รายงานการประเมนิ ตนเอง การประกนั คุณภาพการศึกษาภายใน ระดับหลกั สูตร ปีการศึกษา 2563 หลกั สตู รเทคโนโลยีบัณฑิต สาขาวชิ าคอมพิวเตอรธ์ ุรกจิ (ตอ่ เนือ่ ง) หลกั สูตรใหม่ พ.ศ. 2562 วทิ ยาลัยอาชีวศกึ ษาชลบรุ ี สถาบันการอาชีวศกึ ษาภาคตะวันออก สำนักงานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา กระทรวงศึกษาธกิ าร
2 ลงนาม ................................... ประธานหลกั สตู ร รายงานวนั ท่ี 4 เดือน มิถนุ ายน ปี พ.ศ. 2564
3 คำนำ รายงานการประเมินตนเอง (Self-Assessment Report : SAR) ของสาขาวิชาคอมพิวเตอร์ ธุรกิจ (ต่อเนอ่ื ง) วทิ ยาลัยอาชีวศึกษาชลบุรี สถาบันการอาชีวศึกษาภาคตะวนั ออก ปีการศึกษา 2563 นี้ รวบรวมและดำเนินการ โดยอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรและอาจารย์ประจำหลักสูตร อาจารย์ พเิ ศษ เพ่อื ใหก้ ารประกนั คุณภาพการศึกษาภายใน มีความต่อเน่อื ง ซึง่ คณะกรรมการประเมนิ คณุ ภาพ การศึกษาภายในของหลักสูตร ขอเสนอผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน โดยสอดคล้องตาม คมู่ ือการประกนั คณุ ภาพการศึกษาภายใน ระดับปริญญาตรี สายเทคโนโลยีหรือสายปฏิบัติการ พ.ศ. 2563 สถาบันการอาชีวศึกษาและสถาบันการอาชีวศึกษาเกษตร ของสำนักงานคณะกรรมการการ อาชวี ศึกษา ซึ่งผลการประเมินนั้น แยกตามองค์ประกอบและตวั บ่งช้ี รวมท้ังการวิเคราะห์จุดแข็ง จุด ด้อยของหลักสูตร ตลอดจนแนวทางแก้ไข การพัฒนา เสริมสร้างศักยภาพของหลักสูตร ตลอดจน ข้อเสนอแนะต่าง ๆ เพือ่ เป็นแนวทางการปรับปรุงในการจัดการศึกษา ระดับปริญญาตรีสายเทคโนโลยี หรอื สายปฏบิ ัติการ หลกั สูตรเทคโนโลยบี ัณฑิต สาขาวชิ าคอมพวิ เตอร์ธุรกิจ (ต่อเน่ือง) ใหม้ คี ุณภาพ มี ประสิทธภิ าพเพิม่ มากข้ึนตอ่ ไป คณะกรรมการ ขอขอบคุณนักศึกษาระดับปริญญาตรี สถานประกอบการ ผู้บริหารและ บุคลากรของวิทยาลัยอาชีวศึกษาชลบุรี ผู้บริหารและบุคลากรของสถาบันการอาชีวศึกษาภาค ตะวันออก และบุคคากรผู้เก่ียวขอ้ งอื่น ๆ ท่ีเก่ียวข้อง โดยทำให้การจัดทำรายงานการประเมินตนเอง เล่มนีส้ ำเรจ็ ลลุ ่วงดว้ ยดี สาขาวิชาคอมพวิ เตอร์ธุรกจิ (ตอ่ เนื่อง) วิทยาลยั อาชีวศกึ ษาชลบุรี สถาบันการอาชวี ศกึ ษาภาคตะวันออก
4 สารบญั หนา้ 3 คำนำ 4 สารบญั 5 บทสรปุ ผบู้ ริหาร 5 6 องคป์ ระกอบท่ี 1 การกำกับมาตรฐาน 7 องค์ประกอบท่ี 2 บณั ฑิต 8 องค์ประกอบที่ 3 นักศึกษา 9 องคป์ ระกอบท่ี 4 อาจารย์ 10 องค์ประกอบที่ 5 หลกั สตู ร การเรยี นการสอน การประเมนิ ผู้เรยี น 11 องคป์ ระกอบท่ี 6 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ 11 สว่ นที่ 1 ขอ้ มูลพ้ืนฐานของหลกั สูตร 11 1. ชื่อหลักสตู ร 11 2. สถานภาพของหลักสูตรและการพิจารณาอนุมัต/ิ เหน็ ชอบหลักสูตร 11 3. รูปแบบแผนการศกึ ษาของหลักสูตรระดับปรญิ ญาตรี (ตอ่ เน่ือง) 12 4. รายชือ่ อาจารย์ผรู้ ับผดิ ชอบหลักสตู รปัจจบุ ัน 14 5. ข้อมลู โดยสรปุ เก่ยี วกับวิทยาลัย และสาขาวิชา 15 6. ขอ้ มลู เกยี่ วกับหลกั สตู ร 15 7. จำนวนนักศึกษา 15 8. จำนวนผูส้ ำเรจ็ การศึกษา 9. แผนการรับนักศกึ ษาและผู้สำเรจ็ การศกึ ษาในระยะ 5 ปี 16 ส่วนที่ 2 การบริหารจัดการหลกั สูตรตามเกณฑ์การประกันคณุ ภาพการศกึ ษาภายใน 16 ระดบั ปรญิ ญาตรีสายเทคโนโลยีหรือสายปฏิบัติการ พ.ศ. 2563 ระดบั หลกั สูตร 17 องคป์ ระกอบที่ 1 การกำกับมาตรฐาน 19 องคป์ ระกอบที่ 2 บัณฑิต 21 องคป์ ระกอบที่ 3 นกั ศึกษา 23 องคป์ ระกอบที่ 4 อาจารย์ 27 องค์ประกอบท่ี 5 หลักสตู ร การเรียนการสอน การประเมินผ้เู รยี น 28 องคป์ ระกอบท่ี 6 สงิ่ สนับสนนุ การเรยี นรู้ 31 ส่วนที่ 3 สรุปผลการประเมนิ สว่ นท่ี 4 รายงานผลการวเิ คราะห์จดุ เด่นและจุดท่ีควรพัฒนา องค์ประกอบท่ี 2-6
5 บทสรปุ ผ้บู ริหาร คณะกรรมการประจำหลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑิต สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ (ต่อเนื่อง) ได้ประเมินคุณภาพของหลักสูตรตามเกณฑ์การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับปริญญาตรี สายเทคโนโลยีหรือสายปฏิบัติการ พ.ศ. 2563 ในระดับหลักสูตร มีทั้งหมด 6 องค์ประกอบ ได้แก่ องค์ประกอบที่ 1 การกำกับมาตรฐาน องค์ประกอบท่ี 2 บัณฑิต องค์ประกอบท่ี 3 นักศึกษา องค์ประกอบท่ี 4 อาจารย์ องค์ประกอบท่ี 5 หลักสูตร การเรียนการสอน การประเมินผู้เรียน และ องค์ประกอบท่ี 6 ส่งิ สนับสนนุ การเรยี นรู้ สรปุ ผลการประเมนิ ไดด้ ังน้ี องคป์ ระกอบท่ี 1 การกำกับมาตรฐาน เกณฑก์ ารประเมิน ผลการดำเนนิ การ ผา่ น ไม่ผา่ น 1.1 การบริหารจดั การหลกั สูตรตามประกาศกระทรวงศกึ ษาธิการ เรือ่ งเกณฑม์ าตรฐานหลักสตู ร ระดับปริญญาตรี พ.ศ. 2558 1.1.1 จำนวนอาจารยผ์ รู้ บั ผิดชอบหลักสตู ร 1.1.2 คุณสมบัตอิ าจารย์ผู้รับผดิ ชอบหลกั สูตร 1.1.3 คุณสมบตั อิ าจารยป์ ระจำหลกั สตู ร 1.1.4 คณุ สมบตั อิ าจารย์ผู้สอน 1.1.5 การปรับปรุงหลักสตู รตามรอบระยะเวลาท่ีกำหนด - สรุปผลการประเมิน การดำเนินการตามองค์ประกอบท่ี 1 การกำกับมาตรฐาน ซ่ึงเป็นการดำเนินการตามเกณฑ์ มาตรฐานหลกั สูตร ระดับปริญญาตรี พ.ศ. 2558 ดำเนินการได้ตามเกณฑ์ 4 ขอ้ เกณฑ์ขอ้ ทไี่ มส่ ามารถ ดำเนินการได้ตามเกณฑ์มาตรฐาน คือ เกณฑ์ข้อ 1.1.5 เน่ืองจากยังไม่ถึงเกณฑ์ตามรอบระยะเวลา ทกี่ ำหนดสำหรบั การต้องปรบั ปรุงหลกั สูตร สรุปผลการประเมินตนเององค์ประกอบท่ี 1 การกำกับมาตรฐาน ผ่าน ตามเกณฑ์มาตรฐาน หลักสูตรท่ีสำนกั งานคณะกรรมการการอุดมศึกษากำหนด
6 องคป์ ระกอบท่ี 2 บณั ฑิต เกณฑก์ ารประเมนิ ผลการดำเนนิ การ ร้อยละ คะแนน 2.1 คุณภาพบณั ฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวฒุ ิระดับอดุ มศกึ ษาแหง่ ชาติ 2.2 ร้อยละของนักศกึ ษาทสี่ อบมาตรฐานวชิ าชีพผา่ นในครง้ั แรก -- 2.3 ร้อยละของนกั ศึกษาท่ีสอบผา่ นสมิทธภิ าพทางภาษาอังกฤษ ระดับ B2 100 5 25 3 หรือเทียบเท่า 2.4 รอ้ ยละของนักศึกษาทส่ี อบผา่ นมาตรฐานด้านเทคโนโลยีดจิ ิทัล 100 5 2.5 รอ้ ยละของบัณฑิตปรญิ ญาตรีท่ไี ดง้ านทำหรอื ประกอบอาชพี อสิ ระ -- ภายใน 1 ปี 4.33 สรปุ ผลการประเมิน ตัวบ่งช้ีที่ 2.1 คุณภาพบัณฑิตตามกรอบมาตรฐาน คุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ แสดงผล การดำเนินงานครอบคลุมประเด็นต่อไปน้ี 1) ประเมินโดยผู้ใช้บัณฑิตตามมาตรฐานคุณวุฒิ ระดับอดุ มศึกษาแห่งชาติ (TQF) สรุปผลการประเมินตนเองตัวบ่งชี้ที่ 2.1 คุณภาพบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ ระดับอดุ มศึกษาแหง่ ชาติ ไม่มคี ่า เนอื่ งจากบณั ฑิต รุ่นท่ี 1 สำเร็จการศึกษา ปีการศกึ ษา 2563 ตัวบ่งชี้ท่ี 2.2 ร้อยละของนักศึกษาที่สอบมาตรฐานวิชาชีพผ่านในครั้งแรก แสดงผล การดำเนนิ งานครอบคลุมประเด็นตอ่ ไปนี้ 1) สอบผา่ นมาตรฐานวิชาชีพตามเกณฑ์ท่ีกำหนด สรุปผลการประเมินตนเองตัวบ่งชี้ที่ 2.2 ร้อยละของนักศึกษาที่สอบมาตรฐานวิชาชีพ ผา่ นในคร้ังแรก มคี ่าร้อยละ 100 ระดับคะแนน 5 คะแนน ตัวบ่งชี้ท่ี 2.3 ร้อยละของนักศึกษาท่ีสอบผ่าน สมิทธิภาพทางภาษาอังกฤษ ระดับ B2 หรือ เทียบเท่า แสดงผลการดำเนินงานครอบคลุมประเด็นต่อไปนี้ 1) สอบผ่านการวัดสมิทธิภาพ ทางภาษาอังกฤษ ระดับ B2 หรือเทียบเท่า สรุปผลการประเมินตนเองตัวบ่งช้ีที่ 2.3 ร้อยละของนักศึกษาท่ีสอบผ่านสมิทธิภาพ ทางภาษาอังกฤษ ระดับ B2หรือเทียบเท่า มีค่ารอ้ ยละ 25 ระดบั คะแนน 3 คะแนน ตัวบ่งชี้ที่ 2.4 ร้อยละของนักศึกษาที่สอบผ่านมาตรฐานด้านเทคโนโลยีดิจิทัล แสดงผล การดำเนินงานครอบคลุมประเดน็ ตอ่ ไปน้ี 1) สอบผา่ นการวัดมาตรฐานด้านเทคโนโลยดี ิจิทัล สรุปผลการประเมินตนเองตัวบ่งชี้ที่ 2.4 ร้อยละของนักศึกษาท่ีสอบผ่านมาตรฐาน ด้านเทคโนโลยดี ิจทิ ัล มคี า่ ร้อยละ 100 ระดับคะแนน 5 คะแนน
7 ตัวบ่งชี้ที่ 2.5 ร้อยละของบัณฑิตปริญญาตรีที่ได้งานทำหรือประกอบอาชีพอิสระภายใน 1 ปี แสดงผลการดำเนินงานครอบคลุมประเด็นต่อไปน้ี 1) เก็บข้อมูลจากบัณฑิตไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 ของบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษา ท่ีได้งานทำ ประกอบอาชีพส่วนตัว และผู้ท่ีเปลี่ยนงานใหม่หรือได้รับ การเล่อื นตำแหน่ง ภายใน 1 ปี สรุปผลการประเมินตนเองตัวบ่งชี้ท่ี 2.5 ร้อยละของบัณฑิตปริญญาตรีท่ีได้งานทำหรือ ประกอบอาชพี อสิ ระภายใน 1 ปี ไม่มีค่า เนื่องจากบณั ฑิต ร่นุ ท่ี 1 สำเรจ็ การศึกษา ปกี ารศึกษา 2563 องคป์ ระกอบที่ 3 นกั ศกึ ษา เกณฑก์ ารประเมนิ ผลการดำเนนิ การ คะแนน (0-5) 3.1 การรบั นักศกึ ษา 5 3.2 การสง่ เสริมและพฒั นานักศกึ ษา 4 3.3 ผลทเ่ี กิดกบั นกั ศกึ ษา 4 4.33 สรุปผลการประเมนิ ตัวบ่งช้ีท่ี 3.1 การรับนักศึกษา แสดงผลการดำเนินงานครอบคลุมประเด็นต่อไปน้ี 1) การรับ นักศกึ ษา สดั สว่ นการรบั และกระบวนการรบั 2) การเตรียมความพร้อมก่อนเข้าศกึ ษา สรุปผลการประเมินตนเอง ตัวบง่ ชี้ที่ 3.1 การรับนักศึกษา มีการดำเนินการได้แก่ 1) มีระบบ กลไก 2) มีการนำระบบ กลไกไปสู่การปฏิบัต/ิ ดำเนินงาน 3) มีการปรับปรงุ /พัฒนากระบวนการ 4) มีผลจากการ ปรับปรุงชัดเจน 5) มแี นวทางปฏิบัติเชงิ ประจกั ษ์ จงึ มีผลการประเมินอยใู่ นระดบั คะแนน 5 คะแนน ตัวบ่งช้ีที่ 3.2 การส่งเสริมและพัฒนานักศึกษา แสดงผลการดำเนินงานครอบคลุมประเด็น ต่อไปน้ี 1) การควบคุมการดูแลการให้คำปรึกษาวิชาการ และ แนะแนวแก่นักศึกษาปริญญาตรี 2) การพัฒนาศักยภาพนักศึกษาและการเสริมสร้างทักษะการเรยี นร้ใู นศตวรรษที่ 21 3) การควบคมุ ดแู ล ในการจดั ทำโครงงานพัฒนาสมรรถนะวชิ าชีพ (สัดส่วนในการควบคมุ อาจารยต์ ่อนักศกึ ษาไม่ควรเกิน 1 : 15) สรุปผลการประเมินตนเอง ตัวบ่งช้ีท่ี 3.2 การส่งเสริมและพัฒนานักศึกษา มีการดำเนินการ ไดแ้ ก่ 1) มรี ะบบ กลไก 2) มีการนำระบบ กลไกไปสกู่ ารปฏบิ ัติ/ดำเนนิ งาน 3) มีการปรบั ปรงุ พฒั นา กระบวนการ 4) มีผลจากการปรบั ปรุง จึงมีผลการประเมนิ อยู่ในระดับคะแนน 4 คะแนน ตัวบ่งชีท้ ี่ 3.3 ผลทเ่ี กิดกับนกั ศกึ ษา แสดงผลการดำเนนิ งานครอบคลุมประเดน็ ต่อไปนี้ 1) การคงอยู่ (ยกเว้นเสียชีวิตและย้ายท่ที ำงาน 2) การสำเร็จการศกึ ษา *ใช้ข้อมูล 3 รนุ่ ต่อเน่อื ง 3) ความพงึ พอใจ และผลการจดั การข้อร้องเรียนของนักศึกษา
8 สรุปผลการประเมินตนเอง ตัวบ่งชี้ที่ 3.3 ผลที่เกิดกับนักศึกษา มีการดำเนินการ ได้แก่ 1) มีรายงานผลการดำเนินการครบ 2) มีแนวโน้มผลการดำเนินงานท่ีดีขึ้น จึงมีผลการประเมนิ อยู่ใน ระดบั คะแนน 4 คะแนน องค์ประกอบที่ 4 อาจารย์ เกณฑก์ ารประเมนิ ผลการดำเนนิ การ ร้อยละ คะแนน 4.1 การบรหิ ารและพัฒนาอาจารย์ (ไมม่ ี) 4 4.2 คณุ ภาพอาจารย์ 0 4.2.1 มคี ่ารอ้ ยละของอาจารย์ผู้รบั ผิดชอบหลกั สตู รที่มีประสบการณ์ 0 ดา้ นปฏบิ ัตกิ ารในสถานประกอบการ (ไม่มี) 4 2.67 4.2.2 รอ้ ยละผลงานทางวิชาการของอาจารย์ผูร้ บั ผิดชอบหลักสตู ร 4.3 ผลทเ่ี กิดกับอาจารย์ สรปุ ผลการประเมนิ ตัวบ่งช้ีที่ 4.1 การบริหารและพัฒนาอาจารย์ เป็นการรายงานการดำเนินงาน อธิบาย กระบวนการหรือแสดงผลการดำเนินงานอย่างนอ้ ยใหค้ รอบคลุมประเด็นตอ่ ไปน้ี 1) ระบบการรบั และ แตง่ ตั้งอาจารย์ประจำหลักสตู ร 2) ระบบการบรหิ ารอาจารย์ 3) ระบบการส่งเสริมและพฒั นาอาจารย์ สรุปผลการประเมินตนเอง ตวั บง่ ชท้ี ่ี 4.1 การบริหารและพัฒนาอาจารย์ มีการดำเนนิ การ ได้แก่ 1) มีระบบ กลไก 2) มีการนำระบบ กลไกไปสู่การปฏิบัติ/ดำเนินงาน 3) มีการปรับปรุง/ พัฒนากระบวนการ 4) มผี ลจากการปรบั ปรุงชดั เจน จงึ มผี ลการประเมินอยูใ่ นระดบั คะแนน 4 คะแนน ตัวบ่งช้ีที่ 4.2 คุณภาพอาจารย์ ครอบคลุมประเด็นต่อไปน้ี 1) ประสบการณ์ด้าน ปฏิบัติการในสถานประกอบการ ของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร 2) ผลงานทางวิชาการของ อาจารย์ผรู้ บั ผดิ ชอบหลักสตู ร สรุปผลการประเมนิ ตนเอง ตัวบ่งช้ีที่ 4.2 คุณภาพอาจารย์ มผี ลการประเมินตามประเด็น ในการพจิ ารณาตัวบ่งช้ีนี้ 4.2.1 ค่าร้อยละของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรที่มีประสบการณ์ด้านปฏิบัติการ ในสถานประกอบการ ร้อยละ 0 ผลการประเมินอยู่ในระดบั คะแนน 0 คะแนน 4.2.2 ค่าร้อยละผลงานทางวิชาการของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร ร้อยละ 0 ผลการประเมินอยใู่ นระดับคะแนน 0 คะแนน
9 ตัวบ่งช้ีที่ 4.3 ผลที่เกิดกับอาจารย์ ครอบคลุมประเด็นต่อไปนี้ 1) การคงอยู่ของอาจารย์ 2) ความพงึ พอใจและความไม่พงึ พอใจของอาจารย์ สรุปผลการประเมินตนเอง ตัวบ่งชี้ที่ 4.3 ผลที่เกิดกับอาจารย์ มีการดำเนินการ ได้แก่ 1) มีการรายงานผลการดำเนินการครบทุกเรื่องตามคำอธิบายในตัวบ่งช้ี 2) มีแนวโน้มผลการ ดำเนนิ งานทด่ี ขี ึ้นในทุกเรือ่ ง จงึ มีผลการประเมินอยู่ในระดบั คะแนน 4 คะแนน องคป์ ระกอบที่ 5 หลกั สูตร การเรยี นการสอน การประเมนิ ผู้เรยี น เกณฑก์ ารประเมนิ ผลการดำเนนิ การ ร้อยละ คะแนน 5.1 สาระของรายวชิ าในหลกั สูตร (ไมม่ )ี 4 5.2 การวางระบบผู้สอนและกระบวนการจัดการเรียนการสอน (ไมม่ )ี 5 5.3 การประเมินผูเ้ รียน (ไมม่ ี) 5 5.4 ผลการดำเนินงานหลักสูตรตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒริ ะดับอดุ มศึกษา แห่งชาติ -4 สรุปผลการประเมนิ - 4.50 ตัวบ่งชี้ที่ 5.1 สาระของรายวิชาในหลักสูตร ครอบคลมุ ประเดน็ ต่อไปนี้ 1) การออกแบบ หลักสูตรและสาระรายวิชาในหลักสูตร 2) การปรับปรุงหลักสูตรให้ทันสมัยตามความก้าวหน้า ในศาสตร์สาขานน้ั ๆ สรุปผลการประเมินตนเอง ตัวบ่งชี้ที่ 5.1 ผลที่เกิดกับอาจารย์ มีการดำเนินการ ได้แก่ 1) มีระบบ กลไก 2) มีการนำระบบ กลไกไปสู่การปฏิบัติ/ดำเนินงาน 3) มีการปรับปรุง/พัฒนา กระบวนการ 4) มีผลจากการปรับปรุงชดั เจน จงึ มีผลการประเมนิ อยู่ในระดับคะแนน 4 คะแนน ตัวบ่งชี้ที่ 5.2 การวางระบบผู้สอน และกระบวนการจัดการเรียนการสอน ครอบคลุม ประเดน็ ต่อไปนี้ 1) การกำหนดผู้สอน 2) การกำกับ ติดตาม และตรวจสอบการจัดทำแผนการเรียนรู้ แผนการฝึก และการจัดการเรียนการสอนทั้งในสถานศึกษา และสถานประกอบการ 3) การจัด การเรียนการสอนในระดับปริญญาตรีที่สายเทคโนโลยีหรือสายปฏิบัติการต้องดำเนินการ 5 ประเด็น 4) การควบคุมหัวข้อโครงงานพัฒนาสมรรถนะวิชาชีพและการแต่งตั้งอาจารย์ท่ีปรึกษาให้สอดคล้อง กบั โครงงานของผู้เรยี น สรุปผลการประเมินตนเอง ตัวบ่งชี้ที่ 5.2 การวางระบบผู้สอน และกระบวนการจัด การเรียนการสอน มกี ารดำเนินการ ได้แก่ 1) มีระบบ กลไก 2) มีการนำระบบ กลไกไปสู่การปฏิบตั ิ/
10 ดำเนินงาน 3) มีการปรับปรุง/พัฒนากระบวนการ 4) มีผลจากการปรับปรุงชัดเจน 5) มีแนวทาง ปฏิบตั ิทดี่ ี มีหลกั ฐานเชิงประจักษ์ จงึ มีผลการประเมินอยูใ่ นระดับคะแนน 5 คะแนน ตัวบ่งชี้ที่ 5.3 การประเมินผู้เรียน ครอบคลุมประเด็นต่อไปนี้ 1) การประเมินผล การเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ ระดับอุดมศึกษาแห่งชาติและทักษะปฏิบัติงาน การประเมิน มาตรฐานวิชาชีพ และการประเมินสมิทธิภาพทางภาษาอังกฤษ 2) การตรวจสอบการประเมินผล การเรยี นร้ขู องนักศกึ ษา 3) การกำกบั การประเมินการจดั การเรยี นการสอนและประเมนิ หลักสตู ร สรุปผลการประเมินตนเอง ตัวบ่งชี้ที่ 5.3 การประเมินผู้เรียน มีการดำเนินการ ได้แก่ 1) มีระบบ กลไก 2) มีการนำระบบ กลไกไปสู่การปฏิบัติ/ดำเนินงาน 3) มีการปรับปรุง/พัฒนา กระบวนการ 4) มีผลจากการปรับปรุงชัดเจน 5) มีแนวทางปฏิบัติที่ดี มีหลักฐานเชิงประจักษ์ จึงมี ผลการประเมินอย่ใู นระดบั คะแนน 5 คะแนน ตัวบ่งชี้ท่ี 5.4 ผลการดำเนินงานหลักสูตรตามกรอบ มาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา แห่งชาติ ครอบคลุมประเด็นต่อไปน้ี 1) ผลการดำเนินงานตามตัวบ่งช้ีการดำเนินงานตามกรอบ มาตรฐานคุณวฒุ ิระดับอุดมศกึ ษาท่ีปรากฏในเอกสาร หลักสูตรฉบบั ท่ีจัดการเรียนการสอนในขณะน้ัน (คอศ.1) หมวดที่ 7 สรุปผลการประเมนิ ตนเอง ตวั ช้ีวดั ที่ 5.4 ผลการดำเนินงานหลักสูตรตามกรอบ มาตรฐาน คุณวุฒริ ะดับอดุ มศึกษาแห่งชาติ มีการดำเนนิ การ ได้แก่ ร้อยละ 81.82 ของตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงาน ท่ีระบไุ ว้ในแตล่ ะปี มคี า่ คะแนนเท่ากับ 4 คะแนน องคป์ ระกอบท่ี 6 สง่ิ สนบั สนนุ การเรียนรู้ ผลการดำเนนิ การ คะแนน (0-5) เกณฑ์การประเมนิ 6.1 สง่ิ สนบั สนนุ การเรยี นรู้ 3 ตัวบ่งชี้ท่ี 6.1 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ ครอบคลมุ ประเดน็ ต่อไปนี้ 1) ระบบการดำเนินงาน ของหลักสูตรกับสถานประกอบการโดย มีส่วนร่วมของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรเพ่ือให้มี สง่ิ สนับสนนุ การเรียนรู้ 2) จำนวนส่ิงสนับสนุนการเรยี นรู้ท่เี พียงพอ และเหมาะสมต่อการจัดการเรียน การสอน 3) สถานประกอบการ 4)กระบวนการปรับปรุงตามผลการประเมินความพึงพอใจของ นักศกึ ษาและอาจารยต์ อ่ ส่ิงสนบั สนนุ การเรยี นรู้ สรุปผลการประเมินตนเอง ตัวบ่งชี้ที่ 6.1 การประเมินผู้เรียน มีการดำเนินการ ได้แก่ 1) มีระบบ กลไก 2) มีการนำระบบ กลไกไปสู่การปฏิบัติ/ดำเนินงาน 3) มีการปรับปรุง/พัฒนา กระบวนการ จึงมีผลการประเมินอยู่ในระดับคะแนน 3 คะแนน
11 ส่วนท่ี 1 ขอ้ มลู พน้ื ฐานของหลกั สตู ร 1. ช่อื หลกั สตู ร (ภาษาไทย) หลกั สูตรเทคโนโลยีบัณฑติ สาขาวชิ าคอมพวิ เตอร์ธรุ กิจ (ตอ่ เน่ือง) (ภาษาองั กฤษ) Bachelor of Technology Program in Business Computer (Continuing Program) 2. สถานภาพของหลักสตู รและการพจิ ารณาอนมุ ัติ/เห็นชอบหลักสตู ร () หลักสูตรใหม่ พ.ศ. 2562 กำหนดเปดิ สอน ภาคการศกึ ษาที่ 1 พ.ศ. 2562 ได้รบั อนุมัติ/เห็นชอบหลักสูตรจากสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ในการประชุม ครั้งท่ี 3/2562 เมอ่ื วันที่ 29 เดอื น เมษายน พ.ศ. 2562 ( ) หลกั สตู รปรบั ปรุง หนดเปดิ สอน ภาคการศกึ ษาท่ี ......-........พ.ศ. ....-........ ได้รับอนุมัติ/เห็นชอบหลักสูตรจากสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ในการประชุม ครง้ั ที่ ....-....... เม่ือวันที่.......-.........เดือน.......-.............พ.ศ. .......-.......... 3. รูปแบบแผนการศกึ ษาของหลักสูตรระดบั ปรญิ ญาตรี (ตอ่ เนอ่ื ง) () ระดับปริญญาตรี ( ) ทางวิชาการ ( ) ทางวิชาชพี หรอื ปฏบิ ตั กิ าร 4. รายชอ่ื อาจารย์ผรู้ บั ผดิ ชอบหลกั สตู รปัจจบุ ัน 4.1 นางสาวชูศรี 4.2 นางพัทธนนั ท์ ภแู กว้ เกลยี วสกลุ โกวทิ 4.3 นางจนั ทนา ลยั วรรณา 4.4 นางพรี ญา ดนุ ขนุ ทด 4.5 นางนิตยา เสาหงษ์
12 5. ขอ้ มลู โดยสรุปเกยี่ วกบั วทิ ยาลยั และสาขาวชิ า 5.1 ข้อมูลโดยสรุปเก่ียวกับวิทยาลยั วิทยาลัยอาชีวศึกษาชลบุรี สังกัดสถาบันการอาชีวศึกษาภาคตะวันออก สำนักงาน คณะกรรมการการอาชีวศึกษา ต้ังอยู่เลขที่ 388 หมู่ 5 ถนนสุขุมวิท ตำบลบ้านสวน อำเภอเมือง จังหวัดชลบุรี รหัสไปรษณี ย์ 20000 โทรศัพ ท์ 033-004458 โทรสาร 038-286110 E-mail : [email protected] Website : www.chcvc.ac.th บนเน้ือที่ 9 ไร่ 2 งาน 28 ตารางวา ได้รับอนุญาตให้ใช้ท่ีดินสาธารณประโยชน์จากเทศบาลบ้านสวน เน้ือท่ี 28 ตารางวา จึงขยายรั้ว ดา้ นขา้ งทางทิศเหนอื ออก เน่อื งจากพนื้ ท่ที ้งั หมดอยูใ่ นกลางชุมชน จงึ ไม่สามารถจะขยายพืน้ ที่ได้ ทศิ เหนือ จรด วัดป่าอรัญญิกาวาส ทิศใต้ จรด ตลาดบ้านสวน ทิศตะวันออก จรด โรงเรยี นเกษมวทิ ย์ ทิศตะวนั ตก จรด ถนนสุขมุ วทิ วิทยาลัยอาชีวศึกษาชลบุรี จัดตั้งขึ้นเม่ือวันท่ี 26 กรกฎาคม พ.ศ. 2480 ช่ือโรงเรียนประถม อุตสาหกรรม โดยมี นายอร่าม นาคปฐม เป็นครูใหญ่ การจัดการเรียนการสอน ได้ดำเนินการและ พัฒนาข้นึ มาเปน็ ลำดับดังนี้ พ.ศ. 2483 เปล่ียนชอื่ เป็น โรงเรียนช่างทอผ้าและเยบ็ ผา้ พ.ศ. 2491 เปลย่ี นชอื่ เปน็ โรงเรียนการช่างสตรชี ลบรุ ี พ.ศ. 2516 เปลี่ยนชื่อเปน็ โรงเรียนอาชีวศึกษาชลบรุ ี พ.ศ. 2519 รวมกบั โรงเรียนเทคนคิ ชลบุรี เป็นวิทยาลัยอาชีวศึกษาชลบรุ ี วิทยาเขต 2 พ.ศ. 2522 วทิ ยาลัยอาชีวศกึ ษาชลบุรแี ยกออกจากวทิ ยาลยั เทคนคิ ชลบุรี พ.ศ. 2545 เปลี่ยนชือ่ เป็น สถาบนั การอาชวี ศึกษาภาคตะวนั ออก 2 ปจั จุบัน เปน็ วิทยาลัยอาชวี ศึกษาชลบุรี 5.2 หลกั สูตรและการจดั การศึกษา ปกี ารศกึ ษา 2563 วทิ ยาลัยอาชวี ศึกษาชลบรุ ี จัดการศึกษาหลักสูตรประกาศนยี บตั ร วิชาชีพ (ปวช.) หลักสตู รประกาศนยี บัตรวิชาชพี ช้นั สูง (ปวส.) จำนวน 4 ประเภทวชิ า และหลักสูตร เทคโนโลยบี ัณฑติ (ทล.บ.) จำนวน 2 สาขาวิชา ดังนี้ 5.2.1 หลกั สตู รประกาศนียบตั รวชิ าชพี (ปวช.) เปดิ สอน 4 ประเภทวชิ า ดงั น้ี 5.2.1.1 ประเภทวิชาคหกรรม 5.2.1.2 ประเภทวิชาศิลปกรรม 5.2.1.3 ประเภทวิชาพาณิชยกรรม 5.2.1.4 ประเภทวิชาอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว
13 5.2.2 หลกั สตู รประกาศนียบตั รวิชาชพี ชั้นสงู (ปวส.) จำนวน 4 ประเภทวิชา ดังน้ี 5.2.2.1 ประเภทวิชาคหกรรม 5.2.2.2 ประเภทวชิ าศิลปกรรม 5.2.2.3 ประเภทวชิ าบริหารธุรกิจ 5.2.2.4 ประเภทวชิ าอุตสาหกรรมการทอ่ งเทย่ี ว 5.2.3 หลกั สูตรเทคโนโลยีบัณฑิต (ทล.บ.) จำนวน 2 สาขาวิชา ดงั นี้ 5.2.3.1 สาขาวชิ าการบัญชี (ตอ่ เน่อื ง) 5.2.3.2 สาขาวชิ าคอมพวิ เตอร์ธรุ กิจ (ต่อเนื่อง) 5.3 คณะผบู้ ริหารวิทยาลยั ในปัจจุบนั
14 6. ขอ้ มลู เกยี่ วกบั หลกั สูตร 6.1 ปรัชญา ส่งเสริมด้านทักษะในการปฏิบัติและพัฒนางานเทคโนโลยีสารสนเทศทางธุรกิจ มีระบบ การคิดที่สามารถจัดการ ควบคุมการทำงาน โดยใช้คุณธรรม จริยธรรม มีจรรยาบรรณวิชาชีพ เหมาะสมและสอดคล้องกับความต้องการของท้องถิ่น ชุมชน สถานประกอบการ สังคมและ ประเทศชาติ สามารถประกอบอาชพี อิสระได้ มกี ารพฒั นาตนเองอยู่เสมอ ทง้ั ด้านวิชาการและวชิ าชีพ 6.2 ความสำคญั การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีสารสนเทศกับองค์ความรู้ด้านธุรกิจ ก่อให้เกิดข้อมูล สารสนเทศท่ีมีมูลค่าและมีความสำคัญในการแข่งขันกันทางธุรกิจของสังคมยุคดิจิทัล ผู้มีอำนาจ ครอบครองข้อมูลสารสนเทศมากที่สุด ย่อมได้เปรียบในการทำธุรกิจและธุรกรรมทางธุรกิจ นำหน้า ผู้แข่งขันในด้านเทคโนโลยีสารสนเทศทางธุรกิจ อีกทั้งยังเป็นกลไกสำคัญในการพัฒนานวัตกรรมใหม่ ๆ สรา้ งมลู คา่ ของนวัตกรรมทางธรุ กจิ ที่มีมูลค่ามหาศาล ช่วยในการพัฒนาประเทศใหก้ ้าวหน้า พรอ้ ม ทั้งโอกาสในการแข่งขันและรองรับการเปล่ียนแปลงของเศรษฐกิจโลก ภายใต้แผนยุทธศาสตร์ไทย แลนด์ 4.0 โครงการพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก (Eastern Economic Corridor : EEC) รองรับความต้องการบุคลากรด้านคอมพิวเตอร์ธุรกจิ ที่มีคุณภาพสามารถประยุกต์ใช้เทคโนโลยี สารสนเทศและกระบวนการทางธุรกิจ เพ่ือให้เกิดข้อมูลสารสนเทศท่ีมีประโยชน์ มีมูลค่าในการ ประกอบอาชีพทางธุรกิจในยุคสังคมดิจิทัล การมีข้อมูลสารสนเทศที่สมบูรณ์ ทันสมัย ถูกต้องและ ทันเหตุการณ์ต่อการวางแผน การตัดสินใจในการดำเนินธุรกิจและประกอบอาชีพ ย่อมเป็น องค์ประกอบที่สำคัญในการพัฒนาองค์กรและประเทศชาติ ให้ก้าวนำประเทศต่าง ๆ อย่างมั่นคง ยังยืน โดยทั้งหมดอยู่บนพื้นฐานการพัฒนาตามแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ซ่ึงเป็นแนวทาง ปฏิบัติท่ีเป็นที่ยอมรับทั่วโลก จากบทบาทสำคัญดังกล่าว หลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑิต สาขาวิชา คอมพวิ เตอรธ์ ุรกิจ (ตอ่ เน่อื ง) จึงได้พฒั นาหลักสูตรขึน้ ตรงกบั สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจในระดับชั้น ประกาศนียบัตรวิชาชีพช้ันสูง เพ่ือพัฒนาบัณฑิตที่มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ ตามความต้องการ บุคลากรท่ีมีคุณภาพ สามารถประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและกระบวนการทางธรุ กิจ ซึ่งมีความ สอดคล้องกับความตอ้ งการของตลาดแรงงานด้านนใ้ี นอนาคตต่อไป 6.3 วัตถปุ ระสงค์ 6.3.1 เพ่ือผลิตบุคลากรให้มีสมรรถนะด้านคอมพิวเตอร์ธรุ กิจที่สามารถนำความรู้ไปบูรณาการ ประยกุ ต์ใช้ จัดการ การแก้ไขปญั หาและพัฒนางานทางเทคโนโลยีสารสนเทศทางธุรกิจ การค้นควา้ วจิ ัย สรา้ งนวตั กรรมท่ีเปน็ ประโยชนต์ อ่ งานอาชพี ในอุตสาหกรรมและภาคบริการ 6.3.2 เพ่ือตอบสนองความต้องการของสถานประกอบการให้ได้บัณฑิตที่พึงประสงค์ โดยมี ความร่วมมือในการจดั การศึกษาระบบทวิภาคี
15 6.3.3 เพ่ือขยายโอกาสด้านการศึกษาให้กับบุคลากรในท้องถิ่น ชุมชน สถานประกอบการ ตามความต้องการของตลาดแรงงาน 6.3.4 เพื่อเพิ่มคุณวุฒิ ส่งเสริม สนับสนุน ยกระดับคุณภาพชีวิตและการประกอบอาชีพ ของบคุ ลากร ให้มปี ระสบการณ์ในระดับทส่ี ูงขนึ้ 7. จำนวนนกั ศกึ ษา ปีการศึกษา 2562 2563 2564 2565 2566 จำนวนนักศึกษา 15 16 28 ชน้ั ปที ่ี 1 (คน) - 12 15 ชัน้ ปที ี่ 2 (คน) รวมทงั้ หมด 15 28 43 8. จำนวนผู้สำเรจ็ การศึกษา ปีการศึกษา จำนวนนักศึกษา 2562 2563 2564 2565 2566 ผสู้ ำเร็จการศกึ ษา (คน) - 10 9. แผนการรับนักศึกษาและผูส้ ำเร็จการศกึ ษาในระยะ 5 ปี จำนวนนักศึกษาทจ่ี ะรบั เขา้ ศึกษาในหลักสตู รและจำนวนผู้สำเร็จการศึกษา ทีค่ าดว่า จะจบในแต่ละปีการศึกษา เป็นระยะเวลา 5 ปีการศึกษา โดยเริ่มต้นตั้งแต่ปีการศึกษาท่ีเปิดสอน หลักสตู ร ดงั น้ี จำนวนนักศึกษา ปีการศึกษา ชนั้ ปีท่ี 1 2562 2563 2564 2565 2566 20 20 20 20 20 ชัน้ ปที ่ี 2 - 20 20 20 20 รวมทงั้ หมด 20 40 40 40 40 คาดว่าจะสำเรจ็ การศึกษา - 20 20 20 20
16 ส่วนท่ี 2 การบริหารจดั การหลักสูตรตามเกณฑก์ ารประกนั คุณภาพการศกึ ษาภายใน ระดับปรญิ ญาตรีสายเทคโนโลยหี รอื สายปฏบิ ตั ิการ ระดบั หลกั สตู ร คณะกรรมการประจำหลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑิต สาชาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ (ต่อเนื่อง) ได้บริหารจัดการหลักสูตรตามมเกณฑ์การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับปริญญาตรี สายเทคโนโลยีหรือสายปฏิบัติการ พ.ศ. 2563 ในระดับหลักสูตร มีท้ังหมด 6 องค์ประกอบ ได้แก่ องค์ประกอบที่ 1 การกำกับมาตรฐาน องค์ประกอบที่ 2 บัณฑิต องค์ประกอบท่ี 3 นักศึกษา องค์ประกอบที่ 4 อาจารย์ องค์ประกอบที่ 5 หลักสูตร การเรียนการสอน การประเมินผู้เรียน และ องค์ประกอบที่ 6 สง่ิ สนับสนุนการเรยี นรู้ ดังน้ี องคป์ ระกอบที่ 1 การกำกบั มาตรฐาน เกณฑ์การประเมนิ ผลการดำเนนิ การ ผา่ น ไม่ผา่ น 1.1 การบริหารจดั การหลักสตู รตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรอื่ งเกณฑม์ าตรฐานหลักสตู ร ระดับปรญิ ญาตรี พ.ศ.2558 1.1.1 จำนวนอาจารยผ์ ้รู บั ผิดชอบหลักสูตร 1.1.2 คณุ สมบตั ิอาจารยผ์ รู้ ับผดิ ชอบหลักสูตร 1.1.3 คุณสมบตั อิ าจารยป์ ระจำหลกั สูตร 1.1.4 คุณสมบตั อิ าจารย์ผู้สอน 1.1.5 การปรับปรุงหลกั สูตรตามรอบระยะเวลาที่กำหนด - สรปุ ผลการประเมิน ผา่ น การดำเนินการตามองค์ประกอบท่ี 1 การกำกับมาตรฐาน ซึ่งเป็นการดำเนินการตามเกณฑ์ มาตรฐานหลักสูตร ระดับปริญญาตรี พ.ศ.2558 ดำเนินการได้ตามเกณฑ์การประเมินจำนวน 4 ข้อ ดงั น้ี ขอ้ รายการเอกสารหลกั ฐาน 1.1.1), 1.1.2) จำนวน และประวัติอาจารย์ผู้รบั ผิดชอบหลักสูตร 1.1.3), 1.1.4) คำสั่งแต่งตัง้ อาจารย์ผู้สอน และคำสงั่ แต่งตั้งอาจารย์พเิ ศษ สรปุ วาระการประชุมพจิ ารณาคณุ สมบตั ิอาจารย์พิเศษ
17 องคป์ ระกอบที่ 2 บณั ฑติ เกณฑก์ ารประเมิน ผลการดำเนินการ ร้อยละ คะแนน 2.1 คณุ ภาพบณั ฑติ ตามกรอบมาตรฐานคณุ วฒุ ริ ะดบั อดุ มศกึ ษาแห่งชาติ 2.2 ร้อยละของนกั ศึกษาท่ีสอบมาตรฐานวิชาชพี ผา่ นในครั้งแรก -- 2.3 รอ้ ยละของนักศกึ ษาท่สี อบผ่านสมิทธภิ าพทางภาษาอังกฤษ ระดับ B2 100 5 หรือเทยี บเท่า 25 3 2.4 ร้อยละของนักศกึ ษาทส่ี อบผา่ นมาตรฐานด้านเทคโนโลยดี ิจิทัล 2.5 รอ้ ยละของบัณฑิตปริญญาตรีทไ่ี ดง้ านทำหรือประกอบอาชีพอสิ ระ 100 5 ภายใน 1 ปี -- สรุปผลการประเมนิ 4.33 การดำเนินการตามองค์ประกอบที่ 2 บัณฑติ ซึง่ เป็นผลลัพธก์ ารเรียนร้ทู บ่ี ณั ฑิตได้รบั การพฒั นา ว่ามีคุณภาพและมาตรฐาน คุณภาพของบัณฑิตในแต่ละหลักสูตรจะสะท้อนไปที่คุณภาพบัณฑิต ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ ระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ และกรอบคุณวุฒิอาชีวศึกษาแห่งชาติ โดยพิจารณาจากผลลัพธ์การเรียนรู้ การมีงานทำ มาตรฐานวิชาชีพ มาตรฐานภาษาอังกฤษ และ มาตรฐานเทคโนโลยีดจิ ิทัล ตัวบ่งชี้ที่ 2.1 คุณภาพบัณฑิตตามกรอบมาตรฐาน คุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ แสดงผล การดำเนนิ งานครอบคลุมประเดน็ ต่อไปน้ี 1) ประเมนิ โดยผ้ใู ชบ้ ณั ฑิตตามมาตรฐานคุณวุฒิระดับอดุ มศกึ ษาแหง่ ชาติ (TQF) ขอ้ รายการเอกสารหลักฐาน 1) - สรุปผลการประเมินตนเองตัวบ่งชี้ท่ี 2.1 คุณภาพบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ ระดับอดุ มศึกษาแห่งชาติ มีค่าร้อยละ ……-…. ระดบั คะแนน …-…….คะแนน ตัวบ่งชี้ที่ 2.2 ร้อยละของนักศึกษาที่สอบมาตรฐานวิชาชีพผ่านในครั้งแรก แสดงผล การดำเนินงานครอบคลมุ ประเดน็ ตอ่ ไปนี้ 1) สอบผ่านมาตรฐานวชิ าชพี ตามเกณฑ์ท่ีกำหนด ข้อ รายการเอกสารหลกั ฐาน 1) แบบรายงานสรปุ ผลการประเมนิ มาตรฐานวิชาชพี
18 สรุปผลการประเมินตนเองตัวบ่งช้ีที่ 2.2 ร้อยละของนักศึกษาที่สอบมาตรฐานวิชาชีพ ผา่ นในคร้ังแรก มีคา่ ร้อยละ 100 ระดับคะแนน 5 คะแนน ตัวบ่งช้ีที่ 2.3 ร้อยละของนักศึกษาท่ีสอบผ่าน สมิทธิภาพทางภาษาอังกฤษ ระดับ B2 หรือ เทียบเทา่ แสดงผลการดำเนินงานครอบคลุมประเด็นต่อไปนี้ 1) สอบผ่านการวัดสมทิ ธภิ าพทางภาษาองั กฤษ ระดบั B2 หรอื เทยี บเท่า ข้อ รายการเอกสารหลกั ฐาน 1) แบบรายงานสรุปผลการประเมินการวัดสมิทธิภาพทางภาษาอังกฤษ ระดับ B2 หรือ เทยี บเท่า สรุปผลการประเมินตนเองตัวบ่งช้ีที่ 2.3 ร้อยละของนักศึกษาท่ีสอบผ่านสมิทธิภาพ ทางภาษาอังกฤษ ระดับ B2 หรือเทียบเท่า (นักศึกษาจำนวน 12 คน สอบผ่านจำนวน 3 คน) มีค่า ร้อยละ 25 ระดบั คะแนน 3 คะแนน ตัวบ่งชี้ที่ 2.4 ร้อยละของนักศึกษาที่สอบผ่านมาตรฐานด้านเทคโนโลยีดิจิทัล แสดงผล การดำเนนิ งานครอบคลมุ ประเดน็ ตอ่ ไปนี้ 1) สอบผา่ นการวดั มาตรฐานด้านเทคโนโลยีดิจทิ ัล ข้อ รายการเอกสารหลกั ฐาน 1) แบบรายงานสรปุ ผลการประเมินดา้ นเทคโนโลยดี จิ ิทัล สรุปผลการประเมินตนเองตัวบ่งชี้ที่ 2.4 ร้อยละของนักศึกษาท่ีสอบผ่านมาตรฐานด้าน เทคโนโลยีดิจิทลั มีคา่ รอ้ ยละ 100 ระดับคะแนน 5 คะแนน ตัวบ่งชี้ที่ 2.5 ร้อยละของบัณฑิตปริญญาตรีท่ีได้งานทำหรือประกอบอาชีพอิสระภายใน 1 ปี แสดงผลการดำเนินงานครอบคลมุ ประเดน็ ตอ่ ไปนี้ 1) เก็บข้อมูลจากบัณฑิตไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 ของบัณฑิตท่ีสำเร็จการศึกษา ท่ีได้งานทำ ประกอบอาชีพสว่ นตัว และผู้ที่เปลยี่ นงานใหม่หรอื ไดร้ บั การเลอ่ื นตำแหนง่ ภายใน 1 ปี ข้อ รายการเอกสารหลักฐาน 1) - สรุปผลการประเมินตนเองตัวบ่งชี้ที่ 2.5 ร้อยละของบัณฑิตปริญญาตรีที่ได้งานทำหรือ ประกอบอาชพี อิสระภายใน 1 ปี มีค่าร้อยละ ……-..…. ระดับคะแนน ……-…. คะแนน
19 องค์ประกอบท่ี 3 นักศึกษา เกณฑก์ ารประเมนิ ผลการดำเนินการ คะแนน (0-5) 3.1 การรบั นกั ศึกษา 3.2 การสง่ เสรมิ และพฒั นานักศกึ ษา 5 3.3 ผลทเี่ กิดกับนกั ศึกษา 4 4 สรุปผลการประเมนิ 4.33 องค์ประกอบที่ 3 นักศึกษา นั้น ความสำเร็จของการจัดการศึกษาขึ้นอยู่กับปัจจัยสำคัญ ปัจจยั หนึ่ง คอื นักศึกษา ระบบประกัน คุณภาพการศึกษา ต้องให้ความสำคัญกับการรับหรอื คัดเลือก นักศึกษาเข้าศึกษาในหลักสูตร ซึ่งต้องเป็น ระบบที่สามารถคัดเลือกนักศึกษาที่มีคุณสมบัติและ ความพร้อมในการเรียนในหลักสูตรจนสำเร็จการศึกษา และการส่งเสริมพัฒนานักศึกษาให้มี ความพร้อมทางการเรียน และมีกิจกรรมการพัฒนาในรูปแบบต่าง ๆ เพ่ือให้นักศึกษามีความรู้ ความสามารถตามหลักสูตร มีทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษท่ี 21 และการประกันคุณภาพการศึกษา ระดับหลกั สูตรในองค์ประกอบดา้ นนักศึกษา เรมิ่ ดำเนินการตัง้ แต่ ระบบการรับนกั ศึกษา การส่งเสริม พฒั นานกั ศึกษา และผลลัพธท์ ่ีเกิดขึ้นกบั นักศึกษา ตวั บง่ ชีท้ ่ี 3.1 การรับนักศกึ ษา แสดงผลการดำเนินงานครอบคลมุ ประเด็นต่อไปนี้ 1) การรับนกั ศึกษา สดั สว่ นการรบั และกระบวนการรับ 2) การเตรียมความพรอ้ มก่อนเข้าศกึ ษา ข้อ รายการเอกสารหลักฐาน 1) ประกาศสถาบันการอาชวี ศึกษาภาคตะวันออก เร่ืองการรับสมัครนักศึกษาระดบั ปริญญาตรี 2) สำรวจความประสงค์การศึกษาต่อในระดับปริญญาตรีของนกั ศึกษาระดับ ปวส. ชั้นปที ี่ 2 3) ประกาศวทิ ยาลัยอาชีวศึกษาชลบุรี เรื่องการรับโควตาพเิ ศษ และรบั สมคั รปกติ 4) การประชาสมั พันธก์ ารรบั สมคั รนักศกึ ษาในชอ่ งทางทหี่ ลากหลาย 5) การสอบคดั เลอื ก สอบสมั ภาษณ์ การประกาศผลการสอบ การมอบตัว 6) การปฐมนิเทศนักศกึ ษาใหม่ และคูม่ ือนักศึกษา 7) จัดอบรมเสริมทักษะด้านคณิตศาสตร์ ด้านภาษาต่างประเทศและการประยุกต์ใช้ระบบ สารสนเทศสำหรับงานธุรกิจ สรุปผลการประเมินตนเอง ตัวบง่ ชี้ที่ 3.1 การรบั นักศึกษา มีการดำเนินการ ได้แก่ 1) มีระบบ กลไก 2) มีการนำระบบ กลไกไปสู่การปฏิบัติ/ดำเนินงาน 3) มีการปรับปรุง/พัฒนากระบวนการ 4) มีผล
20 จากการปรบั ปรุงชัดเจน 5) มแี นวทางปฏิบัติเชิงประจักษ์ จึงมีผลการประเมินอยู่ในระดับคะแนน 5 คะแนน ตัวบ่งชี้ที่ 3.2 การส่งเสริมและพัฒนานักศึกษา แสดงผลการดำเนินงานครอบคลุมประเด็น ต่อไปนี้ 1) การควบคมุ การดูแลการให้คำปรึกษาวชิ าการ และ แนะแนวแกน่ กั ศกึ ษาปริญญาตรี 2) การพฒั นาศักยภาพนักศึกษาและการเสริมสร้างทกั ษะการเรียนรใู้ นศตวรรษท่ี 21 3) การควบคุมดูแลในการจัดทำโครงงานพัฒนาสมรรถนะวิชาชีพ (สัดส่วนในการควบคุม อาจารยต์ อ่ นักศึกษาไม่ควร เกิน 1 : 15) ขอ้ รายการเอกสารหลกั ฐาน 1) คำสง่ั แต่งตงั้ อาจารยท์ ี่ปรกึ ษา 2) โครงการ อบรมเชิงปฏิบัตกิ าร การพัฒนาทกั ษะดา้ นโปรแกรมมิง่ 3) จัดสอบหัวขอ้ ความก้าวหน้า และสอบจบโครงงานพฒั นาสมรรถนะวชิ าชีพ สรุปผลการประเมินตนเอง ตัวบ่งช้ีท่ี 3.2 การส่งเสริมและพัฒนานักศึกษา มีการดำเนินการ ไดแ้ ก่ 1) มรี ะบบ กลไก 2) มีการนำระบบ กลไกไปสู่การปฏบิ ัติ/ดำเนนิ งาน 3) มกี ารปรับปรงุ พัฒนา กระบวนการ 4) มีผลจากการปรับปรุง จึงมีผลการประเมนิ อยู่ในระดับคะแนน 4 คะแนน ตัวบง่ ชี้ท่ี 3.3 ผลทเี่ กดิ กับนกั ศึกษา แสดงผลการดำเนนิ งานครอบคลมุ ประเดน็ ตอ่ ไปนี้ 1) การคงอยู่ (ยกเว้นเสียชีวติ และย้ายท่ที ำงาน 2) การสำเร็จการศึกษา *ใชข้ อ้ มูล 3 รนุ่ ต่อเนือ่ ง 3)ความพงึ พอใจ และผลการจัดการขอ้ ร้องเรียนของนกั ศกึ ษา ข้อ รายการเอกสารหลักฐาน 1) รายงานสรุปจำนวนนักศกึ ษา 2) รายงานสรปุ จำนวนผู้สำเร็จการศึกษา 3) สรปุ ผลประเมินความพงึ พอใจของนักศกึ ษาต่อผ้สู อนทุกรายวิชา และต่อหลักสตู ร สรุปผลการประเมินตนเอง ตัวบ่งชี้ที่ 3.3 ผลที่เกิดกับนักศึกษา มีการดำเนินการ ได้แก่ 1) มีรายงานผลการดำเนินการครบ 2) มีแนวโน้มผลการดำเนินงานท่ีดีขึน้ จึงมีผลการประเมนิ อยู่ใน ระดับคะแนน 4 คะแนน
21 องคป์ ระกอบท่ี 4 อาจารย์ เกณฑ์การประเมิน ผลการดำเนนิ การ รอ้ ยละ คะแนน 4.1 การบรหิ ารและพัฒนาอาจารย์ (ไม่มี) 4 4.2 คณุ ภาพอาจารย์ 00 4.2.1 มคี า่ รอ้ ยละของอาจารย์ผูร้ ับผิดชอบหลักสูตรทีม่ ีประสบการณ์ 00 ด้านปฏบิ ัติการในสถานประกอบการ (ไมม่ )ี 4 4.2.2 ร้อยละผลงานทางวชิ าการของอาจารย์ผู้รบั ผดิ ชอบหลักสูตร 2.67 4.3 ผลทเ่ี กดิ กับอาจารย์ สรปุ ผลการประเมนิ องค์ประกอบที่ 4 อาจารย์ เปน็ ปัจจัยป้อนท่ีสำคัญของการผลิตบัณฑิต สถาบันการอาชวี ศึกษา ต้องมีการออกแบบระบบการบริหารและพัฒนาอาจารย์ เพื่อให้ได้อาจารย์ท่ีมีคุณภาพเหมาะสม มีคุณสมบัติสอดคล้องกับสภาพบริบทปรัชญา วิสัยทัศน์ของสถาบันและของหลักสูตร องค์ประกอบ ด้านอาจารย์เรมิ่ ดำเนินการตงั้ แตก่ ารบริหารและพัฒนาอาจารย์ คุณภาพอาจารย์ และผลลัพธ์ท่เี กิดกับ อาจารยม์ ผี ลการประเมนิ ดังน้ี ตัวบ่งชี้ท่ี 4.1 การบริหารและพัฒนาอาจารย์ เป็นการรายงานการดำเนินงาน อธิบาย กระบวนการหรอื แสดงผลการดำเนินงานอย่าง นอ้ ยใหค้ รอบคลุมประเด็นต่อไปนี้ 1) ระบบการรับและแต่งต้ังอาจารยป์ ระจำหลักสูตร 2) ระบบการบรหิ ารอาจารย์ 3) ระบบการส่งเสริมและพัฒนาอาจารย์ ขอ้ รายการเอกสารหลกั ฐาน 1) คำสง่ั แตง่ ตง้ั อาจารยผ์ สู้ อน และอาจารยพ์ เิ ศษ 2) ตารางการจัดการเรียนการสอน 3) โครงการสง่ เสริมและพฒั นาอาจารย์ สรุปผลการประเมินตนเอง ตวั บง่ ชี้ท่ี 4.1 การบริหารและพัฒนาอาจารย์ มีการดำเนินการ ได้แก่ 1) มีระบบ กลไก 2) มีการนำระบบ กลไกไปสู่การปฏิบัติ/ดำเนินงาน 3) มีการปรับปรุง/ พัฒนากระบวนการ 4) มีผลจากการปรับปรุงชัดเจน จึงมีผลการประเมินอยู่ในระดับคะแนน 4 คะแนน
22 ตัวบ่งช้ีท่ี 4.2 คุณภาพอาจารย์ มีการส่งเสริมและพัฒนาอาจารย์ต้องทำให้อาจารย์ ผู้รับผิดชอบหลักสูตรมีคุณสมบัติที่หมาะสมและเพียงพอ โดยทำให้อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร มีความรู้ ความเช่ียวชาญทางสาขาวิชาท่ีเปิดสอน และมีประสบการณ์ด้านปฏิบัติการในสถานประกอบการ ทีเ่ หมาะสมกับการผลติ บณั ฑิตอันสะท้อนจาก วุฒิการศึกษา ตำแหน่งทางวิชาการ และความก้าวหน้า ในการผลติ ผลงานทางวชิ าการอยา่ งต่อเนื่อง ครอบคลมุ ประเด็นต่อไปนี้ 1) ประสบการณ์ด้านปฏิบัตกิ ารในสถานประกอบการ ของอาจารย์ผู้รบั ผดิ ชอบหลักสูตร 2) ผลงานทางวชิ าการของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสตู ร ขอ้ รายการเอกสารหลักฐาน 1) - สรุปผลการประเมนิ ตนเอง ตัวบ่งช้ีท่ี 4.2 คุณภาพอาจารย์ มีผลการประเมินตามประเด็น ในการพจิ ารณาตัวบง่ ชน้ี ี้ 4.2.1 ค่าร้อยละของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรที่มีประสบการณ์ด้านปฏิบัติการ ในสถานประกอบการ รอ้ ยละ 0 ผลการประเมินอยใู่ นระดับคะแนน 0 คะแนน 4.2.2 ค่าร้อยละผลงานทางวิชาการของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร ร้อยละ 0 ผลการประเมนิ อย่ใู นระดบั คะแนน 0 คะแนน ตัวบ่งช้ีที่ 4.3 ผลที่เกิดกับอาจารย์ ต้องนำไปสู่การมีอัตรากำลังอาจารย์ท่ีมีจำนวน เหมาะสมกับจำนวนนักศึกษาที่รับเข้าศึกษาในหลักสูตร อัตราคงอยู่ของอาจารย์สูง และอาจารย์ มีความพึงพอใจต่อการบริหารหลักสูตร ในการรายงานการดำเนินงานตามตัวบ่งช้ีนี้ โดยอธิบาย กระบวนการหรอื แสดงผลการดำเนนิ งาน ครอบคลมุ ประเดน็ ตอ่ ไปน้ี 1) การคงอยขู่ องอาจารย์ 2) ความพงึ พอใจและความไม่พึงพอใจของอาจารย์ ขอ้ รายการเอกสารหลักฐาน 1) การคงอยู่ของอาจารย์ 2) แบบสรปุ ผลความพงึ พอใจของอาจารย์ตอ่ การบรหิ ารจดั การหลักสูตร 3) ข้อเสนอแนะของอาจารยต์ อ่ การบริหารจดั การหลกั สูตร สรุปผลการประเมินตนเอง ตัวบ่งชี้ที่ 4.3 ผลที่เกิดกับอาจารย์ มีการดำเนินการ ได้แก่ 1) มีการรายงานผลการดำเนินการครบทกุ เรอื่ งตามคำอธิบายในตัวบ่งชี้ 2) มีแนวโน้ม ผลการดำเนนิ งาน ทดี่ ขี ้ึนในทกุ เรอ่ื ง จงึ มีผลการประเมินอยใู่ นระดับคะแนน 4 คะแนน
23 องค์ประกอบท่ี 5 หลกั สูตร การเรียนการสอน การประเมนิ ผ้เู รยี น เกณฑ์การประเมิน ผลการดำเนนิ การ รอ้ ยละ คะแนน 5.1 สาระของรายวชิ าในหลกั สูตร (ไมม่ ี) 4 5.2 การวางระบบผสู้ อนและกระบวนการจัดการเรยี นการสอน (ไมม่ ี) 5 5.3 การประเมนิ ผเู้ รียน (ไมม่ ี) 5 5.4 ผลการดำเนินงานหลักสตู รตามกรอบมาตรฐานคณุ วุฒริ ะดบั อุดมศึกษา - 4 แหง่ ชาติ สรุปผลการประเมิน 4.50 องคป์ ระกอบที่ 5 นั้น คณะกรรมการบริหารหลักสูตรควรมีบทบาทหน้าที่ในการบริหารจัดการ 3 ด้านท่ีสำคัญ คือ (1) สาระของ รายวิชาในหลักสูตร (2) การวางระบบผูส้ อนและกระบวนการเรียน การสอน (3) การประเมินผู้เรียน ระบบ ประกันคุณภาพในการดำเนินการหลักสูตรประกอบด้วย หลักสตู ร การเรียนการสอน และการประเมินผู้เรยี น เพอื่ ให้สอดคลอ้ งกับกรอบมาตรฐานคุณวุฒิตามท่ี คณะกรรมการมาตรฐานอุดมศึกษา และประกาศ คณะกรรมการการอาชีวศึกษา เรื่อง เกณฑ์ มาตรฐานคุณวุฒิอาชีวศึกษาระดับปริญญาตรีสายเทคโนโลยีหรือ สายปฏิบัติการ พ.ศ.2562 กำหนด ตัวบ่งชี้ในการประเมินต้องให้ความสำคัญกับการกำหนดรายวิชา ท่ีมีเน้ือหาท่ีทันสมัยตอบสนอง ความก้าวหน้าทางอุตสาหกรรมทันความก้าวหน้าทางวิทยาการที่เปล่ียนแปลง ตลอดเวลา รวมทั้ง การวางระบบผู้สอนและอาจารย์ที่ปรึกษาซึ่งต้องเป็นบุคคลที่มีความรู้ ความเชี่ยวชาญ ประสบการณ์ และมีคุณสมบัติเหมาะสมในการพัฒนานักศึกษาให้เต็มศักยภาพ จดั กิจกรรมการเรียนการสอน ที่เน้น นักศกึ ษาเป็นสำคญั และส่งเสริมทกั ษะการเรยี นรูใ้ นศตวรรษท่ี 21 ตัวบง่ ชท้ี ี่ 5.1 สาระของรายวิชาในหลกั สูตร ครอบคลมุ ประเด็นตอ่ ไปน้ี 1) การออกแบบหลักสูตรและสาระรายวิชาในหลักสูตร 2) การปรับปรุงหลกั สูตรให้ทันสมัยตามความก้าวหนา้ ในศาสตร์สาขานน้ั ๆ ข้อ รายการเอกสารหลักฐาน 1) เล่มหลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑิต สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ (ต่อเน่ือง) หลักสูตรใหม่ พ.ศ. 2562 สรุปผลการประเมินตนเอง ตัวชี้วัดที่ 5.1 ผลที่เกิดกับอาจารย์ มีการดำเนินการ ได้แก่ 1) มีระบบ กลไก 2) มีการนำระบบ กลไกไปสู่การปฏิบัติ/ดำเนินงาน 3) มีการปรับปรุง/พัฒนา กระบวนการ 4) มีผลจากการปรบั ปรงุ ชัดเจน จึงมีผลการประเมนิ อยู่ในระดับคะแนน 4 คะแนน
24 ตัวบ่งช้ีที่ 5.2 การวางระบบผู้สอน และกระบวนการจัดการเรียนการสอน ครอบคลุม ประเด็นต่อไปน้ี 1) การกำหนดผู้สอน 2) การกำกับ ติดตาม และตรวจสอบการจัดทำแผนการเรียนรู้ แผนการฝึก และการ จัดการเรยี นการสอนทงั้ ในสถานศึกษา และสถานประกอบการ 3) การจัดการเรียนการสอนในระดับปริญญาตรีที่สายเทคโนโลยีหรือสายปฏิบัติการ ต้องดำเนินการ 5 ประเดน็ 4) การควบคุมหัวข้อโครงงานพัฒนาสมรรถนะวิชาชีพและการแต่งตั้งอาจารย์ท่ีปรึกษา ใหส้ อดคลอ้ งกบั โครงงานของผเู้ รยี น ข้อ รายการเอกสารหลกั ฐาน 1) คำส่ังแต่งตั้งอาจารยผ์ ้สู อน 2) แผนการเรยี น 3) ตารางเรียนตารางสอน 4) แผนการฝึกประสบการณ์สมรรถนะวิชาชีพในสถานประกอบการ 5) ภาพประกอบการจัดการเรียนการสอน การนิเทศการสอน และการนิเทศในสถาน ประกอบการ 6) ขัน้ ตอน กระบวนการจดั การในรายวิชาโครงงารคอมพิวเตอร์ธรุ กิจ 1 และรายวิชาโครงงาน คอมพวิ เตอรธ์ รุ กิจ 2 พรอ้ ม เลม่ ปรญิ ญานพิ นธ์ สรุปผลการประเมินตนเอง ตัวช้ีวัดที่ 5.2 การวางระบบผู้สอน และกระบวนการจัดการ เรียนการสอน มีการดำเนินการ ได้แก่ 1) มีระบบ กลไก 2) มีการนำระบบ กลไกไปสู่การปฏิบัติ/ ดำเนินงาน 3) มีการปรับปรุง/พัฒนากระบวนการ 4) มีผลจากการปรับปรุงชัดเจน 5) มีแนวทาง ปฏิบตั ทิ ่ีดี มีหลักฐานเชงิ ประจักษ์ จึงมีผลการประเมนิ อยู่ในระดบั คะแนน 5 คะแนน ตวั บง่ ช้ีที่ 5.3 การประเมินผ้เู รียน ครอบคลมุ ประเด็นตอ่ ไปนี้ 1) การประเมินผลการเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ ระดับอุดมศึกษาแห่งชาติและ ทกั ษะปฏิบัตงิ าน การประเมินมาตรฐานวิชาชพี และการประเมินสมทิ ธภิ าพทางภาษาอังกฤษ 2) การตรวจสอบการประเมินผลการเรยี นรู้ของนักศึกษา 3) การกำกบั การประเมนิ การจดั การเรยี นการสอนและประเมินหลักสตู ร
25 ข้อ รายการเอกสารหลกั ฐาน 1) แบบประเมนิ ผลการเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานคุณวฒุ ิ 2) สรุปรายงานการประเมินมาตรฐานวชิ าชีพ 3) สรปุ รายงานการประเมนิ สมิทธิภาพทางภาษาองั กฤษ และเทคโนโลยีดจิ ิทลั 4) เอกสารการวัดผล และประเมนิ ผล สรปุ ผลการประเมนิ ตนเอง ตัวชี้วดั ท่ี 5.3 การประเมินผู้เรยี น มีการดำเนนิ การ 1) มีระบบ กลไก 2) มีการนำระบบ กลไกไปสู่การปฏิบัติ/ดำเนินงาน 3) มีการปรับปรุง/พัฒนากระบวนการ 4) มีผลจากการปรับปรุงชัดเจน 5) มีแนวทางปฏิบัติที่ดี มีหลักฐานเชิงประจักษ์ จงึ มีผลการประเมิน อยู่ในระดบั คะแนน 5 คะแนน ตัวบ่งชี้ท่ี 5.4 ผลการดำเนินงานหลักสูตรตามกรอบ มาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา แหง่ ชาติ ครอบคลมุ ประเด็นต่อไปนี้ 1) ผลการดำเนินงานตามตัวบ่งช้ีการดำเนินงานตาม กรอบมาตรฐานคุณวุฒิ ระดับอุดมศึกษาท่ีปรากฏในเอกสาร หลักสูตรฉบับที่จดั การเรยี นการสอนในขณะนน้ั (คอศ.1) หมวดท่ี 7 รายละเอียดดังน้ี ผลการดำเนินการบรรลุตามเป้าหมาย ตัวบ่งช้ีท้ังหมดอยู่ในเกณฑ์ดีต่อเนื่อง 2 ปีการศึกษา เพ่ือติดตามการดำเนินการตาม TQF ต่อไป ท้งั น้ีเกณฑ์การประเมินผ่าน คือ มีการดำเนินงานตามข้อ 1-5 และอย่างนอ้ ยรอ้ ยละ 80 ของตัวบง่ ชผ้ี ลการดำเนินงานท่ีระบไุ วใ้ นแตล่ ะปี ดชั นีบง่ ชผี้ ลการดำเนนิ งาน ปีที่ ปที ี่ ปีที่ ปีท่ี ปที ่ี 1234 5 X (1) อาจารยผ์ รู้ บั ผดิ ชอบหลกั สูตร อย่างน้อยรอ้ ยละ มสี ว่ นรว่ มในการ 80 X X X X ประชมุ เพือ่ วางแผน ติดตาม และทบทวนการดาเนินงานหลกั สตู ร X (2) มีรายละเอยี ดของหลกั สตู ร ตามแบบ คอศ.2 (มคอ.2) ท่ีสอดคล้องกับ X กรอบมาตรฐานคุณวุฒิแห่งชาติ หรือมาตรฐานคุณวุฒิสาขา/สาขาวิชา X X X X X (ถา้ มี) (3) มีรายละเอียดของรายวชิ าในสถานศกึ ษา และรายละเอยี ดของรายวิชา ในสถานประกอบการ ตามแบบ คอศ.2 และ คอศ.3 อยา่ งน้อยก่อน X X X X การเปดิ สอนในแต่ละภาคการศึกษาให้ครบทกุ รายวิชา (4) จัดทำรายงานผลการดำเนนิ การของรายวิชาในสถานศึกษา และ X X X X รายงานผลการดำเนนิ การของรายวชิ าในสถานประกอบการ ตามแบบ
26 ดัชนีบง่ ช้ผี ลการดำเนินงาน ปที ่ี ปที ่ี ปที ี่ ปที ี่ ปที ี่ 12345 คอศ.4 และคอศ.5 ภายใน 30 วนั หลังสิน้ สุดภาคการศึกษาท่ีเปิดสอน ให้ครบทุกรายวิชา (5) จัดทำรายงานผลการดำเนนิ การของหลักสูตร ตามแบบ คอศ. 6 XXXXX ภายใน 60 วัน หลังสิ้นสุดปกี ารศึกษา (6) มีการทวนสอบผลสมั ฤทธิ์ของนกั ศึกษาตามมาตรฐานผลการเรยี นรทู้ ่ี กำหนดในแบบ คอศ. 2 และ คอศ 3 อย่างน้อยร้อยละ 25 ของ XXXXX รายวชิ าทเี่ ปิดสอนในแต่ละปกี ารศึกษา (7) มีการพัฒนา/ปรบั ปรงุ การจัดการเรียนการสอน กลยทุ ธก์ ารสอน หรือ การประเมนิ ผลการเรยี นร้จู ากผลการประเมนิ การดำเนนิ งาน XXXX ที่รายงานในแบบ คอศ.6 หรือ มคอ.7 ปีทแ่ี ลว้ (8) อาจารยใ์ หม่ (ถา้ ม)ี ทกุ คน ไดร้ ับการปฐมนิเทศ หรือคำแนะนำ XXXXX ดา้ นการจดั การเรียนการสอน (9) อาจารย์ประจำหลักสูตรทุกคนไดร้ บั การพฒั นาทางวิชาการและ/หรอื X X X X X วชิ าชพี อย่างน้อยปลี ะหนง่ึ ครั้ง (10) จำนวนบคุ ลากรสนับสนุนการเรยี นการสอน (ถา้ มี) ได้รบั การพฒั นา X X X X X วชิ าการ และ/หรอื วิชาชพี ไมน่ อ้ ยกว่ารอ้ ยละ 50 ต่อปี (11) ระดับความพงึ พอใจของนกั ศกึ ษาปสี ดุ ทา้ ย/บณั ฑติ ใหม่ที่มตี อ่ XXXX คณุ ภาพหลักสตู ร เฉล่ยี ไม่น้อยกว่า 3.5 จากคะแนน 5.0 (12) ระดับความพึงพอใจของผู้ใชบ้ ัณฑิตทมี่ ตี ่อบัณฑติ ใหม่เฉลี่ยไม่นอ้ ย XXX กวา่ 3.5 จากคะแนนเต็ม 5.0 (13) นักศึกษามงี านทำภายใน 1 ปี หลังจากสำเร็จการศึกษา ไม่ตำ่ กว่า XXX ร้อยละ 80
