Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หนังสือประเพณีไทย

หนังสือประเพณีไทย

Published by Phasinee Tamjit, 2020-02-04 02:01:35

Description: ประเพณีต่างๆของไทย

Search

Read the Text Version

ประเพณีไทยอนั ดีงามท่ีสบื ทอดตอ่ กนั มานนั้ ล้วนแตกตา่ งกนั ไปตามความเช่ือ ความผกู ผนั ของผ้คู นตอ่ พทุ ธศาสนาและ การดารงชีวิตท่ีประสานกบั ฤดกู าลและธรรมชาตอิ ยา่ งชาญ ฉลาดของชาวบ้าน ในแตล่ ะท้องถ่ินทวั่ แผน่ ดินไทย เช่น ภาคเหนือประเพณีบวชลกู แก้วของคนใต้หรือชาวไทยใหญ่ที่ จงั หวดั แมฮ่ อ่ งสอน ภาคอีสานประเพณีบญุ บงั้ ไฟของชาว จงั หวดั นครศรีธรรมราช อารยธรรมไทยยงั นามาซงึ่ การ ทอ่ งเที่ยว เป็นท่ีรู้จกั และประทบั ใจแก่ชาติอนื่ นบั เป็นมรดก อนั ลา้ คา่ ท่ีเราคนไทยควรอนรุ ักษ์และสบื สานให้ยิ่งใหญ่ ตลอดไป

คำนำ ก สารบญั ข ประเพณีลอยกระทง 1 ประเพณีวิง่ ควาย ประเพณีสงกรานต์ 2 ประเพณีแหน่ างแมว ประเพณียี่เป็ ง 3 ประเพณีผีตาโขน ประเพณีอ้มุ พระดานา้ 4 ประเพณีโยนบวั ประเพณีบญุ บงั้ ไฟ 5 6 7 8 9

ประเพณลี อยกระทง เป็นประเพณีโบราณของอินเดียที่ประเทศไทยรับเขา้ มาปฏิบตั ิ แต่ไม่ ปรากฏหลกั ฐานชดั เจนวา่ ทากนั มาต้งั แต่เมื่อไหร่ เท่าท่ีปรากฏกล่าวไดว้ า่ มีมาต้งั สมยั สุโขทยั เป็น ราชธานี พระบาทสมเดจ็ พระจุลจอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั ทรงสนั นิษฐานวา่ เดิมทีเดียวเห็นจะเป็นพธิ ี ของพราหมณ์กระทาเพื่อบูชาพระผเู้ ป็นเจา้ ท้งั สาม คือ พระอิศวร พระนารายณ์ และพระพรหม ต่อมาไดถ้ ือตามแนวทางพระพุทธศาสนามีการชกั โคมเพอ่ื บชู าพระบรมสารีริกธาตุพระจุฬามณี ในช้นั ดาวดึงส์ และลอยโคมเพือ่ บชู ารอยพระพทุ ธบาท ซ่ึงประดิษฐาน ณ หาดทรายแม่น้านมั ม ทา (แม่น้านมั มทา เป็นแม่น้าท่ีคู่ขนานกบั ทิวเขาวนิ ธยั ไหลลงภาคตะวนั ตกของอินเดียแบ่งเขต อินเดียออกเป็ นภาคเหนือและภาคใต้

ประเพณวี งิ่ ควาย เป็นงานประเพณีประจาจงั หวดั ชลบุรี เป็นหน่ึงในประเพณีอนั เป็นเอกลกั ษณ์ ของจงั หวดั ชลบุรีที่มีการจดั มากวา่ 100 ปี แลว้ ประเพณีวงิ่ ควาย เป็นประเพณีที่จดั ข้ึนเป็น ประจาทุกปี ในวนั ข้ึน 14 ค่า เดือน11 หรือก่อนออกพรรษา 1 วนั เพือ่ เป็นการทาขวญั ควาย และใหค้ วายไดพ้ กั ผอ่ นหลงั จากการทานามายาวนาน นอกจากน้ีประเพณีวงิ่ ควายยงั เป็นการ แสดงความกตญั ญูรู้คุณต่อควายท่ีเป็นสัตวม์ ีบุญคุณต่อชาวนาและคนไทยอีกท้งั ยงั เพ่ือให้ ชาวบา้ นไดม้ ีโอกาสพกั ผอ่ นมาพบปะสงั สรรคก์ นั ในงานวง่ิ ควาย

สงกรานต์ คือ ประเพณีของประเทศไทย ลาว กมั พชู า พม่า ชนกลุ่มนอ้ ยชาวไตแถบเวยี ดนาม และมนฑลยนู านของจีน รวมถึงศรีลงั กา และประเทศทางตะวนั ออกของประเทศ อินเดีย สันนิษฐานกนั วา่ ประเพณีสงกรานตน์ ้นั ไดร้ ับวฒั นธรรมมาจากเทศกาลโฮลีในอินเดีย แต่เทศกาลโฮลีจะใชก้ ารสาดสีแทน โดยจะจดั ใหม้ ีข้ึนในทุกวนั แรม 1 ค่า เดือน 4 ซ่ึงกค็ ือเดือน มีนาคม

ประเพณแี ห่นางแมวขอฝน เพือ่ นๆ หลายๆ คนคงจะเคยไดย้ นิ มานะครับวา่ มีวธิ ีการ ขอฝน อยู่ อยา่ งหน่ึงคือ การ แห่นางแมว ซ่ึงเป็นพธิ ีออ้ นวอนขอฝนตามความเช่ือของชาวอีสาน ประเพณี แห่นางแมวขอฝน ซ่ึงจะจดั ทาข้ึนในระหวา่ งเดือน 7- 9 และนิยมทากนั ทวั่ ไปในภาคอีสาน แต่ก็ ไม่จดั วา่ เป็นประเพณีประจาปี จะทาเฉพาะในปี ใดท่ีฟ้ าฝนไม่ตกตอ้ งตามฤดูกาล

ประเพณยี เ่ี ป็ ง หรือประเพณีเดือนยี่ คาวา่ ยี่ ในภาษาลา้ นนาหมายถึงเดือน ๒ ส่วนคา วา่ เป็ง หมายถึง คืนท่ีมีพระจนั ทร์เตม็ ดวง ดงั น้นั ยเ่ี ป็ง จึงหมายถึงวนั เพญ็ เดือนยี่ ซ่ึงตรงกบั วนั เพญ็ เดือนสิบสองของภาคกลาง การนบั เดือนของลา้ นนาน้นั เร็วกวา่ ภาคกลาง ๒ เดือน อนั เน่ืองมาจากการนบั เดือนของชาวลา้ นนา เป็นการนบั ทางจนั ทรคติแบบจีน ประเพณียเี่ ป็ง ถือเป็น ประเพณีที่สนุกสนานร่ืนเริงของชาวลา้ นนาในยามฤดูปลายฝนตน้ หนาว ทอ้ งทุ่งขา้ วออกรวง เหลืองอร่าม บางแห่งอยใู่ นระหวา่ งเกบ็ เกี่ยว ทอ้ งฟ้ าปลอดโปร่งแจ่มใสยง่ิ นกั

ผตี าโขน เป็นเทศกาลท่ีจดั ข้ึนในอาเภอด่านซา้ ย จงั หวดั เลย ซ่ึงต้งั อยทู่ างภาคอีสาน ของ ประเทศไทย เป็นเทศกาลท่ีเกิดข้ึนในเดือน 7[1] ซ่ึงมกั จดั มากกวา่ สามวนั ในบางช่วงระหวา่ งเดือน มีนาคม และกรกฎาคม โดยจดั ข้ึนในวนั ที่ไดร้ ับเลือกใหจ้ ดั ข้ึนในแต่ละปี โดยคนทรงประจาเมือง ซ่ึงงานบุญประเพณีพ้ืนบา้ นน้ีมีชื่อเรียกวา่ บญุ หลวง[2] โดยแบ่งออกเป็นเทศกาล ผตี าโขน , ประเพณีบุญบ้งั ไฟ และงานบุญหลวง (หรือ บุญผะเหวด)[3] ผตี าโขน น้นั เดิมมีชื่อเรียกวา่ ผีตามคน เป็นเทศกาลท่ีไดร้ ับอิทธิพลมาจากมหาเวสสันดร ชาดก ชาดกในทางพระพทุ ธศาสนา ท่ีวา่ ถึงพระเวสสันดร และพระนางมทั รี จะเดินทางออกจาก ป่ ากลบั สู่เมืองหลวง บรรดาสัตวป์ ่ ารวมถึงภูติผที ่ีอาศยั อยใู่ นป่ าน้นั ไดอ้ อกมาส่งเสดจ็ ดว้ ยอาลยั

จุดกาเนิดของพิธีกรรม “อุม้ พระดาน้า” ประเพณีที่มีตานานความเชื่อเล่าขานสืบทอดมาวา่ สมยั เม่ือราว 400 ปี ท่ีผา่ นมามชี าวเพชรบูรณ์กลุ่มหน่ึง ไดอ้ อกหาปลาในแม่น้าป่ าสกั และในวนั น้นั ไดเ้ กิดเหตุการณ์ประหลาดคือ ต้งั แต่เชา้ ยนั บ่ายไม่มีใครจบั ปลาไดส้ ักตวั เดียว เลยพากนั นงั่ ปรับ ทุกขร์ ิมตลิ่ง ท่ีบริเวณ “วงั มะขามแฟบ” อยทู่ างตอนเหนือของตวั เมืองเพชร บูรณ์ จากน้นั สายน้า ที่ไหลเช่ียวไดห้ ยดุ น่ิง พร้อมกบั มีพรายน้าค่อย ๆ ผดุ ข้ึนมา และกลายเป็นวงั น้าวนขนาดใหญ่ รวมท้งั มีพระพุทธรูปองคห์ น่ึงลอย ข้ึนมาเหนือน้า แสดงอาการดาผดุ ดาวา่ ยอยา่ งน่าอศั จรรย์ ชาวบา้ นคนหน่ึงในกลุ่มจึงลงไปอญั เชิญข้ึนมาประดิษฐานท่ีวดั ไตรภูมิ

ตานานกล่าววา่ หลวงพอ่ โตลอยตามน้าเจา้ พระยา มาหยดุ ท่ีปากคลองสาโรงลอยอยแู่ ถว ๆ น้นั เป็นการแสดงเจตจานงอนั แน่วแน่วา่ จะจาพรรษาอยลู่ ะแวกน้นั อยา่ งแน่นอน ชาวบา้ นจึงช่วยกนั ชกั ร้ังนิมนตเ์ ขา้ มาจนถึงวดั บางพลีใหญ่ใน ซ่ึงเป็นที่ประดิษฐานปัจจุบนั แลว้ อญั เชิญข้ึนไวใ้ น โบสถ์ หลวงพอ่ โตจึงเป็นหลวงพอ่ ของชาวบางพลีต้งั แต่น้นั มา

ประเพณีบุญบ้งั ไฟ เป็นหน่ึงในฮีตสิบสองเดือนของชาวอีสาน นิยมทากนั ในเดือน 6 หรือ เดือน 7 อนั เป็นช่วงฤดูฝนเขา้ สู่การทานา ตกกลา้ หวา่ น ไถ เพื่อเป็นการบชู าเทพยดาอารักษห์ ลกั บา้ นหลกั เมืองและบชู าพญาแถนขอฝนใหต้ กตอ้ งตามฤดูกาล โดยมีความเช่ือวา่ เม่ือจดั งานน้ีแลว้ เทพยดาและสิ่งศกั ด์ิสิทธ์ิท้งั หลายจะดลบนั ดาลใหฝ้ นตกตอ้ งตามฤดูกาล ทาใหพ้ ืชพนั ธุ์ ธญั ญาหารอุดมสมบูรณ์

ขอบคุณเร่ืองจาก: topten22photo/shutterstock.com

ด.ญ.ภาสินี ตามจิตต์ เลขที่30 ช้นั ม1/2 ด.ญ. ธญั ญารัตน์ คาลือ เลขท่ี20 ช้นั ม1/2 คุณครู ประภสั สร ก๋าเขียว วชิ า การสร้างหนงั สืออิเลก็ ทรอนิกส์ โรงเรียนแจห้ ่มวทิ ยา อาเภอแจห้ ่ม จงั หวดั ลาปาง สานกั งานเขตพ้นื ท่ีการศึกษามธั ยมศกึ ษาเขต 35 ภาคเรียนที่ 2 ปี การศึกษา 2562






Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook