าง ๆ
39 2. การพฒั นาศกั ยภาพนักศึกษาและการเสริมสรา้ งทกั ษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 - ในกรณีที่สอนในหอ้ งเรียน การสอนนักศกึ ษาสาขาเทคโนโลยีสารสนเทศ นน้ั องคค์ วามรู้มี การเปลี่ยนแปลงที่รวดเร็วมาก ดังนั้นวิธีการสอนจะให้ผู้เรียนเกิดกระบวนการคิด และพยายาม กระตุ้นให้ผู้เรยี นพยายามค้นคว้าหาความรู้เกีย่ วกับเทคโนโลยใี หม่ ๆ ที่สามารถตอบโจทยก์ ารทำงาน ในยุกปจั จุบนั ให้ได้ - การมอบหมายงานนอกห้องเรียน จะมอบหมายงานที่ให้ผู้เรียนเกิดการค้นคว้า ค้นหา คำตอบต่าง ๆ ด้วยต้นเอง โดยมีเป้าหมายใหผ้ ู้เรียนสามารถท่ีจะศึกษาองค์ความรู้ต่าง ๆ ด้วยต้นเอง ได้ 3. การควบคุมดูแลในการจัดทำโครงงานพัฒนาสมรรถนะวิชาชีพ (สัดส่วนในการควบคุมอาจารย์ตอ่ นกั ศึกษาไม่ควร เกิน 1 : 15) - ยงั ไม่มีการเรยี นในรายวชิ าโครงงาน ฯ
40 ตวั บง่ ชี้ท่ี 3.3 ผลทีเ่ กดิ กบั นักศกึ ษา 1. การคงอยู่ (ยกเว้นเสยี ชีวติ และยา้ ยทีท่ ำงาน) จำนวนนกั ศึกษารับเขา้ ศกึ ษาทงั้ หมด = 24 คน จำนวนผู้ลาออกและคัดชือ่ ออก = 8 คน การคงอยู่ = (24 – 8)/24 x 100 = 66.67% การคงอยู่ของนักศึกษาสาขาวิชาเทคโนโลสารสนเทศ ปกี ารศึกษา 2563 คดิ เปน็ รอ้ ยละ 66.67% 2. การสำเร็จการศึกษา *ใช้ขอ้ มลู 3 รุน่ ต่อเน่อื ง ปกี ารศึกษา จำนวนนกั ศึกษาตามหลักสูตร (คน) หมายเหตุ ยังไม่มีผ้สู ำเรจ็ การศึกษา 2560 2560 2561 2562 2563 2561 2562 --- - 2563 รวม --- - --- - - - - 24 - - - 24 สาขาวชิ าเทคโนโลยีสารสนเทศยงั ไมม่ ผี ูส้ ำเรจ็ การศกึ ษา 3. ความพงึ พอใจ และผลการจดั การข้อรอ้ งเรียนของนกั ศึกษา จากการตอบแบบสอบถามความพึงพอใจของนักศึกษาตอ่ คุณภาพหลักสูตร ของนกั ศึกษา สาขาวชิ าเทคโนโลยีสารสนเทศ มีค่าเฉลยี่ รวมเท่ากับ 4.34 อยใู่ นระดับมาก
41 องค์ประกอบท่ี 4 อาจารย์ ตวั บ่งช้ที ่ี 4.1 การบริหารและพฒั นาอาจารย์ 1. ระบบการรบั และแตง่ ตงั้ อาจารย์ประจำหลักสูตร สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ภายใต้สถาบันการอาชีวศึกษาภาคตะวันออก ได้มีการ วางแผนในการรบั และแตต่ ัง้ อาจารย์ประจำหลกั สตู ร ดงั นี้ - คัดเลือกอาจารย์ประจำหลักสูตร โดยพิจารณาจากครูของสาขาเทคโนโลยีสารสนเทศ และครูของสาขาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ โดยมีการตรวจสอบคุณวุฒิในระดับปริญญาโท ซึ่งจะต้องเปน็ คณุ วฒุ ทิ างดา้ นเทคโนโลยสี ารสนเทศ หรือคอมพิวเตอร์เป็นหลัก - สถาบันการอาชีวศึกษาภาคตะวันออก กลั่นกรองโดยคุณสมบัติของอาจารย์ประจำ หลักสตู รโดยคณะกรรมการกล่นั กรอง - สถาบันการอาชวี ศึกษาภาคตะวันออก นำรายชอื่ ผ่านทกี่ ลั่นกรองเขา้ ที่ประชมุ สภาสถาบัน เพ่อื ทำการแต่งต้งั เปน็ อาจารยป์ ระจำหลกั สตู