27 ขอ้ รายการเอกสารหลักฐาน 1) รายงานการประชมุ 2) หนงั สือนำสง่ รายละเอยี ดของรายวิชาในสถานศึกษา และรายละเอียดของรายวชิ าในสถาน ประกอบการ ตามแบบ คอศ.2 และ คอศ.3 3) หนังสือนำส่ง รายงานผลการดำเนินการของรายวิชาในสถานศึกษา และรายงานผลการ ดำเนินการของรายวิชาในสถานประกอบการ ตามแบบ คอศ.4 และคอศ.5 4) รายงานผลการดำเนนิ การของหลกั สตู ร ตามแบบ คอศ. 6 5) คำส่ังแต่งตั้งคณะกรรมการ การทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาตามมาตรฐานผลการ เรยี นรู้ และรายงานการประชมุ 6) รายงานการประชมุ การปฐมนิเทศอาจารย์ใหม่ 7) ประกาศนียบัตรของการอบรมด้านวชิ าการ ของอาจารย์ประจำหลักสตู ร สรุปผลการประเมินตนเอง ตัวชี้วัดท่ี 5.4 ผลการดำเนินงานหลักสูตรตามกรอบ มาตรฐาน คณุ วุฒริ ะดับอุดมศึกษาแห่งชาติ มีการดำเนนิ การ ได้แก่ ร้อยละ 81.82 ของตัวบง่ ช้ผี ลการดำเนนิ งาน ทรี่ ะบไุ วใ้ นแตล่ ะปี มีคา่ คะแนนเท่ากับ 4 คะแนน องค์ประกอบที่ 6 สง่ิ สนบั สนนุ การเรียนรู้ ผลการดำเนนิ การ คะแนน (0-5) เกณฑก์ ารประเมนิ 6.1 สิง่ สนับสนนุ การเรียนรู้ 3 ตัวบ่งชีท้ ี่ 6.1 สง่ิ สนับสนนุ การเรียนรู้ ครอบคลุมประเด็นต่อไปน้ี 1) ระบบการดำเนินงานของหลักสูตรกับสถานประกอบการ โดยมีส่วนร่วมของอาจารย์ ผู้รบั ผดิ ชอบหลกั สตู รเพื่อใหม้ สี ิง่ สนบั สนนุ การเรยี นรู้ 2) จำนวนสง่ิ สนบั สนนุ การเรียนรู้ท่เี พียงพอ และเหมาะสมตอ่ การจัดการเรียนการสอน 3) สถานประกอบการ 4) กระบวนการปรับปรุงตามผลการประเมิน ความพึงพอใจของนักศกึ ษาและอาจารย์ต่อ สงิ่ สนบั สนุนการเรียนรู้
28 ขอ้ รายการเอกสารหลักฐาน 1) บันทึกข้อตกลงความรว่ มมอื เพ่ือจดั การศกึ ษาระดับปริญญาตรี กบั สถานประกอบการ 2) สิง่ สนับสนนุ การเรยี นรู้ ห้องเรยี น อาคารเรยี น 3) โครงการจัดซอ้ื ครุภณั ฑ์ และวัสดุ 4) สรุปความพงึ พอใจของนกั ศกึ ษา และอาจารยต์ อ่ ส่ิงสนบั สนุนการเรียนรู้ สรุปผลการประเมินตนเอง ตัวบ่งชี้ท่ี 6.1 การประเมินผู้เรียน มีการดำเนินการ ได้แก่ 1) มีระบบ กลไก 2) มีการนำระบบ กลไกไปสู่การปฏิบัติ/ดำเนินงาน 3) มีการปรับปรุง/พัฒนา กระบวนการ จงึ มีผลการประเมินอยใู่ นระดบั คะแนน 3 คะแนน ส่วนที่ 3 สรุปผลการประเมนิ ตารางแสดงผลการประเมนิ ตนเองตามองค์ประกอบและตวั บง่ ชี้ องค์ประกอบในการ ตวั บง่ ชี้ ผลการ ประกันคุณภาพหลักสตู ร ประเมิน 1. การกำกับมาตรฐาน 1.1 การบรหิ ารจัดการหลักสูตรตามประกาศ ผา่ น กระทรวงศึกษาธกิ าร เรอ่ื งเกณฑม์ าตรฐานหลักสูตร - - ระดับปรญิ ญาตรี พ.ศ.2558 5 3 1.1.1 จำนวนอาจารยผ์ ู้รับผิดชอบหลกั สตู ร 1.1.2 คุณสมบตั ิอาจารยผ์ รู้ บั ผดิ ชอบหลักสูตร 1.1.3 คณุ สมบัตอิ าจารย์ประจำหลักสูตร 1.1.4 คุณสมบตั ิอาจารย์ผู้สอน 1.1.5 การปรับปรงุ หลกั สูตรตามรอบระยะเวลาท่ีกำหนด 2. บณั ฑิต 2.1 คณุ ภาพบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ ระดบั อุดมศกึ ษาแหง่ ชาติ 2.2 รอ้ ยละของนักศกึ ษาที่สอบมาตรฐานวิชาชพี ผ่าน ในครง้ั แรก 2.3 รอ้ ยละของนกั ศึกษาท่สี อบผ่านสมทิ ธิภาพทาง ภาษาองั กฤษ ระดับ B2 หรือเทยี บเทา่
29 องค์ประกอบในการ ตัวบง่ ช้ี ผลการ ประกันคุณภาพหลักสูตร ประเมิน 2. บณั ฑิต 2.4 ร้อยละของนกั ศกึ ษาท่ีสอบผ่านมาตรฐานดา้ น 5 เทคโนโลยีดิจิทัล - 5 2.5 รอ้ ยละของบณั ฑิตปรญิ ญาตรที ีไ่ ดง้ าน 4 4 ทำหรอื ประกอบอาชีพอสิ ระภายใน 1 ปี 4 0 3. นักศึกษา 3.1 การรับนักศึกษา 3 3.2 การส่งเสรมิ และพฒั นานักศึกษา 4 5 4. อาจารย์ 3.3 ผลที่เกดิ กับนักศกึ ษา 5 4.1 การบรหิ ารและพฒั นาอาจารย์ 4 3 5. หลักสูตร 4.2 คณุ ภาพอาจารย์ 3.77 การเรยี นการสอน 4.2.1 ร้อยละของอาจารย์ผ้รู บั ผดิ ชอบหลักสูตร การประเมนิ ผ้เู รยี น ทม่ี ีประสบการณ์ด้านปฏบิ ัตกิ ารในสถานประกอบการ 4.2.2 ร้อยละผลงานทางวิชาการของอาจารย์ ผู้รับผดิ ชอบหลกั สตู ร 4.3 ผลที่เกิดกบั อาจารย์ 5.1 สาระของรายวชิ าในหลกั สูตร 5.2 การวางระบบผู้สอน และกระบวนการจดั การเรยี น การสอน 5.3 การประเมนิ ผูเ้ รยี น 5.4 ผลการดำเนินงานหลกั สตู รตามกรอบมาตรฐาน คณุ วฒุ ิระดบั อดุ มศึกษาแหง่ ชาติ 6. สงิ่ สนบั สนนุ การเรยี นรู้ 6.1 สิ่งสนบั สนนุ การเรียนรู้ ระดบั คะแนนเฉลี่ย
30 ตารางวิเคราะหค์ ณุ ภาพการศึกษาภายใน ระดับหลักสตู ร ผลการประเมิน องค์ คะแนน จำนวน I P O คะแนน 0.01-2.00 ระดบั คุณภาพ น้อย ประกอบ ผ่าน ตวั บ่งชี้ เฉลย่ี 2.01-3.00 ระดบั คุณภาพ ปานกลาง 3.01-4.00 ระดับคุณภาพ ดี ท่ี 4.01-5.00 ระดบั คณุ ภาพ ดมี าก 1 ผา่ นการประเมิน หลักสูตรได้มาตรฐาน คะแนน 2.1,2. เฉลย่ี ของ 2, 2 ทุกตัว 5 - - 2.3,2. 4.33 ดมี าก บง่ ชีใ้ น 4, องค์ 2.5 3 ประกอบ 3 3.1,3. 3.3 4.33 ดมี าก ที่ 2-6 2 4 3 4.2 4.1 4.3 2.67 ปานกลาง 54 5.1,5. ดีมาก 2, 5.4 4.50 ปานกลาง 61 5.3 รวม 16 6.1 3.00 ดี ผลการประเมนิ 178 3.77
31 สว่ นท่ี 4 รายงานผลการวิเคราะหจ์ ดุ เดน่ และจุดทีค่ วรพฒั นา องค์ประกอบท่ี 2-6 รายงานผลการวิเคราะห์จุดเด่นและจดุ ทีค่ วรพัฒนา องค์ประกอบที่ 2-6 จุดเดน่ 1. หลกั สูตรมีความตระหนกั ในการพัฒนานักศึกษาให้มผี ลสมั ฤทธ์กิ ารสอบมาตรฐานวชิ าชพี และสอบมาตรฐานดา้ นเทคโนโลยีดจิ ิทลั อย่างมปี ระสทิ ธิภาพ 2. การรับนกั ศึกษา มนี ักศกึ ษาเพิ่มขน้ึ ทกุ ปี 3. หลกั สูตรมีการประเมนิ กำกบั ตดิ ตาม ใหม้ กี ารประเมนิ ตามสภาพจรงิ มีการใชว้ ิธีการประเมินท่ี หลากหลาย ให้ผลการประเมินทีส่ ะท้อนความสามารถในการปฏิบัตงิ านในสภาพความเปน็ จริง จุดที่ควรพฒั นา 1. การทดสอบสมิทธภิ าพทางภาษาองั กฤษระดับ B2 หรือเทียบเทา่ ของนกั ศกึ ษา 2. การพัฒนาอาจารย์ผรู้ บั ผดิ ชอบหลักสตู ร ให้มีประสบการด้านปฏบิ ตั ิการในสถานประกอบการ 3. การจดั ทำผลงานทางวิชาการของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร
32 ภาคผนวก
Search
Read the Text Version
- 1 - 33
Pages: