เลม่ ๑๓๐ ตอนพเิ ศษ ๑๘๕ ง หนา้ ๒๑ ๒๐ ธันวาคม ๒๕๕๖ ราชกจิ จานเุ บกษา การรบั ผเู้ ข้าศกึ ษาตามโครงการต่าง ๆ ของสถาบัน ให้สถาบันคัดเลือกตามคุณสมบัติที่กําหนด ตามความเหมาะสมของโครงการน้ัน ขอ้ ๘ ให้มีการตรวจร่างกายเฉพาะผู้ที่ผ่านการสอบคัดเลือก หรือได้รับการคัดเลือกโดย แพทย์ปริญญา ส่วนท่ี ๓ การเป็นนักศกึ ษา ข้อ ๙ ผูท้ ผ่ี า่ นการสอบคัดเลือกหรอื คัดเลือกเขา้ ศึกษา จะมีสภาพเป็นนักศึกษาเม่ือได้ข้ึนทะเบียน และชาํ ระเงินคา่ ลงทะเบียนเรยี นและคา่ ธรรมเนียมตามระเบยี บทสี่ ถาบนั กําหนด หากผูผ้ า่ นการสอบคัดเลือกหรือคัดเลือกเข้าศึกษา ไม่มาขึ้นทะเบียนเป็นนักศึกษาตามกําหนด ของสถาบัน จะถือว่าสละสทิ ธ์ทิ ีจ่ ะเขา้ เป็นนกั ศกึ ษา เว้นแตม่ ีเหตจุ ําเปน็ และไดร้ บั อนมุ ัติจากสถาบัน สาํ หรับการศกึ ษาระบบทวิภาคี ผเู้ ข้าศึกษาต้องขนึ้ ทะเบียนเปน็ นักศกึ ษา และทําสัญญาการฝึกอาชีพ กับสถานประกอบการ การขน้ึ ทะเบียนเป็นนกั ศกึ ษา และการทาํ สัญญาการฝึกอาชีพต้องกระทําด้วยตนเอง พร้อมท้ัง แสดงหลักฐานการสาํ เรจ็ การศึกษาตามวัน เวลา ที่สถาบันและสถานประกอบการกําหนดโดยชําระเงิน คา่ ธรรมเนียมใหเ้ สร็จส้ินก่อนวนั เปิดภาคเรียน ข้อ ๑๐ ใหส้ ถาบันออกบตั รประจําตัวใหแ้ กน่ กั ศึกษา โดยใหเ้ ป็นไปตามทส่ี ถาบนั กาํ หนด สถานประกอบการจะใช้บัตรประจําตัวที่สถาบันออกให้ หรือจะออกให้ใหม่ตามความต้องการ ของสถานประกอบการกไ็ ด้ สว่ นท่ี ๔ การพน้ สภาพและคืนสภาพนกั ศึกษา ขอ้ ๑๑ การพน้ สภาพนกั ศึกษา เป็นไปตามกรณีใดกรณีหนง่ึ ตอ่ ไปนี้ (๑) สําเรจ็ การศกึ ษาตามหลักสตู ร (๒) พน้ สภาพนกั ศึกษาตามข้อ ๕๕ (๓) ลาออก (๔) ถึงแกก่ รรม (๕) สถาบนั สง่ั ให้พน้ สภาพนกั ศึกษาในกรณีใดกรณหี นง่ึ ตอ่ ไปน้ี
เลม่ ๑๓๐ ตอนพเิ ศษ ๑๘๕ ง หน้า ๒๒ ๒๐ ธันวาคม ๒๕๕๖ ราชกิจจานุเบกษา ก. ขาดเรยี น ขาดการฝึกอาชีพ หรือขาดการติดต่อกับสถาบันและหรือสถานประกอบการ เกนิ กวา่ ๑๕ วัน ซึ่งสถาบนั หรอื สถานประกอบการพิจารณาแล้วเห็นว่า ไม่มีเหตุผลอันสมควร หรือมี พฤตกิ รรมอยา่ งอ่ืนท่แี สดงวา่ ไม่มคี วามตงั้ ใจที่จะศึกษาเล่าเรยี นหรอื รับการฝึกอาชพี ข. ไมช่ าํ ระค่าธรรมเนียมการรักษาสภาพนักศึกษาทุกภาคเรียนที่พักการศึกษาตามข้อ ๑๖ ไม่ย่ืนขอกลับเข้าศึกษาตามขอ้ ๑๘ หรือไมต่ ดิ ตอ่ เพ่ือรกั ษาสภาพนกั ศึกษาตามข้อ ๒๗ ค. ประพฤตฝิ า่ ฝนื ระเบียบขอ้ บังคบั ของสถาบัน หรือสถานประกอบการ หรือของทางราชการ หรือประพฤติผิดศีลธรรมอย่างร้ายแรง จนเป็นที่เสื่อมเสียช่ือเสียงแก่สถาบันหรือประพฤติตนเป็นภัย ตอ่ ความสงบเรียบรอ้ ยของบา้ นเมือง ง. ต้องโทษคดีอาญา โดยคําพิพากษาของศาลถึงท่ีสุดให้จําคุก เว้นแต่ความผิดลหุโทษ หรอื ความผิดที่ไดก้ ระทาํ โดยประมาท จ. ขาดพืน้ ความร้หู รอื คณุ สมบตั ขิ องผู้เข้าเรียน ตามที่กาํ หนดไว้ในข้อ ๖ ข้อ ๑๒ ผู้ที่พ้นสภาพนักศึกษาตามข้อ ๑๑ (๓), ๑๑ (๕) ก, ๑๑ (๕) ข ถ้าประสงค์จะ ขอคืนสภาพเพอ่ื กลบั เข้าศึกษาในสถาบันหรอื ฝึกอาชพี ในสถานประกอบการจะต้องยื่นคําร้องขอตอ่ สถาบัน แหง่ นน้ั ภายใน ๑ ปี นับแตว่ ันถัดจากวนั พน้ สภาพนักศกึ ษา เม่ือสถาบันพจิ ารณาเห็นสมควรก็ให้รับเข้า ศกึ ษาได้ ขอ้ ๑๓ การขอคืนสภาพเพือ่ กลับเข้าศึกษาตามข้อ ๑๒ ใหป้ ฏิบัตดิ งั นี้ (๑) ตอ้ งเข้าศึกษาภายในสัปดาห์แรกของภาคเรยี น เวน้ แต่กลบั เขา้ ศึกษาในภาคเรยี นเดยี วกัน (๒) ตอ้ งศกึ ษาตามหลักสูตรท่ีใชอ้ ยูใ่ นขณะนน้ั (๓) ให้นําจํานวนหน่วยกิตของรายวิชาท่ีประเมินได้ไว้ และเป็นรายวิชาท่ียังปรากฏอยู่ใน หลักสูตรนี้มานบั รวม เพอื่ พจิ ารณาตัดสนิ การสําเร็จการศกึ ษาตามหลักสตู ร ส่วนที่ ๕ การพกั การศึกษา ขอ้ ๑๔ สถาบันและสถานประกอบการอาจพิจารณาอนุญาตให้นักศึกษาลาพักการศึกษาหรือ ฝกึ อาชพี ไดต้ ามทีเ่ ห็นสมควร เมอื่ มีเหตุจําเป็นกรณีใดกรณหี นึง่ ตอ่ ไปนี้ (๑) ได้รับทุนการศึกษาให้ไปศึกษา หรือดูงาน หรือเป็นตัวแทนของสถาบัน หรือ สถานประกอบการในการเข้ารว่ มประชุม หรือกรณอี ืน่ ๆ อันควรแกก่ ารสง่ เสริม (๒) เจ็บป่วยต้องพักรกั ษาตัว
เล่ม ๑๓๐ ตอนพิเศษ ๑๘๕ ง หน้า ๒๓ ๒๐ ธนั วาคม ๒๕๕๖ ราชกิจจานเุ บกษา (๓) เพอื่ รบั ราชการทหารกองประจาํ การ โดยให้ลาพักได้จนกวา่ จะไดร้ ับการนาํ ปลด (๔) เหตุจําเป็นอย่างอ่ืนตามที่สถาบัน หรือสถาบันและสถานประกอบการจะพิจารณา เหน็ สมควร ในภาคเรียนแรกที่ข้ึนทะเบียนเป็นนักศึกษาของสถาบัน นักศึกษาจะขอลาพักการศึกษาหรือ การฝึกอาชีพไมไ่ ด้ เวน้ แตจ่ ะไดร้ บั อนมุ ัตจิ ากสถาบันเป็นกรณพี เิ ศษ ในกรณีท่ีมีนักศึกษาลาพักการศึกษาหรือการฝึกอาชีพตั้งแต่ต้นปีเป็นระยะเวลานานเกินกว่า ๑ ปี สถาบันหรือสถานประกอบการอาจพจิ ารณารับนักศึกษาอ่ืนเข้าศึกษาหรือฝึกอาชีพแทนท่ีได้ตามที่ เห็นสมควร ขอ้ ๑๕ นักศึกษาที่ขออนุญาตลาพักการศกึ ษาหรอื การฝกึ อาชีพ ต้องยื่นคําขอเป็นลายลักษณ์อักษร ต่อสถาบนั หรอื สถาบนั และสถานประกอบการ มฉิ ะนนั้ จะถือว่าขาดเรยี น เวน้ แตเ่ หตุสุดวสิ ยั ขอ้ ๑๖ สถาบันส่ังให้นักศึกษาพักการศึกษาหรือการฝึกอาชีพได้ โดยปฏิบัติตามข้อกําหนด เกี่ยวกับวนิ ยั ของนกั ศกึ ษาของสถาบนั หรือระเบยี บขอ้ บงั คบั ของสถานประกอบการ นักศึกษาที่ขออนุญาตลาพักการศึกษาหรือการฝึกอาชีพตามข้อ ๑๔ หรือถูกสั่งพักการศึกษา หรอื การฝกึ อาชพี ตามข้อ ๑๖ เป็นเวลาเกนิ กว่า ๑ ภาคเรียน ต้องชําระค่าธรรมเนียมการรักษาสภาพ นักศึกษาทุกภาคเรียนท่ีพักการศึกษาตามระเบียบของสถาบันภายใน ๑๕ วัน นับจากวันประกาศ ลงทะเบียนเรียนในภาคเรยี นถดั ไป ขอ้ ๑๗ การอนุญาตให้นักศึกษาลาพักการศึกษาหรือการฝึกอาชีพ ให้สถาบันทําหลักฐาน เปน็ ลายลกั ษณอ์ ักษรแจ้งให้นักศกึ ษาโดยตรง ขอ้ ๑๘ นักศกึ ษาทล่ี าพักการศกึ ษาหรือการฝึกอาชีพ หรือถูกส่ังพักการศึกษาหรือพักการฝึกอาชีพ เมื่อครบกาํ หนดเวลาท่ีลาพักการศึกษาหรือการฝึกอาชีพ หรือถูกส่ังพักการศึกษาแล้ว ให้ย่ืนคําขอกลับ เข้าศึกษาพร้อมหลักฐานการอนุญาตให้ลาพักการศึกษาหรือการฝึกอาชีพต่อสถาบันภายใน ๑๕ วัน นบั แต่วันถัดจากวันครบกาํ หนด หากพน้ กาํ หนดน้ีใหถ้ ือว่าพ้นสภาพนกั ศกึ ษา เวน้ แตเ่ หตสุ ดุ วิสัย ส่วนที่ ๖ การลาออก ขอ้ ๑๙ นักศึกษาท่ีประสงค์จะลาออกจากการเป็นนักศึกษา ต้องดําเนินการตามข้ันตอน ท่ีสถาบันกําหนด
เล่ม ๑๓๐ ตอนพเิ ศษ ๑๘๕ ง หน้า ๒๔ ๒๐ ธนั วาคม ๒๕๕๖ ราชกิจจานุเบกษา ข้อ ๒๐ นักศึกษาท่ีลาออกแล้วได้รับอนุญาตให้กลับเข้าศึกษาในภาคเรียนเดียวกัน ให้ถือว่า นักศกึ ษาผนู้ ้ันมีสภาพนกั ศกึ ษามาต้ังแต่ต้นภาคเรยี นนนั้ ทกุ ประการ หมวด ๒ การจดั การศกึ ษา ส่วนที่ ๑ การเปดิ เรียน ขอ้ ๒๑ ให้สถาบันกําหนดวันเปิดและปิดภาคเรียนตามระเบียบกระทรวงศึกษาธิการว่าด้วย ปีการศึกษาการเปิดและปิดสถานศึกษา สถาบันอาจกําหนดวันเปิดและปิดภาคเรียนแตกต่างไปจาก ระเบียบดงั กลา่ วได้ และให้รายงานสํานกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษาทราบ ขอ้ ๒๒ สถาบันท่ีเปิดภาคเรียนฤดูร้อน ให้ปฏิบัติตามระเบียบกระทรวงศึกษาธิการว่าด้วย การเปดิ ภาคเรยี นฤดูรอ้ น สว่ นท่ี ๒ การลงทะเบยี นรายวชิ า ขอ้ ๒๓ สถาบันต้องจัดให้นักศึกษาลงทะเบยี นรายวิชาตา่ ง ๆ ให้เสร็จก่อนวันเปิดภาคเรียนนั้น ตามระยะเวลาท่สี ถาบนั กาํ หนด ขอ้ ๒๔ การลงทะเบียนเรียนรายวิชา และการฝึกอาชีพในการศึกษาระบบทวิภาคี การทํา โครงการพัฒนาทักษะวชิ าชีพ ตอ้ งได้รับความเห็นชอบจากอาจารย์ที่ปรึกษา โดยเป็นไปตามข้อกําหนด ของหลักสูตร ข้อ ๒๕ นักศึกษาต้องลงทะเบียนรายวิชาด้วยตนเอง ตามวันและเวลาที่สถาบันกําหนด ในกรณีที่นกั ศกึ ษาไมส่ ามารถมาลงทะเบียนรายวิชาด้วยตนเอง จะมอบหมายให้ผู้อ่ืนมาลงทะเบียนแทน ให้สถาบันพจิ ารณาอนุญาตเป็นราย ๆ ไป ข้อ ๒๖ สถาบันอาจให้นกั ศกึ ษาลงทะเบยี นรายวิชาภายหลังกําหนดตามข้อ ๒๓ ก็ได้ โดยให้ สถาบันกําหนดวันส้ินสุดการลงทะเบียนตามที่เห็นสมควร แต่ต้องไม่เกิน ๑๕ วัน นับแต่วันเปิดภาคเรียน หรือไมเ่ กิน ๕ วัน นับแตว่ นั เปิดภาคเรียนฤดรู อ้ น การลงทะเบยี นรายวชิ าภายหลังวนั สิ้นสุดการลงทะเบียน นักศึกษาตอ้ งเสียค่าปรับตามทสี่ ถาบนั กําหนด
เลม่ ๑๓๐ ตอนพเิ ศษ ๑๘๕ ง หน้า ๒๕ ๒๐ ธันวาคม ๒๕๕๖ ราชกิจจานุเบกษา ขอ้ ๒๗ นักศึกษาท่ีมิได้ลงทะเบียนรายวิชาภายในเวลาที่สถาบันกําหนด ถ้าประสงค์จะรักษา สภาพนกั ศกึ ษา ตอ้ งติดต่อลาพกั การศึกษาภายใน ๑๕ วนั นับแตว่ นั ถดั จากวันปิดการลงทะเบยี น ข้อ ๒๘ นกั ศกึ ษาลงทะเบียนรายวิชาในภาคเรยี นปกตไิ ด้ไม่น้อยกว่า ๙ หน่วยกิต และไม่เกิน ๒๒ หนว่ ยกติ สาํ หรับภาคเรียนฤดรู อ้ นลงทะเบียนไดไ้ มเ่ กนิ ๙ หน่วยกิต เว้นแตไ่ ดร้ บั อนุญาตจากสถาบนั ส่วนท่ี ๓ การเปลี่ยน การเพม่ิ และการถอนรายวิชา ขอ้ ๒๙ นกั ศกึ ษาจะขอเปล่ียนรายวิชาท่ีได้ลงทะเบียนไว้แล้ว หรือขอเพิ่มรายวิชาต้องกระทํา ภายใน ๑๕ วัน นับแต่วันเปิดภาคเรียน หรือภายใน ๕ วัน นับแต่วันเปิดภาคเรียนฤดูร้อน สว่ นการขอถอนรายวิชาต้องกระทาํ ภายใน ๓๐ วนั นับแตว่ ันเปดิ ภาคเรยี นหรอื ภายใน ๑๐ วนั นับแต่วันเปิด ภาคเรียนฤดูรอ้ น การถอนรายวิชาภายหลังกําหนดตามวรรคหนึ่งอาจกระทําได้ ถ้าสถาบันพิจารณาเห็นว่า มีเหตผุ ลสมควร การขอเปล่ียน ขอเพิ่ม หรือขอถอนรายวิชา ต้องได้รับความเห็นชอบจากอาจารย์ท่ีปรึกษา และอาจารยผ์ สู้ อนประจํารายวชิ า ขอ้ ๓๐ การถอนรายวิชาภายในกําหนดตามข้อ ๒๙ ให้ลงอักษร “ถ.น.” ในใบแสดง ผลการศกึ ษา การถอนรายวิชาภายหลังกําหนดตามข้อ ๒๙ และสถาบันพิจารณาเห็นว่ามีเหตุผลสมควร ให้ลงอักษร “ถ.น.” ในใบแสดงผลการศึกษาเช่นเดียวกัน แต่ถ้าสถาบันพิจารณาเห็นว่าไม่มีเหตุผล อนั สมควร กใ็ หล้ งอักษร “ถ.ล.” ส่วนท่ี ๔ การศกึ ษาโดยไม่นบั จาํ นวนหน่วยกติ มารวมเพ่อื การสําเร็จการศกึ ษาตามหลกั สูตร ข้อ ๓๑ สถาบนั อาจอนญุ าตใหน้ ักศึกษาลงทะเบยี นเรียนรายวิชาใดวิชาหน่ึงเพ่ือเป็นการเสริมความรู้ โดยไมน่ ับจาํ นวนหนว่ ยกิตของรายวชิ านั้นมารวมเพอ่ื การสาํ เรจ็ การศึกษาตามหลักสูตรกไ็ ด้ ข้อ ๓๒ เม่ือได้ทําการวัดและประเมินผลการศึกษาแล้วได้ระดับผลการศึกษาผ่าน ให้บันทึก “ม.ก.” ลงในใบแสดงผลการศึกษาชอ่ ง “ระดับผลการศึกษา” ถ้าผลการประเมินไม่ผ่าน ไม่ต้องบันทึก รายวิชาน้ัน และให้ถือเป็นการส้ินสุดสําหรับการศึกษารายวิชาน้ัน โดยไม่นับจํานวนหน่วยกิตมารวม เพือ่ การสาํ เร็จการศึกษาตามหลักสูตร
เล่ม ๑๓๐ ตอนพิเศษ ๑๘๕ ง หน้า ๒๖ ๒๐ ธนั วาคม ๒๕๕๖ ราชกิจจานเุ บกษา สว่ นท่ี ๕ การนับเวลาเรยี นเพื่อสิทธใิ นการประเมนิ สรุปผลการศกึ ษา ข้อ ๓๓ ในภาคเรียนหน่ึง ๆ การศึกษาในระบบและการศึกษาระบบทวิภาคีต้องมีเวลาเรียน ในแต่ละรายวิชาไม่ต่ํากว่าร้อยละ ๘๐ ของเวลาเปิดเรียนเต็มสําหรับรายวิชานั้น จึงจะมีสิทธิรับ การประเมินสรุปผลการศึกษา ในกรณที ม่ี ีเหตสุ ุดวสิ ัย สถาบันอาจพิจารณาผอ่ นผันได้เป็นราย ๆ ไป นักศึกษาที่ไม่มีสิทธิรับการประเมินสรุปผลการศึกษาตามวรรคหน่ึง