ร 2. ระบบการบรหิ ารอาจารย์ สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ภายใต้สถาบันการอาชีวศึกษาภาคตะวันออก มีระบบการ บริหารอาจารย์ ดังนี้ - ในแตล่ ะภาคเรยี น จะมกี ารคัดเลือกอาจารยป์ ระจำวชิ า โดยคดั เลอื กจากทัง้ อาจารยอ์ ยู่ใน กำกบั ของสถาบันการอาชวี ศกึ ษาภาคตะวันออก และอาจารย์ผูท้ รงคุณวฒุ จิ ากภายนอก จากน้ันจะมี การพิจารณาคุณสมบัติโดยมีคณะกรรมการพิจารณา และดำเนินการออกเป็นคำสั่งแต่งตั้งเป็น อาจารย์ประจำวิชาในแต่ละภาคเรียน - ในแต่ละภาคเรียน จะมีการประชุมอาจารย์ผู้สอน เพื่อชี้แจงขั้นตอนในการดำเนินการ จัดการเรียนการสอน รวมทั้งชี้แจงเกี่ยวกับการจัดทำเอกสารรายวิชาต่าง ๆ ที่อาจารย์ผู้สอนต้อง จัดทำ - มกี ารนำระบบ ศธ.02 ออนไลนม์ าใช้ ในการบริหารจัดการอาจารย์ผู้สอน โดยนำมาใช้ใน การเกบ็ ประวตั อิ าจารย์ผู้สอน, จดั ทำตารางสอน, ในอาจารย์ผูส้ อนประเมนิ ผลการเรียน เป็นต้น
42 - มีการนำระบบโซเชียลมีเดีย Line เพื่อใช้สำหรับแจ้งข่าวสารระหว่างสถาบัน สาขาวิชา และอาจารย์ผ้สู อนได้รับทราบ 3. ระบบการส่งเสรมิ และพฒั นาอาจารย์ สาขาเทคโนโลยสี ารสนเทศ ภายใต้สถาบบันการอาชวี ศึกษาภาคตะวนั ออก สถาบนั ได้มีการ จดั ทำโครงการสง่ เสริมและพมั นาอาจารย์ ดงั น้ี - - -
43 ตัวบง่ ชท้ี ี่ 4.2 คุณภาพอาจารย์ 1. รอ้ ยละของอาจารยผ์ ูร้ บั ผิดชอบหลกั สูตรท่มี ีประสบการณ์ดา้ นปฏบิ ัติการในสถานประกอบการ ค่ารอ้ ยละของอาจารยผ์ รู้ ับผดิ ชอบหลกั สตู รทม่ี ปี ระสบการณ์ดา้ นปฏิบัตกิ ารในสถานประกอบการ แปลงค่าร้อยละท่ีคำนวณได้ เทยี บกบั คะแนนเตม็ 5 หมายเหตุ : ไมน่ บั อาจารยผ์ ้รู บั ผิดชอบหลกั สูตรท่ีมาจากสถานประกอบการ จำนวนอาจารย์ผรู้ ับผดิ ชอบหลักสตู รทง้ั หมด = 5 คน จำนวนอาจารย์ผ้รู ับผิดชอบหลักสตู รท่มี ีประสบการณ์ในดา้ น = 0 คน การปฏบิ ัติงานในสถานประกอบการ ค่ารอ้ ยละของอาจารยผ์ ู้รบั ผดิ ชอบหลักสูตรทีม่ ีประสบการณ์ดา้ น = (0/5) x 100 = 0 ปฏิบัติการในสถานประกอบการ แปลงค่ารอ้ ยละที่คำนวณไดเ้ ทยี บกับคะแนนเต็ม 5 = (0/80) x 5 = 0 ค่าร้อยละของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรที่มีประสบการณ์ด้านปฏิบัติการในสถาน ประกอบการ ร้อยละ ๐ ผลการประเมินอยใู่ นระดับคะแนน 0 คะแนน
44 2. ผลงานทางวชิ าการของอาจารยผ์ ู้รบั ผิดชอบหลักสตู รท้ังหมด คำนวณค่ารอ้ ยละของผลรวมถว่ งน้ำหนักของผลงานทางวิชาการของอาจารยผ์ ู้รบั ผิดชอบหลักสตู ร แปลงคา่ รอ้ ยละท่ีคำนวณได้ เทยี บกบั คะแนนเต็ม 5 จำนวนอาจารยผ์ ู้รบั ผิดชอบหลกั สตู รทัง้ หมด = 5 คน จำนวนผลงานทางวิชาการ ปกี ารศึกษา 2563 = 0 คน ค่าร้อยละผลงานทางวชิ าการของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร ร้อยละ 0 ผลการประเมินอยู่ ในระดบั คะแนน 0 คะแนน หมายเหตุ - อาจารย์ผรู้ ับผิดชอบหลักสูตร ไม่มผี ลงานทางวิชาการ ปีการศกึ ษา 2563 - อาจารยผ์ ู้รับผิดชอบหลกั สูตร จำนวน 5 คน มผี ลงานทางวชิ าการในปีการศึกษา 2562
45 ตวั บง่ ชีท้ ี่ 4.3 ผลท่เี กดิ กบั อาจารย์ 1. การคงอยขู่ องอาจารย์ สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศ เมื่อเริ่มจัดการเรีนยการสอนระดับปริญญาตรีในปีการศกึ ษา 2563 มอี าจารยป์ ระจำหลักสูตรจำนวน 5 ท่าน และจนถึงปจั จบุ ันอาจารย์ประจำหลักสูตรยงั อยู่ครบทง้ั 5 ทา่ น มีอตั ราการคงอยเู่ ท่ากับ รอ้ ยละ 100 ในส่วนของอาจารยผ์ ู้สอนประจำรายวิชา ของสาขาเทคโนโลยีสารสนเทศ จะดำเนนิ การเลือกจาก ครูผู้สอนในสาขาเทคโนโลยีสารสนเทศ สาขาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ และสาขาอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง จะมี การผลัดเปลยี่ นหมนุ เวยี นตามความเหมาะสมดงั นน้ั จึงไม่จำนวนที่ไมเ่ ทา่ กันในแตล่ ะปกี ารศึกษา ดงั้ น้ี - ภาคเรยี นท่ี 1/2563 มอี าจารย์ประจำวิชา จำนวน 6 ท่าน - ภาคเรยี นที่ 2/2563 มีอาจารยป์ ระจำวิชา จำนวน 5 ท่าน 2. ความพงึ พอใจและความไมพ่ ึงพอใจของอาจารย์ จากการตอบแบบสอบถามความพึงพอใจของอาจารย์ตอ่ การบริหารจดั การหลกั สตู ร เทคโนโลยีบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ มคี ่าเฉลยี่ รวมเท่ากบั 4.14 อยู่ในระดับมาก
46 องคป์ ระกอบท่ี 5 หลกั สตู ร การเรียนการสอน การประเมนิ ผเู้ รยี น ตัวบง่ ชี้ที่ 5.1 สาระของรายวิชาในหลกั สตู ร 1. การออกแบบหลกั สตู รและสาระรายวิชาในหลกั สตู ร สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ มีขั้นตอนในการออกแบบหลักสูตรและสาระรายวิชาใน หลกั สูตร ดงั นี้ - หาต้นแบบจากสถาบันการอาชีวศึกษาอื่นที่ปัจจุบันเปิดสอนในหลักสูตรเทคโนโลยี สารสนเทศอยู่ ติดต่อขอรายละเอียดหลักสูตรจากสถาบันการอาชีวศึกษานั้น มาศึกษาเพื่อทำความ เข้าใจ โดยมีเงื่อนไขว่าจะต้องศึกษารายละเอียดหลักสูตรจากหลาย ๆ สถาบันเพื่อนำมาทำการ เปรียบเทียบ - สืบค้นผ่านระบบสารสนเทศ CHECO เพื่อศึกษาตัวอย่างการออกแบบหลักสูตรและสาระ รายวิชา ในสาขาเทคโนโลยีสารสนเทศ ของแต่ละสถาบันการศึกษา เพื่อใช้สำหรับเป็นแม่แบบใน การออกแบบหลกั สูตร - พจิ ารณาบรบิ ทของวทิ ยาลยั เทคนคิ ระยอง ประกอบกับจงั หวัดระยองเปน็ พืน้ ท่ีเขต EEC ทำ ให้การออกแบบหลักสูตรนั้นจะต้องมีจุดเด่นที่แตกต่างจาก สถาบันอื่น ที่เปิดสอนในสาขาเดียวกัน โดยกำหนดไว้ว่าเป็นการรองรับอตุ สาหกรรมดิจิทัล ในเขตพน้ื ท่ี EEC 2. การปรับปรงุ หลักสตู รใหท้ ันสมัยตามความก้าวหนา้ ในศาสตรส์ าขานัน้ ๆ ยังไม่มกี ารปรับปรงุ หลักสตู ร เนอื่ งจากยังไม่ถงึ กำหนดรอบระยะเวลาทีจ่ ะตอ้ งปรับปรุง
47 ตัวบง่ ชี้ที่ 5.2 การวางระบบผู้สอน และกระบวนการจดั การเรยี นการสอน 1. การกำหนดผูส้ อน การกำหนดผูส้ อน ของสาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ จะดำเนินการเลือกจากครูผู้สอนในสาขา เทคโนโลยสี ารสนเทศ สาขาคอมพิวเตอร์ธรุ กิจ และสาขาอน่ื ๆ ท่ีเกีย่ วข้องและจะมีการผลัดเปลี่ยน หมุนเวยี นตามความเหมาะสมดังนัน้ จึงไม่จำนวนท่ีไมเ่ ทา่ กนั ในแตล่ ะปกี ารศึกษา ด้งั น้ี - ภาคเรยี นที่ 1/2563 มอี าจารยป์ ระจำวิชา จำนวน 6 ทา่ น - ภาคเรียนท่ี 2/2563 มีอาจารยป์ ระจำวิชา จำนวน 5 ทา่ น คุณสมบัติของครูผู้สอน จะต้องจบการศึกษาไม่ต่ำกว่าระดับปริญญาโทในสาขาที่เกี่ยวข้องกับ รายวิชาทีจ่ ะสอน ในแต่ละปีการศึกษาสาขาเทคโนโลยีสารสนเทศ จะมีการคัดเลือกครูผู้สอน เพื่อส่งรายชื่อผู้สอน ให้กับสถาบันการอาชวี ศึกษาภาคตะวนั ออก ตรวจสอบคณุ สมบัตแิ ละทำคำสงั่ แตต่ ัง้ ผ้สู อน 2. การกำกับ ติดตาม และตรวจสอบการจัดทำแผนการเรียนรู้ แผนการฝึก และการจัดการเรียนการ สอนทั้งในสถานศกึ ษา และสถานประกอบการ สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศ ได้มีการกำกับ ติดตาม และตรวจสอบการจัดทำแผนการเรียนรู้ แผนการฝกึ และการจดั การเรยี นการสอน ดงั นี้ - กำหนดให้อาจารย์ประจำวิชา จดั ทำแผนการเรียนรู้ (คอศ.2) หรือแผนการฝึก (คอศ.3) ส่ง ตอ่ ประธานหลกั สตู รกอ่ นวนั เปิดภาคเรียน - กำหนดใหอ้ าจารยป์ ระจำวิชา จัดทำรายงานผลการสอน (คอศ.4) หรือรายงานผลการฝึกงาน (คอศ.5) ตอ่ ประธานหลกั สตู รภายหลังจากสนิ้ สุดภาคเรียน - ประธานหลักสูตรจัดทำ (คอศ.6) รายงานผลการดำเนินงานของหลักสูตร (คอศ.6) ต่อ สถาบนั การอาชวี ศึกษาภาคตะวันออก ทกุ ส้นิ ภาคเรียน 3. การจดั การเรยี นการสอนในระดับปรญิ ญาตรีท่ีสายเทคโนโลยีหรอื สายปฏบิ ัติการต้องดำเนนิ การ 5 ประเดน็ 1) สถาบันการอาชีวศึกษาต้องให้ความสำคัญกับการฝึกอาชีพในการศึกษาระบบทวิภาคี โดย ความร่วมมือกับสถานประกอบการในการจัดการเรียนการสอนตามหลักเกณฑ์ที่คณะกรรมการการ อาชีวศกึ ษากำหนด สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ไดด้ ำเนินการ ดงั น้ี - การจัดการศึกษาในปี 2563 ได้ทำ MOU เพื่อร่วมจัดการเรียนการสอนกับสถาน ประกอบการจำนวน 3 แห่ง - การรับนักศึกษาเน้นรับผู้ที่มีงานทำแล้ว โดยในภาคเรียนที่ 1/2563 รับนักศึกษาทั้งส้ิน จำนวน 24 คน เปน็ ผู้ท่ีมีงานทำแล้วทั้งสนิ้ 20 คน
48 2) สถาบันการอาชีวศึกษาตอ้ งจดั เตรียมความพร้อมในด้านอาคารสถานที่ ครุภัณฑ์ คณาจารย์ และบุคลากรทางการศกึ ษาใหเ้ หมาะสม สอดคลอ้ งกับการจดั การเรยี นการสอนในแต่ละลกั ษณะ การ ผลติ และการพัฒนาผเู้ รยี น สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศ มคี วามพร้อมในด้านอาคาร ครภุ ัณฑ์ คณาจารย์ และบคุ ลากร ดงั น้ี - อาคารเรียนอยู่ทีช่ ้นั 3 อาคาร 9 ประกอบไปด้วย ห้องเรยี น จำนวน 6 ห้อง ห้องคอมพวิ เตอร์ จำนวน 2 ห้อง หอ้ งปฏิบตั กิ ารเครอื ข่าย จำนวน 1 หอ้ ง มคี วามเพยี งพอสำหรบั ผู้เรยี น - ครุภัณฑก์ ารเรียน ประกอบไปด้วย เครอื่ งคอมพิวเตอร์ จำนวน 90 เคร่ือง ชุดฝกึ ปฏบิ ตั ดิ ้านเครือขา่ ย จำนวน 10 ชดุ มีความเพยี งพอสำหรบั ผเู้ รียน - ด้านคณาจารยแ์ ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา อาจารย์ประจำหลกั สูตร จำนวน 5 คน อาจารย์ประจำวิชา จำนวน 5-6 คน/1 ภาคเรียน มคี วามรู้ความสามารถตรงตามรายวชิ าของสาขา ฯ 3) สถาบันการอาชีวศกึ ษาต้องกำหนดวิธกี ารพฒั นาคุณภาพการจัดการอาชวี ศกึ ษาและการจดั การ เรียนการสอนเพื่อพัฒนาคุณลักษณะให้ตรงตามศักยภาพของผู้เรียน และระดับคุณวุฒิของแต่ละ ประเภทวชิ าและสาขาวชิ า สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศ ภายใต้การกำกับดูแลของสถาบันการอาชีวศึกษาภาค ตะวนั ออก กำหนดวธิ ีการพัฒนาคณุ ภาพการจดั การอาชีวศกึ ษาและการจดั การเรยี นการสอน ดังนี้ - กำหนดใหม้ กี ารจัดการเรียนการสอน 18 สัปดาหต์ ่อภาคเรียน เพ่ือให้ผู้เรียนได้เรียน ทัง้ ในภาคทฤษฎแี ละภาคปฏบิ ตั ไิ ด้ครบถ้วน - กำหนดให้มีการประเมนิ เชิงพฤตกิ รรมของผ้เู รียน เพ่ือวดั ทักษะในภาคปฏบิ ตั ิ - กำหนดให้มกี ารประเมินมาตรฐานวิชาชีพ ในภาคเรียนสุดทา้ ย เพือ่ ให้ผู้มีคุณลักษณะ ทีต่ รงตามคุณวุฒิ
49 4) สถาบันการอาชีวศึกษาต้องจัดการเรียนการสอนที่เน้นการเรียนรู้สู่การปฏิบัติโดยให้ผู้เรียน จดั ทำโครงงานพฒั นาสมรรถนะวชิ าชพี ที่สอดคลอ้ งกบั สาขาวิชาทีเ่ รียน สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศ ภายใต้สถาบันการอาชีวศึกษาภาคตะวนั ออก มีการจัดการ เรียนการสอนโครงงานพฒั นาสมรรถนะวิชาชีพ ดังน้ี โครงการนวัตกรรมทางเทคโนโลยีสารสนเทศ 1 ในภาคเรยี นท่ี 3 โครงการนวัตกรรมทางเทคโนโลยีสารสนเทศ 2 ในภาคเรยี นที่ 4 โครงงานในสถานประกอบการ ในภาคเรยี นที่ 4 โดยวิชาดังกล่าวล้วนส่งเสริมให้ผู้เรียนนำความรู้ทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ มา ประยุกตท์ ำเปน็ ผลงาน 5) สถาบันการอาชีวศึกษาต้องส่งเสริม สนับสนุนให้มีการจัดกิจกรรมเพื่อส่งเสริมสมรรถนะ แกนกลางและสมรรถนะวิชาชีพ ปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม ระเบียบวินัย ปลูกฝังจิตสำนกึ และจิตอาสา เสริมสร้างการเป็นพลเมืองไทยและพลโลกในด้านการรักชาติ เทิดทูนพระมหากษัตริย์ ส่งเสริมการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประทุข ทะนุบำรุงศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรม ภูมิปัญญาไทย อนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ส่งเสริมการกีฬาและนันทนาการ ส่งเสริมการ ดำรงตนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และส่งเสรมิ ให้ผู้เรียนทำงานโดยใช้กระบวนการกลุ่ม ในการบริการวชิ าการ วิชาชพี หรือทำประโยชนต์ อ่ ชุมชนและสงั คม ในปีการศึกษา 2563 สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศ สถาบันการอาชวี ศึกษาภาคตะวันออก มีการจัดกิจกรรมเพื่อปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม ระเบียบวินัย โดยจัดกิจกรรมปฐมนิเทศ นกั ศกึ ษาระดับปรญิ ญาตรี ในวนั ท่ี 28 มถิ ุนายน 2563 4. การควบคุมหัวข้อโครงงานพฒั นาสมรรถนะวิชาชีพและการแต่งตั้งอาจารย์ทีป่ รึกษาให้สอดคล้อง กับโครงงานของผเู้ รยี น ในปีการศึกษา 2563 สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ นักศึกษาอยู่ชั้นปีที่ 1 ยังไม่ได้ เรียนวชิ าโครงงาน ฯ
50 ตวั บ่งชี้ที่ 5.3 การประเมนิ ผเู้ รียน 1. การประเมินผลการเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ ระดับอุดมศึกษาแห่งชาติและทักษะ ปฏบิ ตั ิงาน การประเมนิ มาตรฐานวชิ าชพี และการประเมินสมทิ ธิภาพทางภาษาอังกฤษ ในปกี ารศึกษา 2563 สาขาวิชาเทคโนโลยสี ารสนเทศ นักศึกษาอยู่ชน้ั ปีท่ี 1 ยังไมไ่ ด้เข้า รบั การประเมนิ มาตรฐานวิชาชพี 2. การตรวจสอบการประเมนิ ผลการเรยี นรขู้ องนักศึกษา สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ โดยงานวดั ผลและประเมินผลของวทิ ยาลัยเทคนิคระยอง ได้มีการตรวจสอบการประเมินผลการเรยี นรู้ ดงั นี้ - มกี ารทำคำสัง่ มอบหมายผู้สอบทานผลการเรียน ในทกุ ภาคเรยี น - มีการอนุมัติผลการเรียนโดยคณะกรรมการสถานศกึ ษา ในทุกภาคเรยี น - สาขาวชิ ามีการจดั ทำ คอศ.6 ในทุกสนิ้ ภาคเรยี น 3. การกำกบั การประเมินการจัดการเรยี นการสอนและประเมินหลกั สตู ร สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ มีการกำกับการประเมินการจัดการเรียนการสอนและ ประเมนิ หลกั สูตร ดงั นี้ - มีการทำกำหนดการเกี่ยวกบั การประเมินผลการเรยี น ในทุกภาคเรียน โดยงานวัดผล และประเมนิ ผล วิทยาลยั เทคนิคระยอง - มกี ารอนมุ ัติผลการเรียนโดยคณะกรรมการสถานศกึ ษา ในทกุ ภาคเรียน - สาขาวิชามีการจัดทำ คอศ.6 ในทกุ สิน้ ภาคเรียน
51 ตัวบง่ ชที้ ่ี 5.4 ผลการดำเนินงานหลักสูตรตามกรอบ มาตรฐานคุณวฒุ ริ ะดบั อดุ มศึกษาแหง่ ชาติ 1. ผลการดำเนนิ งานตามตัวบ่งช้ีการดำเนินงานตาม กรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอดุ มศกึ ษาที่ปรากฏ ในเอกสาร หลักสูตรฉบับทจี่ ัดการเรยี นการสอนในขณะนั้น (คอศ.1) หมวดท่ี 7 สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศ สถาบันการอาชีวศึกษาภาคตะวันออก เริ่มเปิดการสอนรุ่นที่ 1 ในปีการศึกษา 2563 ผลการดำเนินงานหลักสูตรตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา เฉพาะในปีท่ี 1 ดงั น้ี ดชั นบี ่งช้ผี ลการดาเนนิ งาน ปที ่ี 1 (1) อาจารยผ์ รู้ ับผิดชอบหลักสูตร อยา่ งน้อยร้อยละ มีส่วนร่วมในการ 80 ประชมุ เพือ่ วางแผน ติดตาม และทบทวนการดาเนินงานหลักสตู ร (2) มีรายละเอียดของหลกั สูตร ตามแบบ คอศ.2 (มคอ.2) ท่ีสอดคลอ้ งกบั กรอบมาตรฐานคุณวุฒิแห่งชาติ หรือมาตรฐานคุณวฒุ ิสาขา/สาขาวชิ า (ถา้ มี) (3) มีรายละเอียดของรายวชิ าในสถานศึกษา และรายละเอียดของรายวิชา ในสถานประกอบการ ตามแบบ คอศ.2 และ คอศ.3 อย่างน้อยก่อน การเปดิ สอนในแต่ละภาคการศกึ ษาใหค้ รบทุกรายวชิ า (4) จัดทารายงานผลการดาเนินการของรายวชิ าในสถานศกึ ษา และ รายงานผลการดาเนนิ การของรายวชิ าในสถานประกอบการ ตามแบบ คอศ.4 และคอศ.5 ภายใน 30 วัน หลังสนิ้ สุดภาคการศกึ ษาทเ่ี ปิดสอน ใหค้ รบทกุ รายวชิ า (5) จดั ทารายงานผลการดาเนนิ การของหลักสูตร ตามแบบ คอศ. 6 ภายใน 60 วนั หลังสิ้นสุดปกี ารศกึ ษา (6) มีการทวนสอบผลสัมฤทธิข์ องนกั ศกึ ษาตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ที่ กาหนดในแบบ คอศ. 2 และ คอศ 3 อย่างน้อยร้อยละ 25 ของ รายวชิ าทีเ่ ปิดสอนในแต่ละปกี ารศึกษา (7) มีการพัฒนา/ปรับปรงุ การจัดการเรยี นการสอน กลยุทธก์ ารสอน หรอื การประเมนิ ผลการเรยี นรจู้ ากผลการประเมนิ การดาเนนิ งาน ทร่ี ายงานในแบบ คอศ.6 หรือ มคอ.7 ปีท่แี ลว้ (8) อาจารย์ใหม่ (ถ้ามี) ทุกคน ไดร้ บั การปฐมนิเทศหรอื คาแนะนา ด้านการจัดการเรียนการสอน
52 ดชั นีบง่ ชีผ้ ลการดาเนนิ งาน ปีท่ี 1 (9) อาจารย์ประจาหลักสูตรทุกคนไดร้ ับการพฒั นาทางวิชาการและ/หรอื วชิ าชพี อย่างน้อยปลี ะหนงึ่ ครัง้ (10) จานวนบุคลากรสนบั สนนุ การเรยี นการสอน (ถ้ามี) ได้รบั การพัฒนา วิชาการ และ/หรือวิชาชพี ไม่นอ้ ยกวา่ ร้อยละ 50 ต่อปี (11) ระดบั ความพึงพอใจของนกั ศึกษาปีสดุ ทา้ ย/บณั ฑิตใหม่ทมี่ ีตอ่ คุณภาพหลกั สูตร เฉลี่ยไมน่ อ้ ยกว่า 3.5 จากคะแนน 5.0 (12) ระดบั ความพึงพอใจของผใู้ ชบ้ ัณฑติ ทีม่ ตี อ่ บัณฑติ ใหมเ่ ฉล่ยี ไม่น้อย กว่า 3.5 จากคะแนนเตม็ 5.0 (13) นกั ศึกษามีงานทาภายใน 1 ปี หลังจากสาเร็จการศึกษา ไม่ต่ากวา่ ร้อยละ 80 สรุป ผลการดำเนินงานตามตวั ชวี้ ัด = 4 / 9 x 100 = ร้อยละ 44.44 มคี ่าคะแนนเทา่ กับ 0 คะแนน
53 องค์ประกอบท่ี 6 สงิ่ สนบั สนนุ การเรียนรู้ ตวั บ่งชท้ี ี่ 6.1 สงิ่ สนับสนนุ การเรียนรู้ 1. ระบบการดำเนินงานของหลกั สตู รกับสถานประกอบการโดย มสี ว่ นรว่ มของอาจารย์ผูร้ บั ผิดชอบ หลกั สูตรเพอื่ ให้มีสิ่งสนับสนนุ การเรียนรู้ สาขาวิชาเทคโนโลยสี ารสนเทศ ได้ทำ MOU กับสถาบประกอบการ 3 แห่ง โดยการ MOU ร่วมกบั สถานประกอบการ นัน้ จะรว่ มกันดำเนินกิจกรรม ดังน้ี - ร่วมกนั ออกแบบหลกั สูตรรายวิชาของสาขาเทคโนโลยีสารสนเทศ - รบั นักศึกษาเข้าฝกึ งานในสถานประกอบการ - ร่วมกันพฒั นาครผู ู้ท่ีจะมาปฏิบตั หิ นา้ ที่สอนในระดบั ปรญิ ญาตรี - สนับสนนุ ผเู้ ช่ียวชาญมารว่ มเป็นอาจารยพ์ ิเศษของสาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 2. จำนวนสิ่งสนับสนนุ การเรยี นรทู้ เ่ี พยี งพอและ เหมาะสมต่อการจัดการเรียนการสอน - อาคารเรยี นอยูท่ ่ีชัน้ 3 อาคาร 9 ประกอบไปด้วย หอ้ งเรยี น จำนวน 6 หอ้ ง ห้องคอมพวิ เตอร์ จำนวน 2 หอ้ ง ห้องปฏบิ ัติการเครอื ขา่ ย จำนวน 1 ห้อง มคี วามเพยี งพอสำหรบั ผูเ้ รียน - ครภุ ัณฑก์ ารเรียน ประกอบไปดว้ ย เครือ่ งคอมพิวเตอร์ จำนวน 90 เครื่อง ชดุ ฝึกปฏิบัตดิ า้ นเครือขา่ ย จำนวน 10 ชุด มีความเพียงพอสำหรบั ผู้เรยี น - ดา้ นคณาจารยแ์ ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา อาจารยป์ ระจำหลักสูตร จำนวน 5 คน อาจารยป์ ระจำวิชา จำนวน 5-6 คน/1 ภาคเรียน มคี วามรู้ความสามารถตรงตามรายวชิ าของสาขา ฯ 3. สถานประกอบการ สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศ ไดร้ ว่ มมอื กับสถานประกอบการ และกำหนดบทบาทของสถาน ประกอบการ ดังน้ี - รว่ มกนั ออกแบบหลกั สูตรรายวิชาของสาขาเทคโนโลยีสารสนเทศ - รบั นักศกึ ษาเข้าฝกึ งานในสถานประกอบการ
54 - ร่วมกนั พฒั นาครผู ู้ทจ่ี ะมาปฏบิ ตั หิ น้าที่สอนในระดับปริญญาตรี - สนบั สนุนผเู้ ชี่ยวชาญมาร่วมเปน็ อาจารย์พิเศษของสาขาวชิ าเทคโนโลยีสารสนเทศ 4. กระบวนการปรับปรงุ ตามผลการประเมิน ความพึงพอใจของนกั ศกึ ษาและอาจารยต์ อ่ สิง่ สนบั สนุน การเรยี นรู้ จากการตอบแบบสอบถามความพึงพอใจของนกั ศึกษาต่อส่งิ สนบั สนุนการเรียนรู้ หลักสตู ร เทคโนโลยีบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ผลการประเมนิ มีค่าเฉล่ียรวม เทา่ กับ 3.71 อยู่ ในระดบั มาก จากการตอบแบบสอบถามความพึงพอใจของอาจารย์ตอ่ ส่งิ สนบั สนนุ การเรียนรู้ หลักสตู ร เทคโนโลยีบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลสารสนเทศ ผลการประเมนิ มีคา่ เฉล่ยี รวม เทา่ กับ 4.18 อยู่ ในระดบั มาก สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ได้ดำเนนิ การปรับปรงุ ตามผลการประเมนิ โดยมีการปรับปรุง 2 ดา้ น 1) ด้านทรัพยากรทีเ่ ออ้ื ตอ่ การเรียนรู้ ประกอบดว้ ย อุปกรณ์ เทคโนโลยีสารสนเทศ ห้องสมุด ตําราหนงั สอื แหลง่ เรยี นรู้ ฐานขอ้ มูล 2) ด้านระบบสาธารณปู โภคและการรักษาความปลอดภัย
Search