จะขอประเมินเทียบโอน ความรู้และประสบการณ์ตามขอ้ ๖๓ ในภาคเรยี นนน้ั มไิ ด้ ข้อ ๓๔ การนบั เวลาเรียน ให้ปฏบิ ตั ดิ งั น้ี (๑) เวลาเปิดเรยี นเต็มตามปกติ ไม่น้อยกวา่ ภาคเรยี นละ ๑๘ สปั ดาห์ (๒) นกั ศึกษาท่ยี ้ายสถาบันระหวา่ งภาคเรียน ให้นําเวลาเรยี นจากสถาบันทั้งสองแหง่ รวมกนั (๓) นักศึกษาท่ีลาออกแล้ว ได้รับอนุญาตให้กลับเข้าศึกษาในภาคเรียนเดียวกัน ให้นับ เวลาเรียนทเี่ รยี นแล้วมารวมกนั (๔) นักศึกษาท่ีลาพักการศึกษาหรือฝึกอาชีพในภาคเรียนใด ให้นับเวลาเรียนก่อนและหลัง การลาพกั การศึกษาหรือการฝึกอาชีพในภาคเรียนน้นั มารวมกนั (๕) นักศกึ ษาที่ถูกสงั่ พกั การศกึ ษาจะไมน่ บั เวลาเรยี นในระหว่างถกู สั่งพักการศึกษา (๖) รายวิชาทีม่ ีอาจารยผ์ ้สู อนหรอื ครฝู ึกต้ังแต่ ๒ คนข้ึนไป และแยกกนั สอน ให้นาํ เวลาเรียน ทศ่ี ึกษากบั อาจารย์ผ้สู อนหรอื ครฝู ึกทกุ คนมารวมกนั (๗) ถา้ มีการเปลยี่ นรายวชิ า หรอื เพิ่มรายวิชา ให้นบั เวลาเรียนตัง้ แตเ่ ร่มิ เรียนรายวิชาใหม่ ส่วนที่ ๖ การขออนญุ าตเลอ่ื นการประเมนิ ขอ้ ๓๕ นักศกึ ษาทไี่ มส่ ามารถเข้ารับการประเมินสรุปผลการศึกษาตามวันและเวลาท่ีสถาบันกําหนด สถาบนั อาจอนุญาตเลือ่ นการประเมินได้ในกรณีตอ่ ไปนี้ (๑) ประสบอบุ ัตเิ หตหุ รือเจ็บปว่ ย ก่อนหรอื ระหวา่ งการประเมนิ สรปุ ผลการศกึ ษา (๒) ถูกควบคมุ ตวั โดยพนักงานเจา้ หนา้ ทตี่ ามกฎหมาย
เลม่ ๑๓๐ ตอนพเิ ศษ ๑๘๕ ง หนา้ ๒๗ ๒๐ ธันวาคม ๒๕๕๖ ราชกจิ จานุเบกษา (๓) เป็นตัวแทนของสถาบนั หรอื สถานประกอบการ ในการเขา้ ร่วมประชุมหรือกิจกรรมพิเศษ อย่างอน่ื โดยไดร้ บั ความยินยอมจากสถาบนั หรอื สถานประกอบการ (๔) มีความจําเป็นอย่างอื่น โดยสถาบันหรือสถานประกอบการพิจารณาแล้วเห็นว่าเป็น ความจําเปน็ อย่างแทจ้ รงิ ขอ้ ๓๖ นักศึกษาท่ีประสงค์จะขออนุญาตเลื่อนการประเมินสรุปผลการศึกษา ต้องยื่นคําร้อง พร้อมท้ังหลักฐานประกอบต่อสถาบันก่อนการประเมินไม่น้อยกว่า ๓ วัน หากไม่สามารถกระทําได้ ใหส้ ถาบนั พิจารณาเปน็ ราย ๆ ไป การอนุญาตให้เล่ือนการประเมินสรุปผลการศึกษาให้สถาบันทําเป็นลายลักษณ์อักษรมอบให้ นักศกึ ษา ข้อ ๓๗ นกั ศึกษาจะขออนญุ าตเลือ่ นการประเมนิ ออกไปได้ไมเ่ กนิ วนั กาํ หนดการประเมินสรุปผล การศึกษาปลายภาคเรียนของภาคเรยี นถดั ไป เวน้ แต่จะไดร้ บั อนญุ าตจากสถาบนั เป็นราย ๆ ไป ข้อ ๓๘ ถ้าเปน็ กรณที ีส่ ามารถกําหนดวนั ประเมนิ ได้ ให้สถาบันกําหนดวันประเมินไว้ในหนังสือ อนุญาตให้เล่ือนการประเมิน แต่ถ้าไม่สามารถกระทําได้ให้เป็นหน้าท่ีของนักศึกษาซ่ึงพร้อมท่ีจะรับ การประเมินย่ืนคําร้องต่อสถาบันเพื่อขอเข้ารับการประเมิน พร้อมท้ังหลักฐานการอนุญาตให้เล่ือน การประเมิน ทั้งน้ี ต้องไมเ่ กินวนั กาํ หนดการประเมินสรปุ ผลการศึกษาปลายภาคเรียนของภาคเรียนถัดไป หากพ้นกําหนดน้ีให้ถือว่าขาดการประเมินสรุปผลการศึกษา และให้สถาบันทําการประเมินตัดสิน ผลการศึกษา เว้นแต่ได้รบั อนุญาตตามขอ้ ๓๗ หมวด ๓ การประเมินผลการศกึ ษา สว่ นท่ี ๑ หลกั การในการประเมนิ ผลการศึกษา ขอ้ ๓๙ ให้สถาบนั มีหนา้ ทแ่ี ละรับผิดชอบในการประเมนิ ผลการศึกษา ข้อ ๔๐ ให้ประเมินผลการศึกษาเป็นรายวิชาตามระบบหน่วยกิต จํานวนหน่วยกิตของแต่ละ รายวิชาใหถ้ ือตามท่กี ําหนดไวใ้ นหลกั สตู รสถาบนั ข้อ ๔๑ ให้สถาบัน หรือสถาบันและสถานประกอบการทําการประเมินผลการศึกษารายวิชา เมือ่ ส้ินภาคเรียน หรือเม่ือสน้ิ สดุ การศกึ ษาหรอื การปฏิบตั ิงานในทุกรายวชิ า
เล่ม ๑๓๐ ตอนพิเศษ ๑๘๕ ง หนา้ ๒๘ ๒๐ ธันวาคม ๒๕๕๖ ราชกจิ จานุเบกษา ข้อ ๔๒ ใหส้ ํานักงานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษารว่ มกบั สถาบัน ดําเนินการส่งเสริมคุณภาพ และควบคมุ มาตรฐานการอาชวี ศกึ ษา ส่วนที่ ๒ วิธกี ารประเมินผลการศกึ ษา ขอ้ ๔๓ การประเมินผลการศึกษาเป็นรายวิชา ให้ดําเนินการประเมินตามสภาพจริงต่อเน่ือง ตลอดภาคเรียนด้านความรู้ ความสามารถและเจตคติจากกิจกรรมการเรียนการสอนและการปฏิบัติงาน ทม่ี อบหมายซงึ่ ครอบคลุมเน้ือหาวชิ า โดยใชเ้ คร่อื งมอื และวิธกี ารหลากหลายตามความเหมาะสม ให้มีการประเมินเพ่ือพัฒนาและการประเมินสรุปผลการศึกษา โดยพิจารณาจากการประเมิน ในแต่ละกิจกรรมและงานทมี่ อบหมาย ในอตั ราส่วนตามความสาํ คญั ของแต่ละกจิ กรรมหรอื งานทีม่ อบหมาย ให้ดําเนินการประเมินผลการศึกษาสําหรับนักศึกษาท่ีศึกษาในรูปแบบการศึกษาระบบทวิภาคี จากการปฏิบัติงานจริงในสถานประกอบการ ตามวิธีการที่ครูฝึกและอาจารย์นิเทศกําหนดโดยความเห็นชอบ ของสถาบัน ขอ้ ๔๔ ให้ใช้ตวั เลขแสดงระดบั ผลการศึกษาในแต่ละรายวชิ า ดงั ต่อไปนี้ ๔.๐ หมายถงึ ผลการศกึ ษาอยใู่ นเกณฑ์ดเี ยย่ี ม ๓.๕ หมายถึง ผลการศกึ ษาอยใู่ นเกณฑด์ มี าก ๓.๐ หมายถึง ผลการศกึ ษาอยใู่ นเกณฑ์ดี ๒.๕ หมายถงึ ผลการศึกษาอยู่ในเกณฑ์ดีพอใช้ ๒.๐ หมายถงึ ผลการศึกษาอยใู่ นเกณฑพ์ อใช้ ๑.๕ หมายถึง ผลการศึกษาอยูใ่ นเกณฑอ์ ่อน ๑.๐ หมายถงึ ผลการศึกษาอยู่ในเกณฑอ์ ่อนมาก ๐ หมายถึง ผลการศึกษาตก ขอ้ ๔๕ รายวชิ าใดที่แสดงระดับผลการศึกษาตามขอ้ ๔๔ ไม่ได้ ให้ใชต้ ัวอักษรตอ่ ไปน้ี ข.ร. หมายถึง ขาดเรียน ไม่มีสิทธิเข้ารับการประเมินสรุปผลการศึกษา เน่ืองจากมี เวลาศกึ ษาต่ํากวา่ ร้อยละ ๘๐ โดยสถาบันพิจารณาแล้วเหน็ ว่าไมใ่ ช่เหตุสดุ วสิ ัย ข.ป. หมายถงึ ขาดการปฏิบัติงาน หรือปฏิบัติงานไม่ครบ โดยสถาบันพิจารณาแล้ว เห็นวา่ ไม่มีเหตุผลสมควร
เลม่ ๑๓๐ ตอนพเิ ศษ ๑๘๕ ง หน้า ๒๙ ๒๐ ธันวาคม ๒๕๕๖ ราชกิจจานุเบกษา ข.ส. หมายถงึ ขาดการประเมนิ สรุปผลการศกึ ษา โดยสถาบันพจิ ารณาแล้วเห็นว่าไม่มี เหตุผลสมควร ถ.ล. หมายถึง ถอนรายวิชาภายหลังกําหนด โดยสถาบันพิจารณาแล้วเห็นว่าไม่มี เหตุผลสมควร ถ.น. หมายถงึ ถอนรายวชิ าภายในกําหนด ถ.พ. หมายถงึ ถกู ส่ังพักการศึกษาในระหวา่ งทม่ี ีการประเมนิ สรุปผลการศกึ ษา ท. หมายถงึ ทจุ รติ ในการสอบหรอื งานท่มี อบหมายให้ทาํ ม.ส. หมายถึง ไม่สมบูรณ์ เน่ืองจากไม่สามารถเข้ารับการประเมินครบทุกครั้ง และหรอื ไมส่ ่งงานอนั เป็นส่วนประกอบของการศกึ ษารายวิชาตามกําหนดดว้ ยเหตุสดุ วสิ ัย ม.ท. หมายถึง ไม่สามารถเข้ารับการประเมินทดแทนการประเมินส่วนที่ขาด ของรายวิชาท่ีไม่สมบรู ณ์ภายในภาคเรยี นถดั ไป ผ. หมายถงึ ไดเ้ ข้ารว่ มกิจกรรมตามกําหนด และผลการประเมนิ ผ่าน ม.ผ. หมายถึง ไมเ่ ข้ารว่ มกิจกรรมตามกาํ หนด และผลการประเมนิ ไม่ผ่าน ม.ก. หมายถึง การศึกษาโดยไม่นับจํานวนหน่วยกิตมารวมเพ่ือการสําเร็จการศึกษา ตามหลกั สตู ร และผลการประเมนิ ผ่าน ข้อ ๔๖ ในกรณีตอ่ ไปน้ีให้ตดั สนิ ผลการศกึ ษาเป็นระดบั ๐ (ศูนย์) เฉพาะรายวิชา (๑) ได้ ข.ร. (๒) ได้ ข.ป. (๓) ได้ ข.ส. (๔) ได้ ถ.ล. (๕) ได้ ถ.พ. (๖) ได้ ท. (๗) ได้ ม.ท. ข้อ ๔๗ นักศึกษาท่ีทําการทุจริตหรือส่อเจตนาทุจริตในการสอบ หรืองานที่มอบหมายให้ทํา ในรายวิชาใด ให้สถาบันพจิ ารณาผลการเรยี นให้ได้คะแนน ๐ (ศนู ย์) เฉพาะคร้งั นน้ั หรือในรายวิชานั้น หรืออาจตัดคะแนนความประพฤตติ ามระเบยี บท่สี ถาบนั กําหนด ขอ้ ๔๘ การคํานวณคา่ ระดบั คะแนนเฉลีย่ ใหป้ ฏิบัติดงั น้ี (๑) ใหน้ ําผลบวกของผลคูณระหว่างจํานวนหน่วยกิตของแต่ละรายวิชากับระดับผลการศึกษา หารด้วยผลบวกของจํานวนหน่วยกิตของแตล่ ะรายวชิ า คดิ ทศนยิ มสองตําแหนง่ ไม่ปดั เศษ
เล่ม ๑๓๐ ตอนพเิ ศษ ๑๘๕ ง หนา้ ๓๐ ๒๐ ธนั วาคม ๒๕๕๖ ราชกิจจานุเบกษา (๒) ให้คํานวณค่าระดับคะแนนเฉล่ีย จากรายวิชาท่ีได้ระดับผลการศึกษาตามข้อ ๔๔ และ ข้อ ๔๖ รายวชิ าท่นี กั ศึกษาเรยี นซํ้า เรยี นแทน ให้ใช้ระดบั ผลการศึกษาสดุ ทา้ ยและนับจํานวนหน่วยกิต มาเปน็ ตวั หารเพียงคร้งั เดยี ว (๓) ใหค้ าํ นวณค่าระดับคะแนนเฉล่ีย ดังนี้ (ก) ค่าระดับคะแนนเฉล่ียประจําภาคเรียน คํานวณจากรายวิชาที่ได้ระดับผลการศึกษา ตาม (๒) เฉพาะในภาคเรียนหนึง่ ๆ (ข) ค่าระดับคะแนนเฉลี่ยสะสม คํานวณจากรายวิชาท่ีเรียนมาท้ังหมดและได้ระดับ ผลการศึกษาตาม (๒) ตง้ั แตส่ องภาคเรยี นข้ึนไป ข้อ ๔๙ ผู้ท่ีได้ ม.ส. เน่อื งจากไม่สามารถเข้ารับการประเมินครบทุกคร้ัง ต้องรับการประเมิน ทดแทนส่วนทขี่ าดภายใน ๑๐ วัน นับแต่วันประกาศผลการศึกษารายวิชา หากพ้นกําหนดน้ีให้ถือว่า ไม่สามารถเข้ารับการประเมินทดแทน (ม.ท.) ยกเว้นมีเหตุสุดวิสัย ให้สถาบัน และหรือสถานประกอบการ พิจารณาเป็นราย ๆ ไป ท้ังนี้ ใหป้ ระเมนิ ทดแทนในรายวิชาทไี่ มส่ มบรู ณ์ใหแ้ ล้วเสรจ็ ภายในภาคเรียนถัดไป ผู้ทไี่ ด้ ม.ส. เน่ืองจากไมส่ ามารถสง่ งานอนั เปน็ สว่ นประกอบของการศึกษารายวิชาตามกําหนด ให้ส่งงานน้ันให้สมบูรณ์ภายใน ๑๐ วัน นับแต่วันประกาศผลการศึกษารายวิชา หากพ้นกําหนดให้ สถาบันหรือสถานประกอบการทําการตัดสินผลการศึกษา ยกเว้นมีเหตุสุดวิสัย ให้สถาบันหรือ สถานประกอบการพิจารณาเปน็ ราย ๆ ไป กรณตี ามวรรคหน่งึ และวรรคสอง ให้อาจารย์ผู้สอนหรือครูฝึกรายงานให้สถาบันหรือผู้ควบคุม การฝึกทราบทกุ ราย ขอ้ ๕๐ นักศึกษาต้องรับการประเมินมาตรฐานวิชาชีพ เม่ือนักศึกษาได้ลงทะเบียนเรียน ครบทกุ รายวิชาตามหลกั สูตร หรอื ตามระยะเวลาท่คี ณะกรรมการประเมินมาตรฐานวชิ าชพี เห็นสมควร ข้อ ๕๑ ให้ระดบั ผลการประเมนิ ในการประเมินมาตรฐานวชิ าชพี ดังนี้ ผ. หมายถงึ ผลการประเมินมาตรฐานวิชาชพี ผ่านเกณฑ์ ม.ผ. หมายถงึ ผลการประเมินมาตรฐานวชิ าชพี ไม่ผา่ นเกณฑ์ สว่ นที่ ๓ การตัดสินผลการศึกษา ขอ้ ๕๒ การตัดสินผลการศกึ ษาใหด้ ําเนนิ การ ดังนี้ (๑) ตัดสินผลการศกึ ษาเป็นรายวชิ า
เล่ม ๑๓๐ ตอนพิเศษ ๑๘๕ ง หน้า ๓๑ ๒๐ ธนั วาคม ๒๕๕๖ ราชกจิ จานุเบกษา (๒) รายวิชาท่ีมีผลการศึกษาตั้งแต่ระดับ ๑ ข้ึนไป ถือว่าประเมินผ่านและให้นับจํานวนหน่วยกิต ของรายวชิ านนั้ เปน็ จํานวนหน่วยกิตสะสม (๓) เมื่อได้ประเมินผลการศึกษาแล้ว นักศึกษาท่ีมีผลการศึกษาระดับ ๐ (ศูนย์) ตามท่ี กาํ หนดไว้ในข้อ ๔๖ และขอ้ ๔๗ ถ้าเป็นรายวิชาบังคับท่ีกําหนดให้ศึกษาในแต่ละสาขาวิชา ให้ศึกษา ซาํ้ รายวชิ านน้ั ถ้าเปน็ รายวิชาเลอื กจะศกึ ษาซ้าํ หรอื ศกึ ษารายวชิ าอืน่ แทนก็ได้ ในกรณีทใ่ี ห้ศึกษารายวิชาอนื่ แทนใหล้ งหมายเหตวุ ่าให้ศกึ ษาแทนรายวิชาใด ขอ้ ๕๓ การตดั สนิ ผลการศึกษาเพอ่ื สําเร็จการศกึ ษาตามหลักสูตร ให้ถือตามเกณฑต์ อ่ ไปนี้ (๑) ประเมินผ่านรายวชิ าในหมวดวิชาตา่ ง ๆ ครบตามที่กําหนดไวใ้ นหลกั สตู รและเง่ือนไขอ่ืน ๆ ทีส่ ถาบันกําหนด (๒) ไดจ้ ํานวนหนว่ ยกิตสะสมไมต่ ่ํากว่าที่กําหนดไว้ในหลักสูตร (๓) ไดค้ ่าระดับคะแนนเฉล่ียสะสมไม่ต่าํ กว่า ๒.๐๐ และผา่ นการประเมนิ มาตรฐานวชิ าชีพ ข้อ ๕๔ นักศึกษาผู้ใดประสงค์จะลงทะเบียนเรียนเพ่ิม เพ่ือประเมินปรับค่าระดับคะแนน เฉล่ียสะสมให้สงู ข้ึน ให้สถาบนั ดําเนินการใหศ้ ึกษาเพมิ่ ภายในเวลาทเี่ ห็นสมควร การนับจาํ นวนหนว่ ยกิตสะสมในกรณนี ี้ ให้นับหนว่ ยกิตทล่ี งทะเบียนเรยี นทกุ รายวิชา ข้อ ๕๕ ให้สถาบันพิจารณาเกณฑ์การพ้นสภาพเน่ืองจากผลการศึกษาของนักศึกษา ตามหลักเกณฑ์ ดังตอ่ ไปนี้ (๑) เมื่อนักศึกษาได้ลงทะเบียนรายวิชาครบ ๒ ภาคเรียน หรือไม่น้อยกว่า ๔๐ หน่วยกิต และได้รับการประเมินใหม่แล้ว หากไดค้ ่าระดบั คะแนนเฉลย่ี สะสมตํ่ากว่า ๑.๗๕ ให้สถาบันพิจารณาว่า ควรให้เรยี นตอ่ ไปหรือพน้ สภาพนักศกึ ษา (๒) เมื่อนักศึกษาได้ลงทะเบียนรายวิชาครบ ๔ ภาคเรียน หรือไม่น้อยกว่า ๗๒ หน่วยกิต และไดร้ บั การประเมนิ ใหมแ่ ลว้ หากได้คา่ ระดบั คะแนนเฉล่ยี สะสมตํ่ากว่า ๑.๙๐ ให้สถาบันพิจารณาว่า ควรใหเ้ รียนต่อไปหรือใหพ้ ้นสภาพนกั ศกึ ษา ส่วนท่ี ๔ การเทยี บโอนผลการศึกษา ข้อ ๕๖ การโอนผลการศึกษา ให้สถาบันที่รับนักศึกษาเข้าศึกษารับโอนผลการศึกษา ทกุ รายวิชา ทไ่ี ดร้ ับความเหน็ ชอบจากสถาบนั
เลม่ ๑๓๐ ตอนพิเศษ ๑๘๕ ง หน้า ๓๒ ๒๐ ธันวาคม ๒๕๕๖ ราชกจิ จานเุ บกษา ขอ้ ๕๗ สถาบนั จะรับโอนผลการศกึ ษารายวชิ าจากหลักสูตรอื่นซ่ึง ก.พ. รับรองคุณวุฒิไม่ตํ่ากว่า ระดับปริญญาตรี หรือจากหลักสูตรอ่ืนใดที่มีรายวิชาลักษณะเดียวกัน แต่เรียกช่ือเป็นอย่างอ่ืนของ สถาบนั การศกึ ษาของรฐั หรอื เอกชน ตามหลกั เกณฑท์ ีส่ ถาบนั กาํ หนดดงั นี้ (๑) เป็นรายวิชาหรือกลุ่มวิชาที่มีเน้ือหาใกล้เคียงกันไม่ตํ่ากว่าร้อยละ ๗๕ และมีจํานวน หน่วยกติ ไมน่ ้อยกวา่ หน่วยกติ ของรายวิชาท่รี ะบุไวใ้ นหลักสูตรที่ใชร้ ะเบยี บน้ี (๒) รายวิชาที่ได้ระดับผลการศึกษาต้ังแต่ ๒.๐ ข้ึนไป สถาบันจะรับโอนผลการศึกษาหรือจะ ทําการประเมินใหมแ่ ล้วจึงรบั โอนรายวิชาน้นั ก็ได้ (๓) การขอโอนผลการศกึ ษาและหน่วยกิต สถาบันจะรับโอนได้ไม่เกิน ๓ ใน ๔ ของจํานวน หนว่ ยกิตรวมของหลักสูตรท่รี บั โอน (๔) รายวชิ าหรือกลุ่มวิชาทร่ี บั โอนผลการศึกษา ตอ้ งนาํ มาคาํ นวณระดับคะแนนเฉลยี่ สะสมด้วย ข้อ ๕๘ การบันทึกผลการศึกษาตามข้อ ๕๖ ขอ้ ๕๗ ลงในใบแสดงผลการศึกษา ให้ใช้รหัสวิชา และชื่อรายวิชาตามหลักสูตร โดยแสดงหมายเหตุว่าเป็นรายวิชาท่ีรับโอนมาจากหลักสูตรอ่ืนหรือจาก การเทยี บรายวิชารหสั วิชาใด ยกเว้นมีขอ้ กําหนดเฉพาะในเรอื่ งนน้ั ๆ ขอ้ ๕๙ สถาบันจะอนุญาตใหน้ กั ศึกษาไปศกึ ษารายวิชาบางรายวิชาจากสถาบันแห่งอื่นในกรณี ท่ีสถาบันไม่สามารถเปิดทําการสอนในรายวิชาน้ันได้ โดยสถาบันพิจารณารายละเอียดเกี่ยวกับเนื้อหา ของหลักสูตรตามทเี่ หน็ สมควร และใหส้ ถาบนั ท้งั สองแห่งทาํ ความตกลงร่วมกันในการจัดสอนและรับโอน ผลการศกึ ษา ขอ้ ๖๐ ในกรณีสถาบันอนุญาตให้นกั ศกึ ษาไปศึกษาจากสถาบันแหง่ อืน่ ตามขอ้ ๕๙ ให้สถาบัน พิจารณารับโอนผลการศึกษาตามท่ีได้รับการประเมินจากสถาบันท่ีนักศึกษาไปศึกษาและบันทึก ผลการศึกษาลงในใบแสดงผลการศึกษา ให้ใช้รหัสวิชา และช่ือรายวิชาของหลักสูตรของสถาบัน โดยระบุว่ารบั โอนจากสถาบนั แห่งอืน่ ยกเวน้ มีข้อกําหนดเฉพาะในเรอื่ งน้ัน ๆ ข้อ ๖๑ นกั ศึกษาท่ีมปี ระสบการณใ์ นงานอาชีพ หรือฝึกงานในสถานประกอบการ หรือทํางาน ในอาชีพน้ันอยแู่ ล้ว หรอื มคี วามรู้ในรายวิชาตามหลักสตู รน้ีมาก่อนเข้าศึกษาหรือเข้าศึกษาแล้ว แต่ขอไปศึกษา หรอื ฝึกปฏิบัติในสถานประกอบการ จะขอเทียบโอนความรู้และประสบการณ์การทํางานในสถานประกอบการ เพื่อนับจํานวนหน่วยกิตสะสมสําหรับรายวิชานั้นได้ ตามหลักเกณฑ์ท่ีสํานักงานคณะกรรมการ การอาชวี ศกึ ษากําหนด ถ้าผลการประเมินไม่ผ่าน นักศึกษาสามารถลงทะเบียนเรียนปกติในภาคเรียนน้ันหรือ ขอประเมนิ เทียบโอนความร้แู ละประสบการณ์ในภาคเรียนต่อไปได้
เล่ม ๑๓๐ ตอนพเิ ศษ ๑๘๕ ง หน้า ๓๓ ๒๐ ธันวาคม ๒๕๕๖ ราชกิจจานุเบกษา ข้อ ๖๒ นักศึกษาทสี่ ถาบันให้พ้นสภาพนกั ศกึ ษาตามข้อ ๕๕ แล้วสอบเข้าศึกษาใหม่ในสถาบันเดิม หรือสถาบนั แห่งใหมไ่ ด้ ใหส้ ถาบันรบั โอนผลการศกึ ษาเฉพาะรายวชิ าทย่ี งั ปรากฏอยูใ่ นหลกั สูตรน้ี และได้ ระดบั ผลการศึกษาตง้ั แต่ ๒.๐ ข้นึ ไป ข้อ ๖๓ นักศึกษาท่ขี อโอนผลการศกึ ษารายวิชาตามข้อ ๕๗ หรือขอประเมินเทียบโอนความรู้ และประสบการณ์ ตอ้ งลงทะเบียนเรียนรายวชิ าในสถาบนั นัน้ ไม่นอ้ ยกว่า ๑ ภาคเรียน หมวด ๔ การขอสําเร็จการศึกษาและการรบั ปรญิ ญา สว่ นท่ี ๑ การขอสาํ เรจ็ การศึกษาและการขอขึ้นทะเบยี นบัณฑิต ข้อ ๖๔ นักศึกษาทีม่ สี ิทธิขอสําเรจ็ การศกึ ษา ต้องมีคุณสมบตั ิดงั นี้ (๑) ศึกษารายวิชาได้ครบตามหลักสูตร และข้อกําหนดของสาขาน้ัน ท้ังน้ี ต้องไม่เกิน ๔ ปกี ารศึกษาสําหรบั การลงทะเบยี นเรยี นเต็มเวลา หรือไมเ่ กนิ ๖ ปีการศึกษา สาํ หรับการลงทะเบยี นเรียน ไม่เต็มเวลา นับต้ังแต่วันขึ้นทะเบียนเป็นนักศึกษา โดยไม่นับภาคเรียนที่ลาพักการเรียน หรือถูกส่ัง พกั การเรยี นรวมเข้าดว้ ย (๒) มหี น่วยกติ สะสมไมต่ ํ่ากวา่ ท่หี ลกั สตู รกําหนดไว้ และผา่ นการประเมนิ มาตรฐานวชิ าชพี (๓) มีคณุ สมบัติเหมาะสมกับการเป็นบัณฑิต และไม่มหี น้ีสนิ ผกู พนั ต่อสถาบัน (๔) ตอ้ งยนื่ คําร้องขอสาํ เรจ็ การศึกษาในภาคเรยี นท่ีนักศกึ ษาคาดวา่ จะสาํ เร็จการศึกษา ภายใน ๓๐ วัน นบั แต่วนั เปิดภาคเรียนนน้ั ตามประกาศของสถาบัน (๕) นักศึกษาท่ีไม่ดําเนินการตามข้อ (๔) จะไม่ได้รับการพิจารณาเสนอชื่อเพื่อรับปริญญา ในแต่ละภาคเรยี นนัน้ และจะตอ้ งชําระค่ารักษาสภาพการเป็นนักศึกษาจนถึงภาคเรียนท่ีนักศึกษาย่ืนคําร้องขอ สาํ เร็จการศกึ ษา ขอ้ ๖๕ นักศึกษาท่ีสําเร็จการศึกษาต้องขอข้ึนทะเบียนบัณฑิต โดยย่ืนคําร้องขอขึ้นทะเบียน บัณฑติ พร้อมชําระเงนิ ค่าขึ้นทะเบยี นบัณฑิต ตามขนั้ ตอนที่สถาบนั กาํ หนด ข้อ ๖๖ การเสนอชื่อเพอ่ื รับปรญิ ญาให้เปน็ ไปตามประกาศของสถาบัน
เล่ม ๑๓๐ ตอนพเิ ศษ ๑๘๕ ง หนา้ ๓๔ ๒๐ ธันวาคม ๒๕๕๖ ราชกิจจานเุ บกษา ส่วนท่ี ๒ ปรญิ ญาเกยี รตินิยม ข้อ ๖๗ สภาสถาบันโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการการอาชีวศึกษาอาจออกข้อบังคับ กําหนดให้ผสู้ าํ เรจ็ การศึกษาระดับปรญิ ญาตรีเกียรตินิยมอันดับหน่ึงหรือปริญญาตรีเกียรตินิยมอันดับสอง ไดภ้ ายใต้แนวทางดังน้ี ลงทะเบยี นรายวิชาในสถาบนั ไม่ตา่ํ กวา่ ๗๒ หน่วยกิต (๑) สําเร็จการศกึ ษาในระยะเวลาที่หลกั สูตรกาํ หนด ท้งั น้ี ไมน่ ับระยะเวลาที่นักศึกษาขอลาพัก การศกึ ษาตามระเบยี บน้ี (๒) ตอ้ งไมม่ ีผลการศกึ ษาอยใู่ นเกณฑ์ตา่ํ กว่าพอใช้ในรายวิชาใดวชิ าหนงึ่ (๓) นกั ศกึ ษาผ้สู าํ เร็จการศกึ ษาทม่ี ีคณุ สมบัติครบถ้วนตาม (๑) และ (๒) ท่ีมีค่าระดับคะแนน เฉลยี่ สะสมไมต่ ่าํ กว่า ๓.๗๕ ไดร้ บั การเสนอช่ือเพ่ือรบั ปรญิ ญาตรเี กียรตินยิ มอนั ดับหน่งึ (๔) นักศึกษาผู้สาํ เรจ็ การศกึ ษาทมี่ ีคุณสมบัติครบถว้ นตาม (๑) และ (๒) ท่ีมีค่าคะแนนเฉลี่ยสะสม ไมต่ ่ํากวา่ ๓.๕๐ ไดร้ ับการเสนอช่อื เพื่อรับปริญญาตรเี กียรตนิ ิยมอนั ดบั สอง (๕) การเสนอช่ือรบั ปรญิ ญาเกยี รตินิยม ให้สถาบันนําเสนอต่อสภาสถาบันในคราวเดียวกันกับ ทีเ่ สนอขออนมุ ตั ปิ รญิ ญาประจาํ ภาคเรียนนนั้ ขอ้ ๖๘ ในกรณีท่ีไม่สามารถปฏิบัติตามระเบียบนี้ได้ หรือมีความจําเป็นต้องปฏิบัตินอกเหนือจาก ท่ีกําหนดไว้ในระเบียบน้ี ให้อยู่ในดุลยพินิจของคณะกรรมการการอาชีวศึกษาท่ีจะพิจารณาวินิจฉัย และใหถ้ อื เปน็ ท่ีสุด ประกาศ ณ วนั ท่ี ๒๘ พฤศจกิ ายน พ.ศ. ๒๕๕๖ จาตรุ นต์ ฉายแสง รฐั มนตรวี ่าการกระทรวงศึกษาธกิ าร
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115