Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือป้องกันอัคคีภัยและอพยพหนีไฟปี65

คู่มือป้องกันอัคคีภัยและอพยพหนีไฟปี65

Published by dorm sdu, 2022-08-02 07:31:30

Description: คู่มือป้องกันอัคคีภัยและอพยพหนีไฟปี65

Search

Read the Text Version

ป้องกันอัคคีภัยและอพยพหนีไฟ ศูนย์วิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสวนดุสิต ประจำปี 2565 จัดทำโดย สำนักงานบริการอาคารวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสวนดุสิต ถนนสิรินธร

บทนํา ดวยสํานักงานบริการอาคารวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยสวนดุสิต ไดจัดทํา โครงการ “ปองกันอัคคีภัย และอพยพหนีไฟศูนยวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยสวนดุสิต ประจําป 2565” โดยมีวัตถุประสงค เพื่อเตรียม ความพรอมดานอุปกรณชวยเหลือและระงับเหตุ ข้ันตอนการอพยพหนีไฟ ทักษะการใชงานอุปกรณดับเพลิง และภาคปฏิบัติจําลองสถานการณเ พลิงไหมและอพยพหนไี ฟ ลดการสูญเสียในชวี ิตและทรัพยสนิ เม่ือเกิดอัคคีภัย ในวันศุกรท่ี 22 กรกฎาคม 2565 ณ HALL4 อาคารเฉลิมพระเกียรติ 50 พรรษา มหาวชิราลงกรณ ศูนยว ทิ ยาศาสตร มหาวิทยาลัยสวนดสุ ิต ทางสํานักงานบริการอาคารวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยสวนดุสิต ตระหนักถึงความสําคัญของ ความปลอดภัยของบุคลากรและนักศึกษาภายในอาคารท่ีพัก จึงสนับสนุนใหมีการดําเนินการเพื่อเสริมสรางความรู ความเขาใจเรื่องความปลอดภัยปลูกฝงทัศนคติและกระตุนจติ สํานึกความปลอดภัยใหเ กิดแกบุคลากรและนักศึกษา ทุกระดบั รวมทั้งผทู สี่ นใจ

สารบัญ หนา เรื่อง 2 2 ปองกนั อคั คีภัยและอพยพหนไี ฟอาคารท่ีพักศนู ยว ทิ ยาศาสตร ประจําป 2565 2 - หลักการและเหตุผล 2 - วัตถปุ ระสงค 2 - วนั /เวลาดําเนินการ 2 - พ้นื ท่ดี ําเนินการ 3 - หนวยงานที่รบั ผดิ ชอบ 3 1. การอบรมความรกู ารปองกนั อคั คภี ัยและการฝก ซอ มอพยพหนีไฟ 3 3 1.1 ความรเู กี่ยวกับทฤษฎไี ฟ 4-5 - สาเหตุของการเกิดเพลิงไหม 5 - องคป ระกอบของการเกิดของไฟ 5-6 1.2 ความรเู ก่ียวกบั ประเภทของไฟ 7 1.3 ประเภทของถังดบั เพลิงและวิธกี ารใชถ ังดับเพลงิ 7 - ประเภทของถังดบั เพลิง 8 - วิธีการใชถ ังดบั เพลงิ 8-14 - วิธกี ารตรวจสอบถังดบั เพลงิ 14-18 1.4 การปฐมพยาบาลเบ้ืองตนและการชวยชีวติ 19 - การเคลอื่ นยา ยผบู าดเจ็บ 20 - การชวยฟนคืนชพี CPR 20 1.5 ความรเู ก่ยี วกบั แกสหุงตม (LPG) 20 - คุณสมบตั ิของแกส หุงตม (LPG) 21 - ขอควรระวงั วิธีการติดตัง้ และใชแกสในการประกอบอาหาร 22 - ขน้ั ตอนการปดเตาแกส ท่ถี กู ตอ ง 22 - วิธีการตรวจสอบถงั แกสหงุ ตม (LPG) 23 2. การฝกปฏิบัตกิ ารดบั เพลงิ เบื้องตน และการอพยพหนไี ฟ 24 - การวางแผนซอ มอพยพหนีไฟ - แผนผงั การปฏิบัติเมอ่ื ประสบเหตุเพลิงไหมในอาคาร 25 - แผนผงั การระงับอัคคภี ยั การอพยพหนีไฟ 26-31 ภาคผนวก ภาพกิจกรรมการปอ งกนั อัคคภี ยั และอพยพหนไี ฟศูนยว ิทยาศาสตร มหาวิทยาลยั สวนดุสติ ประจําป 2565 ปอ งกันอคั คีภยั และอพยพหนไี ฟศูนยว ิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยสวนดสุ ติ ประจาํ ป 2565 1

ปอ งกันอคั คภี ยั และอพยพหนไี ฟศูนยว ทิ ยาศาสตร มหาวิทยาลัยสวนดุสติ ประจําป 2565 หลักการและเหตุผล ปจจุบันหนวยงานของรัฐและรัฐวิสาหกิจสวนใหญใหความสําคัญในเร่ืองความปลอดภัยในชีวิตและ ทรัพยสินขององคกรที่อาจเกิดขึ้นจากอุบัติภัยตางๆ โดยเฉพาะอยางยิ่ง จากสภาพแวดลอมท่ีเปล่ียนแปลงไป เชน ความแปรปรวนของภูมิอากาศความไมสมดุลของระบบนิเวศนจึงเกิดอุบัติภัยท่ีเกิดจากอัคคีภัย และแผนดิน ไหว ซ่ึงอาจทําใหเกิดการสูญเสียชีวิตและทรัพยสินของหนวยงาน เรื่องการปองกันและระงับอัคคีภัยในสถาน ประกอบการเพ่ือความปลอดภัยการทํางานสําหรับลูกจาง และปญหาเรื่องภัยพิบัติเปนสาธารณภัยในประเทศไทย ท่มี ีแนวโนม ทจี ะเกิดขึ้นอยางตอเนื่องและรนุ แรงมากขนึ้ เพ่ือความปลอดภัยในการทาํ งานสาํ หรับบุคลากร อาจารย และนักศึกษามหาวิทยาลัย สํานักงานบริการอาคารวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยสวนดุสิตเห็นถึงความจําเปน จัดโครงการอบรม “การปองกันอคั คภี ยั และอพยพหนีไฟศนู ยวิทยาศาสตร มหาวิทยาลยั สวนดสุ ติ ประจําป 2565” เพอ่ื ใหบุคลากรทกุ คนในสถานศกึ ษาไดรับความปลอดภยั และสามารถปฏิบัติตนเมือ่ อยูในภาวะฉุกเฉินในเบอ้ื งตนได อยางถกู ตองและปลอดภัย วัตถุประสงค 1. เพ่ือใหถูกตองตามกฎกระทรวงกําหนดมาตรฐานในการบริหารจัดการ และดําเนินการดาน ความปลอดภยั อาชวี อนามยั และสภาพแวดลอ มในการทาํ งานเกีย่ วกับการปองกันและระงบั อคั คีภยั 2. เพอื่ เตรียมความพรอ มในสถานการณฉุกเฉินเกยี่ วกบั อัคคีภัยในการสถานท่ีปฏิบตั งิ านและอาคารท่ีพัก 3. เพื่อใหบุคลากรและนักศึกษามีความรูความสามารถรับมือกับเหตุฉุกเฉินมากขึ้น รวมทั้งมีสวนรวม ในการแกไขสถานการณฉ กุ เฉนิ ซงึ่ จะชวยลดความ สญู เสียที่อาจจะมผี ลกระทบตอ ชวี ิตทรัพยสนิ และส่ิงแวดลอ ม วัน/เวลาดําเนินการ วนั ศกุ รท ่ี 22 กรกฎาคม 2565 เวลา 09.00 – 16.30 น. พืน้ ท่ีดําเนินการ HALL4 อาคารเฉลิมพระเกยี รติ 50 พรรษา มหาวชริ าลงกรณ ศนู ยวทิ ยาศาสตร มหาวิทยาลัยสวนดสุ ติ หนวยงานทร่ี ับผิดชอบ สํานกั งานบริการอาคารวิทยาศาสตร มหาวิทยาลยั สวนดสุ ิต ปอ งกันอคั คภี ยั และอพยพหนีไฟศูนยว ทิ ยาศาสตร มหาวิทยาลยั สวนดสุ ิต ประจาํ ป 2565 2

1. การอบรมความรกู ารปอ งกันอัคคีภัยและการฝกซอ มอพยพหนไี ฟ สํานักงานบริการอาคารวิทยาศาสตร ไดประสานงานกับสํานักปองกันและบรรเทาสาธารณภัยสถานี ดั บ เพลิงแ ละกู ภัย บ างออ ใน การ จัดอบร มคว ามรูก ารปองกันอัคคี ภั ยแ ละกา รฝกอ พย พ ห นีไ ฟ โดย นายกลวชั ร ราโสภา ตาํ แหนง เจา พนกั งานปองกนั และบรรเทาสาธารณภัยปฏิบัติการ สถานีดับเพลงิ และกูภัย บางออ กองปฏิบัติการดับเพลิงและกูภัย5 สํานักปองกันและบรรเทาสาธารณภัย กรุงเทพมหานคร วิทยากร ผบู รรยายและฝก ปฏิบัติ ดังน้ี 1.1 ความรูเกย่ี วกับทฤษฎไี ฟ สาเหตุของการเกดิ เพลงิ ไหม แบง เปน ๒ ประเภท 1. เกดิ จากการกระทําของมนุษย (เกิดจากความประมาท) - การจดุ ธูปเทยี นไหวพระ - การสูบบหุ ร่ี - การใชแ กสประกอบอาหาร - การใชไ ฟฟา - การวางเพลิง 2. เกดิ จากธรรมชาติ - ฟา ผา - การเสียดสขี องตนไม องคประกอบของการเกิดของไฟ การเกิดของไฟ ไฟเกิดจากการรวมตัวขององคป ระกอบ 3 ประการทร่ี วมตวั กนั จนไดส ัดสวน ไดแ ก 1. เชื้อเพลงิ (FUEL) คอื ส่งิ ที่ติดไปและลุกไหมไ ด 1.1 ประเภทของแข็ง เชน ไม กระดาษ พลาสติก เสอ้ื ผาฯลฯ 1.2 ประเภทของเหลว เชน นํ้ามนั สารเคมี ฯลฯ 1.3 ประเภทกาซ เชน กา ซหุงตม 2. ความรอน (HEAT) คือมีความรอนที่เหมาะสมและ เพียงพอ สามารถทาํ อุณหภูมิสูงจนทาํ ใหส ารเช้ือเพลิงถงึ จดุ ตดิ ไฟ เชน ทอรอน สะเก็ดไฟ ลูกไฟจากการเช่ือม เคร่ืองจักรรอน ชิ้นงานรอน ไฟฟา ชอ็ ต เปลวไฟ บุหร่ี ฟาผาฯลฯ 3. อากาศ (OXYGEN) ในบรรยากาศทั่วไปมีออกซิเจน ประมาณ 21% อยูแลว ซึ่งสามารถชวยติดไฟได ปองกนั อคั คภี ัยและอพยพหนีไฟศนู ยวทิ ยาศาสตร มหาวิทยาลัยสวนดสุ ติ ประจําป 2565 3

1.2 ความรูเ ก่ียวกับประเภทของไฟ สญั ลักษณ/ รูปภาพ ประเภทของไฟ 1. Class A Fire คือไฟไหมทั่วไป คือเกิดเหตุ ไฟไหมบนผิววัสดุติดไฟทวั่ ไป เชน ไม เสื้อผา ยาง และพลาสติกบางประเภท ซึ่งไฟประเภทนี้ สามารถใชนํ้าในการดับไฟได รวมถึงถังดับเพลิง ท่วั ไปกใ็ ชดบั ไฟประเภทนไ้ี ดเชนกัน 2.Class B Fire คือไฟไหมบนของเหลวที่ติดไฟ ได เชน น้ํามันเชื้อเพลิง ไฮโดรคารบ อน แอลกฮอล หรือสารละลายเคมีตางๆ รวมถึงกาซ ไวไฟชนิด วธิ ดี ับไฟประเภทนี้คือ กําจัดออกซิเจน ทําใหอับ อากาศ โดยคลุมดับ ใชผงเคมีแหงหรือใชโฟม ดับเพลิง 3. Class C Fire คือไฟไหมท ี่เกิดจากไฟฟา หรอื อุปกรณไฟฟา ซึ่งแนนอนวาไฟประเภทนี้ไม สามารถใชน ํ้าได วิธีดับไฟประเภทน้ีคอื การตัดกระแสไฟฟา แลว จึงใชกาซคารบอนไดออกไซด CO2 หรือนํ้ายา เหลวระเหยทีไ่ มมี CFC ไลออกซเิ จนออกไป 4. Class D Fire คือไฟไหมบนสสารที่เปน โลหะ เชน อลูมิเนียม แม็กนีเซียม โซเดียมฯลฯ ซ่ึงไฟประเภทนี้จะมีอุณหภูมิสูงมาก (อาจถึง 1000 องศาเซลเซียส) และยังมีเปลวไฟนอยมาก จนสังเกตเห็นไดยาก การใชน้ําดับไฟประเภทน้ี เปน สิง่ ที่หามเด็ดขาด วิธีเดียวในการดบั ไฟคือ ใชสารดบั ไฟทเี่ หมาะสม โดยทั่วไปจะใช ผงโซเดียมคลอไรด หรือ ผงแกรไฟต ในการดับไฟ ปอ งกนั อคั คีภัยและอพยพหนไี ฟศนู ยวทิ ยาศาสตร มหาวิทยาลัยสวนดสุ ิต ประจาํ ป 2565 4

1.2 ความรเู กี่ยวกับประเภทของไฟ (ตอ ) สญั ลกั ษณ/ รูปภาพ ประเภทของไฟ 5. Class K Fire คือไฟที่เกิดจากน้ํามันท่ีติดไฟ ยาก เชน น้ํามันทําอาหาร นํ้ามันพืช ไขมันสัตว ติดไฟ วธิ ดี บั ไฟประเภทนค้ี ือ การกําจัดออกซิเจน การ ทาํ ใหอับอากาศ ใชสารดบั เพลงิ ชนดิ น้าํ ผสมสาร โปตสั เซียมอะซเิ ตท 1.3 ประเภทของถังดบั เพลงิ และวิธกี ารใชถ ังดับเพลิง ประเภทของถังดับเพลิง รูปภาพ ประเภทไฟทใ่ี ชด ับ 1. ชนดิ ผงเคมีแหง (Dry Chemical) สามารถดับไฟไดเกือบทุกประเภท A B C ยกเวน CLASS K ราคาถูกหาซื้อ งาย แตม ขี อเสียคอื เม่อื ฉีดออกมาจะฟุง กระจาย และเม่ือเราทําการฉีดแลว จะฉีดจนหมดหรือไมหมดถัง แรงดัน จะตก ไมสามารถใชงานไดอีก ตองสง บรรจุใหม ถงั สีแดง 2.ชนิดน้ํายาเหลวระเหย (BF2000 NON-CFC) สามารถดับไฟไดเกือบทุก ป ร ะ เ ภ ท A B C ย ก เ ว น CLASS K ราคาถูก หาซื้องาย ไมมีสี ไมมีกล่ิน ไมติดไฟ ไมเปนสื่อนําไฟฟา เม่ือฉีดออกจะเปนไอระเหยสีขาว และ จ ะ ร ะ เ ห ย ไ ป เ อ ง โ ด ย ไ ม ทํ า ใ ห วั ส ดุ อุปกรณไฟฟาเสียหาย และไมทําให สกปรกในบรเิ วณ ทใ่ี ชงาน ถังสีเขียว ปองกันอคั คภี ัยและอพยพหนไี ฟศนู ยวทิ ยาศาสตร มหาวิทยาลยั สวนดุสติ ประจําป 2565 5

1.3 ประเภทของถงั ดบั เพลงิ และวิธกี ารใชถงั ดับเพลงิ (ตอ) ประเภทของถงั ดับเพลงิ รปู ภาพ ประเภทไฟที่ใชดับ 3. ชนิดกา ซคารบ อนไดออกไซด (CO2) ส า ร เ ค มี ภ า ย ใ น บ ร ร จุ ก า ซ คารบอนไดออกไซด กาซที่ฉีดออกมา จะเปนไอเย็นจัด คลายนํ้าแข็งแหง ลด ความรอ นของไฟได ไมท งิ้ คราบสกปรก สามารถดับไฟไดประเภท B C เหมาะ สําหรับใชงานในหองเคร่ืองจักร Line ก า ร ผ ลิ ต อุ ต ส า ห ก ร ร ม อ า ห า ร ถังสีแดง ปลายกระบอกฉีดจะใหญเปน พิเศษ 4.ชนิดโฟม สารเคมีภายในบรรจุโฟม เมื่อฉีดออกมาจะเปนฟองโฟมคลุมผิว เชื้อเพลงิ ท่ีลุกไหม จึงสามารถดบั ไฟได ประเภท A B แตไมสามารถนําไปดับ ไฟประเภท C ไดเพราะเปนส่ือนํา ไฟฟา เหมาะสาํ หรับภาคอตุ สาหกรรม ดับเชื้อเพลิงประเภททินเนอร และสาร ระเหยติดไฟ ถงั แสตนเลส 5 . ช นิ ด น้ํ า บ ร ร จุ น้ํ า ภ า ย ใ น ถั ง มี คุณสมบัติพิเศษในการดับเพลิงจําพวก ของแข็งติดไฟไดดี Fire Class A ทเี่ กิด จาก ไม กระดาษ ผา ปอ งกนั อคั คีภยั และอพยพหนไี ฟศูนยวทิ ยาศาสตร มหาวิทยาลัยสวนดุสิต ประจําป 2565 6

วิธีการใชถงั ดับเพลงิ 1. เขาไปทางเหนอื ลมโดยหา งจากฐานของไฟประมาณ ๒ – ๓ เมตร 2. ดึงสลักหรือลวดทีร่ ัง้ วาลว ออก 3. ยกหวั ฉีดปากกรวยชไี้ ปท่ฐี านของไฟ (ทาํ มุมประมาณ ๔๕ องศา ) 4. บีบไกเพือ่ เปด วาลว ใหก า ซพุง ออกมา 5. ใหฉีดไปตามทางยาว และกราดหัวฉีดไปชา ๆ 6. ดบั ใหสนิทจนแนใ จแลว จึงฉดี ตอไปขางหนา ในกรณีที่เกิดเพลิงไหมวางอยูในระดับตางกันใหฉีดจาก ขางลางไปหาขางบนและถาน้าํ มนั รว่ั ไหลใหฉีดจากปลายทางท่ีรั่วไหล ไปยังจุดที่ร่ัวไหล และเหตุเพลิงไหมที่เกิดจากอุปกรณไฟฟาท่ีมี กระแสไฟฟา ไหลอยตู องรีบตดั กระแสไฟฟากอน เพ่อื ปอ งกนั มิใหเกิด การลกุ ไหมข ึน้ มาอีกได วธิ ีการตรวจสอบถังดบั เพลงิ 1. ดูท่ีเข็มในมาตรวัด (Pressure Gauge) ของถังดับเพลิง เคร่ืองดับเพลิงที่อยูในสภาพพรอมใชงานได เข็มจะชท้ี ช่ี องสเี ขยี ว ( สังเกตตามรูป ) แตถาเข็มเอียงมาทางซา ยแสดงวาแรงดนั ไมมี ตอ งรีบนาํ ไปเติมแรงดันทันที ซ่งึ ควรตรวจสอบเปน ประจาํ ทุกเดือน 2. ตรวจ สายฉีด หัวฉีด อยาใหมผี งอดุ ตัน เปน ประจําทุกเดือน 3. ถาไฟไหมห รือกระทบกระเทอื นอยา งรุนแรง ใหสง ไปตรวจสอบและบรรจุใหม 4. สภาพบรรจุของถังดับเพลงิ ตอ งไมบุบ หรือบวม และไมข ึ้นสนมิ 5. อายุการใชงาน ถังดับเพลงิ ชนิดผงเคมแี หง (ถงั สีแดง) มอี ายุประมาณ 5 ป ชนดิ ฮาโลตรอนวนั (ถงั สีเขียว) และชนิดกาซ CO2 มีอายปุ ระมาณ 10 ป 6. ถังดบั เพลิงชนดิ ผงเคมีแหง (ถงั สีแดง) หากมีการใชงานแลว ตองนาํ ไปเติมสารเคมีใหมทกุ ครั้ง ปอ งกนั อคั คภี ยั และอพยพหนไี ฟศูนยว ทิ ยาศาสตร มหาวิทยาลัยสวนดุสิต ประจําป 2565 7

1.4 การปฐมพยาบาลเบ้อื งตนและการชวยชีวิต การเคลอ่ื นยายผูบาดเจ็บ การเคลื่อนยายท่ีถูกวิธีมีความสําคัญมาก ถาผูชวยเหลือมีประสบการณ มคี วามรู ความเขาใจ มหี ลักการ และรูจักวิธีการเคล่ือนยายท่ีถูกวิธี จะชวยใหผูบาดเจ็บมีชีวิตรอด ปลอดภัย ลดความพิการ หรืออันตราย ท่ีจะ เกดิ ข้นึ ภายหลังได หลักในการเคลื่อนยายผูป วย 1. ตองทราบวาผูป ว ยไดร ับบาดเจ็บบริเวณใด 2. ใหก ารปฐมพยาบาลกอ นการเคล่อื นยาย เชน หา มเลือด ดามกระดกู ท่ีหกั เปนตน 3. เลือกวิธีการเคลื่อนยายท่ีเหมาะสมกบั สภาพความเจบ็ ปวย 4. การเคลอื่ นยายตอ งทําดว ยความนุมนวล มสี ติ รอบคอบ 5. การเคลื่อนยายผูปวยหนักจะตองมีสง่ิ รองรับ ศรี ษะ แขน ขา และหลัง 6. อุปกรณเ คลือ่ นยายผูปว ย เชน เปล ตอ งนํามาใหถึงผูปว ย มิใชยกผปู ว ยเดนิ ไปหาเปล 7. ถามผี ชู วยเหลือหลายคนควรมีหัวหนาเพ่ือสง่ั การหน่ึงคน เพ่ือใหก ารทาํ งานเปนไปอยางมปี ระสิทธภิ าพ 8. ขณะเคล่ือนยํ้ายดวยเปลควรมีสาํ ยรดั กนั กาํ รตก 9. ขณะเคลื่อนยายผูปวยตองดูแลอยางใกลชิด โดยสังเกตการหายใจและจับชีพจร ถามีอาการผิดปกติ ตองรีบ ชวยเหลือทันที 10. รีบนําผูปวยสงใหถึงมือแพทยโดยเร็วท่ีสุดและผูนําสงควรเลาเหตุการณใหแพทยทราบเพ่ือชวยการวิเคราะห การบาดเจ็บ การเคลือ่ นยายผปู วย จุดประสงคก ารเคลอื่ นยายผปู วย คือ 1. เพ่ือเคลื่อนยายผูปวยออกจากสถานทเ่ี กิดเหตุ อนั อาจทาํ ใหเกดิ อนั ตรายเพิม่ ข้ึน 2. เพ่ือเคลื่อนยายผปู วยไปอยูใ นที่ทใี่ หก ารปฐมพยาบาลไดส ะดวก 3. เพอ่ื สงผปู วยไปรบั การรักษาตอ 1. การเคล่ือนยายโดยผูช วยเหลือคนเดียว วธิ ีที่ 1 พยงุ เดนิ เหมาะสําหรบั ผปู วยท่ีรูสึกตวั ดี แตแขนหรือขาขางใดขางหนึง่ เจ็บ (เฉพาะสวนลาง) วิธเี คล่อื นยาย ผูชวยเหลือยืนเคียงขางผูปว ย หันหนาไปทางเดียวกัน แขนขางหน่งึ ของผูปวยพาดคอ ผูชวยเหลือ จบั มือผูปว ยไว สวนแขนอกี ขางหนง่ึ ของผูช ว ยเหลือโอบเอวและพยุงเดนิ ปองกนั อคั คีภยั และอพยพหนไี ฟศนู ยวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยสวนดุสิต ประจาํ ป 2565 8

ภาพ การเคลือนยา้ ยผปู้ ่ วยโดยวธิ ีพยงุ เดิน วธิ ที ่ี 2 การอุม วธิ ีนใ้ี ชกับผูบาดเจบ็ ท่ีมีนา้ํ หนกั ตวั นอ ย หรือในเด็กซ่งึ ไมม บี าดแผลรุนแรง หรือกระดกู หัก โดยการ ชอนใตเ ขาและประคองดานหลงั หรืออุมทาบหลังก็ได ภาพ การเคลือ่ นยายผูปว ยดว ยวธิ อี ุม ปองกันอคั คีภยั และอพยพหนีไฟศูนยวทิ ยาศาสตร มหาวิทยาลยั สวนดุสติ ประจําป 2565 9

วิธีที่ 3 วิธีลาก เหมาะท่ีจะใชในกรณีฉุกเฉิน เชน เกิดไฟไหม ถังแก็สระเบิด หรือตึกถลม จําเปนตองเคล่ือนยาย ออกจากท่ีเกิดเหตุใหเร็วท่ีสุด อาจปฏิบัติไดหลายวิธี ผูชวยเหลืออาจจะลากโดยใชมือสอดใตรักแรลากถอยหลัง หรือจับขอเทาลากถอยหลังก็ได ไมควรลากไปดานขางของผูบาดเจ็บ ตองระวังไมใหสวนของรางกายโคงงอ โดยเฉพาะสวนของคอและลําตัว การลากจะลดอันตรายลงถาใชผาหมหรือเส่ือ หรือ แผนกระดานรองลําตัว ผบู าดเจ็บ ภาพ การเคลื่อนยายผปู ว ยดว ยวิธีการลาก 2. การเคลื่อนยายผูปวยโดยผูชวยเหลือสองคน วิธีท่ี 1 อุมและยก เหมาะสําหรับผูปวยรายในรายท่ีไมรูสึกตัว แตไมควรใชในรายท่ีมีการบาดเจ็บของลําตัว หรอื กระดกู หัก ภาพ การเคลอื่ นยายผปู วยดว ยวธิ ีอมุ และยก ปอ งกันอคั คภี ัยและอพยพหนไี ฟศนู ยวทิ ยาศาสตร มหาวิทยาลัยสวนดุสติ ประจําป 2565 10

วิธที ่ี 2 น่ังบนมือท้ังสี่ที่จบั ประสานกันเปนแคร เหมาะสําหรับผูปวยในรายท่ีขาเจ็บแตรูสึกดีและสามารถใชแขน ทั้งสองขางได วิธีเคลื่อนยาย ผูชวยเหลือท้ังสองคนใชมือขวากําขอมือซายของตนเอง ขณะเดียวกันก็ใชมือซายกํามือขวา ซง่ึ กนั และกัน ใหผ ปู วยใชแขนท้ังสองยนั ตัวขน้ึ น่งั บนมอื ทง้ั ส่ีท่ีจบั ประสานกันเปนแคร แขนท้ังสองของผูปวยโอบคอ ผูช ว ยเหลอื จากนั้นวางผูปว ยบนเขาเปนจังหวะท่ีหน่งึ และอุมยนื เปน จงั หวะทีส่ อง แลวจึงเดนิ ไปพรอ มๆ กัน ภาพ การเคล่อื นยายผูป วยดวยวิธีน่ังบนมอื ทงั้ สที่ ป่ี ระสานกันเปน แคร วิธที ี่ 3 การพยุงเดนิ วิธีนีใ้ ชในรายท่ีไมมบี าดแผลรนุ แรง หรือกระดูกหักและผบู าดเจบ็ ยังรูสึกตวั ดี ภาพ การเคลอื่ นยายผปู ว ยดว ยวธิ ีพยุงเดนิ ปองกันอคั คีภัยและอพยพหนีไฟศนู ยว ิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยสวนดุสติ ประจาํ ป 2565 11

3. การเคล่อื นยายผูปวยโดยผชู วยเหลือสามคน วิธที ่ี 1 อมุ สามคนเรียง เหมาะสาํ หรับผูปว ยในรายที่ไมรูสกึ ตวั ตองการอุมข้นึ วางบนเตียงหรืออมุ ผานทางแคบๆ วิธีเคลอื่ นยาย ผูชวยเหลอื ทั้งสามคนคกุ เขาเรียงกันในทาคกุ เขาขางเดียว ทกุ คนสอดมอื เขาใตตัวผูปวยและอุมพยุง ไวต ามสว นตาง ๆ ของรางกายดงั น้ี คนท่ี 1 สอดมือท้ังสองเขาใตต ัวผูป ว ยตรงบรเิ วณคอและหลังสวนบน คนท่ี 2 สอดมือทัง้ สองเขาใตต ัวผปู วยตรงบริเวณหลงั สวนลางและกน คนท่ี 3 สอดมือท้ังสองเขาใตข า ผูชวยเหลือคนท่ีออนแอที่สุดควรเปนคนท่ี 3 เพราะรับน้ําหนักนอยท่ีสุด เมื่อจะยกผูปวยผูชวยเหลือ ทั้งสามคน จะตอ งทํางานพรอมๆกัน โดยใหคนใดคนหน่ึงเปนออกคําสั่ง ข้ันแรกยกผูปวยพรอมกันและวางบนเขา จากทานี้เหมาะสําหรับจะยกผูปวยขึ้นวางบนเปลฉุกเฉินหรือบนเตียง แตถาจะอุมเคลื่อนที่ผูชวยเหลือท้ังสามคน จะตองประคองตัวผูปวยในทานอนตะแคงและอุมยืน เมื่อจะเดินจะกาวเดินไปทางดานขางพรอมๆกัน และถา จะวางผูปว ยใหท ําเหมือนเดมิ ทกุ ประการ คือ คกุ เขาลงกอนและคอ ยๆวางผูป ว ยลง ภาพ การเคล่ือนยายผูปว ยดวยวิธอี ุมสามคนเรยี ง ปองกันอคั คภี ยั และอพยพหนไี ฟศูนยว ทิ ยาศาสตร มหาวิทยาลัยสวนดสุ ิต ประจาํ ป 2565 12

วธิ ีท่ี 2 การใชค น 3 คน วิธนี ใ้ี ชในรายท่ผี ูบ าดเจ็บนอนหงายหรือนอนคว่าํ กไ็ ด ใหค างของผบู าดเจ็บยกสงู เพ่ือเปด ทางเดินหายใจ 1. ผูปฐมพยาบาล 2 คนคุกเขาขางลําตัวผูบาดเจ็บขางหนึ่งอีกขางหนึ่งผปู ฐมพยาบาลอีก 1 คน คุกเขาขางลําตัว ผูบาดเจบ็ 2. ผปู ฐมพยาบาลคนท่ี 1 ประคองทศ่ี ีรษะและไหลผูบาดเจบ็ มืออีกขางหน่งึ รองสว นหลังผบู าดเจบ็ 3. ผูปฐมพยาบาลคนท่ี 2 อยูตรงขามคนที่ 1 ใชแขนขางหน่ึงรองหลงั ผูบาดเจ็บเอามือไปจับมือคนที่ 1 อีกมือหนึ่ง รองใตสะโพกผูบ าดเจ็บ 4. ผูปฐมพยาบาลคนท่ี 3 มอื หนง่ึ อยใู ตตนขาเหนอื มือคนท่ี 2 ที่รองใตสะโพก แลวเอามือไปจับกับมือคนท่ี 2 ที่รอง ใตสะโพกนนั้ สว นมืออีกขางหน่งึ รองที่ขาใตเขา 5. มือคนที่ 1 และคนท่ี 2 ควรจับกันอยูระหวางก่ึงกลางลําตัวสวนบนของผูบาดเจ็บ ผูปฐมพยาบาลจะตอง ใหส ญั ญาณลุกข้นึ ยืนพรอมๆกนั ภาพ การเคล่อื นยายผูปว ยดว ยวธิ ีใชคน 3 คน การเคลื่อนยายผูปว ยโดยใชผ าหม ใชก รณที ีไ่ มมีเปลหามแตไมเหมาะกบั ผปู ว ยที่ไดร บั บาดเจ็บบริเวณหลงั วิธีเคล่ือนยาย พับผาหมตามยาวทบกันเปนช้ันๆ 2-3 ทบ โดยวิธีการพับผาหมพับเชนเดียวกับการพับกระดาษ ทําพัด วางผาหมขนาบชิดตัวผูปวยทางดานขาง ผูชวยเหลือคกุ เขาลงขางตวั ผูปวยอีกขางหน่ึง จับผูปว ยตะแคงตัว เพ่ือใหนอนบนผาหมแลวดึงชายผาหมทั้งสองขางออกเสร็จแลวจึงมวนเขาหากัน จากนั้นชวยกันยกตัวผูปวยข้ึน ผูชวยเหลือคนหนึ่งตอ งประคองศีรษะผปู ว ย โดยเฉพาะผปู ว ยทส่ี งสัยวาไดรับบาดเจบ็ ทีค่ อหรือหลงั ปองกนั อคั คภี ยั และอพยพหนไี ฟศูนยวทิ ยาศาสตร มหาวิทยาลัยสวนดุสิต ประจาํ ป 2565 13

ภาพ การเคลือ่ นยายผูปว ยโดยใชผ าหม การเคล่อื นยายผูปวยโดยใชเปลหาม เปลหรือแครมีประโยชนในการเคลือนยายผูปว ย อาจทาํ ไดงายโดยดัดแปลง วัสดุ การใชเปลหามจะสะดวกมากแตจ ะยุงยากขณะที่อุมผูปว ยวางบนเปลหรืออุมออกจากเปล วธิ กี ารเคล่ือนยาย เรม่ิ ตนดว ยการอุมผูปว ยนอนราบบนเปล จากน้ันควรใหผ ูชวยเหลือคนหนึ่งเปนคนออกคําส่ังให ยกและหามเดนิ เพ่อื ความพรอมเพรยี งและนุมนวล ถามีผูช ว ยเหลือสองคน คนหนึ่งหามทางดานศีรษะ อกี คนหาม ทางดานปลายเทา และหันหนา ไปทางเดียวกัน ซ่งึ หมายความวาผูชวยเหลือที่หามทางดานปลายเทาจะเดินนําหนา หากมผี ูช ว ยเหลือ 4 คน ชวยหามอีก 2 คน จะชวยหามทางดานขางของเปลและหันหนาเดนิ ไปทางเดียวกัน ภาพ การเคลือ่ นยายผูป วยโดยใชเปลหาม การชว ยฟนคืนชพี CPR การชวยฟนคืนชีพ (CPR : Cardiopulmonary resuscitation) หมายถึง การปฏิบัติการเพ่ือชวยฟน การทํางาน ของระบบไหลเวียนเลือดที่หยุดทํางานอยางกระทันหัน เพ่ือใหหัวใจกลับมาเตนเองไดตามปกติ โดยไมเกิดความ พิการของสมอง วตั ถุประสงคของการชว ยฟน คนื ชพี 1. เพม่ิ ออกซิเจนใหก บั รางกายและเนอ้ื เยอื่ 2. ปองกันสมองตายโดยการทาํ ใหโ ลหติ ไปเลีย้ งสมองไดเพยี งพอ ปองกนั สมองตายโดยการทาํ ใหโลหิตไปเลี้ยงสมอง ไดเ พียงพอ 3. คงไวซง่ึ การไหลเวียนของโลหิตในขณะหัวใจหยุดเตน เพื่อนําออกซิเจนไปสูสมอง หัวใจและเน้ือเย่ือสวนตางๆ ของรา งกาย 4. ดูแลผูปวยใหกลบั สูสภาวะปกติ หลังจากที่หัวใจกลับเตนใหมแ ลว ปอ งกนั อคั คภี ัยและอพยพหนีไฟศูนยว ิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยสวนดุสติ ประจาํ ป 2565 14

การทํา CPR ขั้นพน้ื ฐาน ( BCLS ) เมือ่ พบผปู วยหมดสตหิ รือไมเ คล่ือนไหวตอ งสาํ รวจข้ันพน้ื ฐาน ดังนี้ 1. ตรวจดวู าผูป ว ยหมดสตจิ รงิ หรอื ไม โดยการเขยาตัวเบาๆ ซึง่ อาจพูดวา “คุณๆ ตน่ื ๆ เปน อะไรหรอื เปลา” 2. เรียกขอความชวยเหลือจากผูอ่ืนๆ เพราะในการชวยเหลือผทู ่ีหยุดการหายใจหรือหัวใจหยุดเตนในระยะอันสั้น ควรมีคนมาชวยมากกวา 1 คน เพอื่ จะไดช ว ยติดตอเจาหนาที่ผเู กยี่ วของมาชวยเหลอื ตอ ไป เชน พดู วา “ชวยดว ยๆ มีคนหมดสติ” และเรียกขอความชวยเหลือหรือเรียกบริการการแพทยฉุกเฉินจากหนวยงานตาง ๆ ทันที เชน ศูนยเอราวัณ (เฉพาะในพืน้ ที่ กทม.) โทร. 1646 , สถาบนั การแพทยฉุกเฉนิ แหงชาติ โทร. 1669 (ทั่วประเทศ) 3. จัดทาผูปวย ควรจัดทาผูปวยใหนอนหงายราบบนพ้ืนแข็งเพื่อความสะดวกในการกดหนาอกหรือนวด หัวใจ การทํา CPR จะตองใหผูปวยนอนหงายหลังตรง ศีรษะจะตองไมสูงกวาระดับหัวใจจึงจะทํา CPR ไดอยางมี ประสทิ ธิภาพ ในการสาํ รวจและจดั ทาผปู วยนจี้ ะตองใชเวลาไมเกนิ 10 วินาที การชวยฟน คืนชีพข้นั พืน้ ฐาน (Basic Life Support: BLS) แนวทางการปฏิบัติการชวยฟนคืนชีพข้ันพ้ืนฐานประกอบไปดวย 3 ข้ันตอนสําคัญ C-A-B (Chest compression-Airway-Breathing) โดยวิธปี ฏิบัติคอื กดหนา อก (C) 30 ครงั้ >> เปด ทํางเดินหายใจ (A) >> ชว ยหายใจ (B) 2 ครั้ง = 30:2 ท้งั นีใ้ หท ํา CPR ไปจนกวากูชพี จะมาถงึ หรอื จนกวาผปู วยจะรสู กึ ตวั ปอ งกันอคั คีภยั และอพยพหนีไฟศนู ยว ิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยสวนดสุ ติ ประจาํ ป 2565 15

วิธที าํ CPR ทีถ่ ูกตอง C : Chest compression คือการกดหนาอก ปมหัวใจชวยใหผูบาดเจ็บมีการไหลเวียนของเลือดในรางกาย อีกคร้ังหน่ึง ทั้งน้ีหลักในการปมหัวใจ คือ ตองกดใหกระดูกหนาอก (Sternum) ลงไปชิดกับกระดูกสันหลัง ซึ่งจะทําใหหัวใจท่ีอยูระหวางกระดูกทั้งสองอันถูกกดไปดวย ทําใหมีการบีบเลือดออกจากหัวใจไปเลี้ยงรางกาย เสมือนการบีบตวั ของหวั ใจ ซ่งึ มีขน้ั ตอนในการปมหัวใจตามน้ี 1. ใหผบู าดเจบ็ นอนราบกับพ้ืนแข็งๆ หรือใชไ มก ระดานรองท่หี ลังของผบู าดเจ็บ ผูปฐมพยาบาลคกุ เขาลงขางขวา หรือขางซายบริเวณหนาอกผูบาดเจ็บ คลําหาสวนลางสุดของกระดูกอกท่ีตอกับกระดูกซี่โครง โดยใชนิ้วสัมผัส ชายโครงไลขึ้นมา (หากคุกเขาขางขวาใชมือขวาคลําเพ่ือหากระดูกอก แตหากคุกเขาขางซายใหใชมือซายคลํา) 2. วางนิ้วชี้และน้ิวกลางตรงตําแหนงที่กระดูกซ่โี ครงตอกบั กระดูกอกสวนลางสุด วางสันมอื อีกขางบนตําแหนง ถัดจากนิ้วช้ีและนิ้วกลางน้ัน ซ่ึงตําแหนงของสันมือที่วางอยูบนกระดูกหนาอกน้ีจะเปนตําแหนงท่ีถูกตองใน การปมหัวใจตอไป * หากไมแนใจวาตําแหนง กระดูกซี่โครงอยูตรงไหน งายที่สุดก็คือ ใหวางสนมือ (ขางท่ีไมถนัด) ตรงกลางหนาอก ระหวางหัวนมทง้ั สองขาง ปอ งกนั อคั คีภยั และอพยพหนีไฟศูนยว ิทยาศาสตร มหาวิทยาลยั สวนดสุ ติ ประจําป 2565 16

3. วางมืออีกขาง (ควรเปนมือขางท่ีถนัด) ทับลงบนหลังมือท่ีวางในตําแหนงท่ีถูกตอง แลวเหยียดนิ้วมือตรง จากน้ันเก่ียวนิว้ มือทั้ง 2 ขางเขาดวยกัน เหยียดแขนตรง โนมตัวต้ังฉากกับหนาอกผูบาดเจ็บ ทิ้งนํ้าหนกั ลงบนแขน ขณะกดหนาอกผูบาดเจบ็ กดใหล กึ อยางนอ ย 2 น้วิ (5 เซนตเิ มตร) 4. เพอ่ื ใหช วงเวลาการกดแตละครงั้ คงท่ี และจงั หวะการสูบฉีดเลอื ดออกจากหัวใจพอเหมาะกับทร่ี างกายตองการ ใหใชวิธีนับจํานวนคร้ังท่ีกด ดงั นี.้ ..หน่ึง และสอง และสาม และส่ี และหา...โดยกดทุกคร้ังท่ีนับตัวเลข และปลอย ตอนคาํ วา “และ” สลับกนั ไป ใหไดอ ตั ราการกดอยางนอ ย 100 ครั้งตอนาที (ถานอยกวานจี้ ะไมไ ดผ ล) เม่ือกดสุดใหผอนมือข้ึนโดยท่ีตําแหนง มือไมตอ งเลื่อนไปจากจุดท่กี ําหนด และกอนการกดหนาอกคร้ังตอไปตองทาํ การกดทนั ทีทห่ี นาอกคืนตวั กลบั จนสุด ขณะกดหนาอกปมหวั ใจ หามใชนว้ิ มือกดลงบนกระดกู ซี่โครงผูบาดเจบ็ 5. ควรกดหนาอก 30 คร้ัง สลับกับการผายปอด 2 คร้ัง และควรมีผูชวยเหลืออยางนอย 2 คน เพราะพบวา ผูปฏิบัติจะเริ่มเหนื่อยและประสิทธิภาพในการกดหนาอกลดลงหลังจากทําไปประมาณ 1 นาที ดังนั้นในกรณี มีผชู ว ยเหลอื อยางนอย 2 คน ใหเปลี่ยนบทบาทผูทาํ การกดหนาอกทุกๆ 2 นาที หรือกดหนาอกสลบั การชวยหายใจ ครบ 5รอบ (30:2) และทําตอเนอื่ งไปจนกระทั่งเคร่ืองช็อกไฟฟาหวั ใจมาถึง และพรอมใชงาน หรือมีบุคลากรทาง การแพทยเขามาดูแลผูป ว ย A : Airway หมายถงึ การเปดทางเดนิ หายใจใหโลง เพราะโดยมากผูบาดเจบ็ ท่ีหมดสตจิ ะมภี าวะโคนล้ิน และกลอง เสียงตกลงไปอดุ ทางเดนิ หายใจสวนบน ดังน้นั จึงตองเปดทางเดนิ หายใจใหโลง โดยพิจารณาจาก - หากผูปว ยไมมกี ารบาดเจ็บทศี่ รี ษะหรือคอ จะใชว ิธีการแหงนหนาและเชยคาง (Head tilt - Chin lift) - หากสงสยั วาผูปวยมอี าการเจ็บของไขสันหลัง ใหใ ชวิธี Manual Spinal Motion Restriction โดยการวางมอื สอง ขา งบรเิ วณดานขางของศรี ษะ เพ่ือปองกันการเคลอ่ื นของศีรษะ - หากสงสัยวาผูปวยมีอาการบาดเจ็บที่กระดูกสันหลังบริเวณคอใหเปดทางเดินหายใจดวยวิธียกขากรรไกร (Jaw Thrust) คอื ดึงขากรรไกรทัง้ สองขางข้ึนไปดา นบน โดยผูชว ยเหลือจะอยเู หนอื ศรี ษะของผูปว ย ปองกนั อคั คีภยั และอพยพหนไี ฟศูนยวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยสวนดสุ ติ ประจําป 2565 17

B : Breathing หมายถงึ การชว ยหายใจ ดว ยการรกั ษาระดบั ออกซเิ จนใหเ พยี งพอและขับกาซคารบ อนไดออกไซด ดังน้ันในผูปวยท่ีหัวใจหยุดเตนเน่ืองจากการขาดอากาศ เชน จมน้ํา จึงตองรีบกดหนาอกและชวยหายใจ 5 รอบ หรือ 2 นาที กอนการรองขอความชวยเหลือ เนื่องจากผูปวยกําลังมีระดับออกซิเจนท่ีต่ํากวาปกติ ซึ่งออกซิเจน ท่ีเปาออกไปน้ันมีออกซเิ จนประมาณ 16-17 % ซึง่ เพยี งพอสาํ หรบั ใชในรางกาย ท้ังน้ี ในการชวยหายใจ ไดกําหนดขอปฏิบตั ิใหเ ริ่มจากการกดหนาอก (C) ไปกอน 30 ครั้ง แลวจึงสลับกบั การชวยหายใจ (B) 2 ครง้ั ตามสตู ร 30:2 โดย - ชว ยหายใจมากกวา 1 วินาทีในแตล ะคร้งั - ใหปริมาตรเพียงพอท่ีเห็นหนาอกเคลื่อนไหว แตไ มควรชวยหายใจมากเกินไป เพราะเส่ียงตอการสําลัก อาหาร และยังทําใหแ รงดนั ภายในทรวงอกเพิ่มขึ้น สงผลใหเลอื ดทีก่ ลับไปเลีย้ งหัวใจลดลง - ใชอตั ราการกดหนาอก 30 ครัง้ ตอ การชวยหายใจ 2 ครัง้ (30:2) - เม่ือมีการใสท อชวยหายใจขั้นสงู แลว ใหชวยหายใจ 1 ครั้ง ทุก 6-8 วินาที (8-10 ครั้งตอนาที) โดยที่ไม ตองหยุดขณะทที่ ําการกดหนาอก ปอ งกนั อคั คภี ยั และอพยพหนไี ฟศูนยว ิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยสวนดุสิต ประจําป 2565 18

1.5 ความรเู กย่ี วกับแกสหุงตม (LPG) รปู ภาพ ลักษณะของแกสหงุ ตมทีใ่ ชตามครวั เรอื น 1. ถังแกสหุงตมน้ําหนัก 15 กิโลกรัม แบบใชตาม ครัวเรอื นทวั่ ไป มี ๒ แบบ แบบที่ 1 แบบวาลวหมุน นิยมใชในครัวเรือน มากกวา 90 % เวลาเปดควรหมุนเพียงสุดขอมือ หรือ1 รอบเทาน้ัน และการปดแกสควรปดที่วาลวกอน ปดที่หัวเตาเสมอ วิธีจํางาย ๆ คือ หมุนไปทางนิ้วกอย คอื ปด แบบที่ 2 แบบหัวสวม นิยมใชนอยกวาแบบที่ 1 และมักจะเสยี งายกวา 2. ถังแกส ขนาด 48 กโิ ลกรมั รานอาหารใหญ ๆ มักนิยม ใช 3. ถงั แกสปกนกิ เปนถงั ชนดิ เดยี วทไ่ี มใชแรคคเู รเตอร และนยิ มไปเตมิ ตามปมแกส เพราะไมม ีที่เปล่ยี น คอนขา ง อนั ตราย 4. ถังแกส กระปุกลุกนํา้ หนัก 7 กโิ ลกรัม เปน ถังแกส ทเ่ี กดิ เหตุบอยกวาถังชนิดอ่ืน ๆ ปองกนั อคั คีภยั และอพยพหนไี ฟศูนยว ทิ ยาศาสตร มหาวิทยาลยั สวนดุสติ ประจําป 2565 19

คุณสมบตั ิของแกส หงุ ตม (LPG) มดี งั น้ี 1. แกสหนักกวา อากาศแตเ บากวานาํ้ 1 – 1.5 เทา 2. เปนของเหลวสามารถขยายตัวเรว็ ถึง 250 – 300 เทา 3. ไมม ีสี กลิ่น แตทีไ่ ดก ลิน่ เพราะมีการเตมิ กลิ่นเอซิทนิ เปอรแคปเทน เพอื่ ใหร เู ม่ือเกิดการร่ัวไหล 4. เปนตวั ทาํ ละลายตามธรรมชาติ 5. มีระยะเวลาตดิ ไฟ 0.3 วนิ าที ขอควรระวังวธิ ีการตดิ ตั้งและใชแ กสในการประกอบอาหาร 1. ไมลมถงั แกส เม่อื แกสใกลหมด เพราะจะทําใหก าซขยายตวั จาก 1 เทา เปน 250 เทา 2. ควรใชแกส จากศูนยบรกิ าร เพราะศนู ยจะมีการตรวจเชค็ กอนออกวางจําหนาย และไมค วรเตมิ แกสทป่ี ม แกส 3. การติดตั้งสายใหไ ดมาตรฐานตอ งหา งจากตัวถังไมนอยกวา 2 เมตร 4. ถา ตัวปอกแปกเปดแกส เสยี ไมควรใชไ ฟแช็คเปดแทน 5. การปด แกสควรปด แกส ท่วี าลวปรบั แรงดันกอนปด ทต่ี วั ปอ กแปก เพื่อกนั ลมื 6. ถาเขามาในบานแลวไดกลิ่นแกส หามเปด ไฟ พัดลม อะไรก็ตามท่ีจะทําใหเกิดประกายไฟ ใหเปดหนาตาง ระบายอากาศแลว ใหโ บกแกสทีพ่ ้นื ต่ํา และใหใชไ มกวาดชุบน้าํ กวาดทพ่ี น้ื 7. ถาเปดแกส และเหน็ แกสวิ่ง หามจดุ หรอื เปด แกส เดด็ ขาด เพราะมีการเตมิ แกสเตม็ ถงั เกินไป 8. ในถังแกสไมมีออกซิเจนอยู ดังน้ัน เม่ือเกิดไฟไหม แกสไมว่ิงเขาสูถัง เพราะองคประกอบของไฟไมครบ ขาดออกซิเจนนน่ั เอง 9. แกสมีระยะทางว่ิงประมาณ 800 เมตร แตถายอนกลับมาหาถังแลวระเบิดจะมีความแรงเทากับระยะทาง 1.5 กโิ ลเมตร ขน้ั ตอนการปดเตาแกส ท่ถี กู ตอ งมี 3 ขนั้ ตอน ดงั น้ี 1. หลังจากทาํ อาหารใกลเ สร็จแลว ใหกะเวลาสกั ประมาณ 1 นาที แลว จึงปดวาลวทถ่ี ังแกส กอ น 2. ประกอบอาหารตอไปจนเสรจ็ ไฟก็จะดบั พอดี 3. ปดวาลวท่เี ตาแกส เพื่อไมใหม แี กสหลงเหลืออยภู ายในสายและทีข่ าดไมไ ด คอื หมนั่ ตรวจสอบทงั้ หวั วาลว ท่ีตวั ถัง และเตาแกสใหอยูในสภาพพรอมใชง าน เพอ่ื ความปลอดภัยสูงสุด ปอ งกนั อคั คภี ัยและอพยพหนไี ฟศูนยว ทิ ยาศาสตร มหาวิทยาลัยสวนดุสิต ประจาํ ป 2565 20

วิธีการตรวจสอบถงั แกส หุงตม (LPG) 2. ซีลผนึกวาลว หวั ถังตอ งมีสภาพสมบูรณ 1. ตองมเี ครื่องหมายการคา ของผูผลติ และมเี ลขกาํ กบั ชดั เจน 3. ตองมี เดือน ป ที่ทดสอบคุณภาพถงั แกส 4. ตองไมม รี อย บุบ บวม และเปนสนิม และทดสอบครง้ั สุดทายไมเ กิน ๕ ป 5. ตองไดรบั การรบั รองมาตราฐาน มอก. 6. มขี อความระบุ วัน เดือน ป ทถี่ งั หมดอายุ 7. มีชื่อผผู ลติ ถงั แกสและชอ่ื บริษทั ผูต รวจสอบประทับท่ีบริเวณหูถังอยา งถาวรชัดเจน ปอ งกนั อคั คีภยั และอพยพหนีไฟศนู ยวทิ ยาศาสตร มหาวิทยาลัยสวนดุสติ ประจาํ ป 2565 21

2. การฝก ปฏิบตั ิการดบั เพลิงเบอ้ื งตน และการอพยพหนีไฟ การวางแผนซอ มอพยพหนไี ฟ 1. อาคารที่พกั จะมีธงสีประจําชั้นของแตล ะชัน้ 2. เมอ่ื เกิดเหตุไฟไหมและสญั ญาณไฟไหมดงั ขนึ้ ผูที่มหี นาทีถ่ ือธงตองรบี ไปถือธง แลวทกุ คนจะตอ งวง่ิ ตามธง 3. ควรจับเวลาในการหนีไฟไปยังจดุ รวมพลท่ีไดก าํ หนดไว 4. ควรนบั และเช็คจํานวนคนของแตล ะสีวาหนีออกมาครบหรอื ไม 5. เมื่อเช็คจํานวนคนแลวใหผูท่ีถือธงแจงเจาหนาท่ีดับเพลิงรับทราบ หากธงสีไหนคนขาดก็จะมีการสง เจาหนา ท่ดี ับเพลงิ เขา ไปดําเนนิ การคน หา 6. หากพบผูบาดเจบ็ จะตองนาํ ผบู าดเจ็บสงมายังหนวยปฐมพยาบาลเบอื้ งตน ท่ีประจําจุดอยู ปองกนั อคั คภี ัยและอพยพหนีไฟศนู ยว ิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยสวนดสุ ิต ประจาํ ป 2565 22

แผนผงั การปฏิบตั เิ มือ่ ประสบเหตเุ พลงิ ไหมในอาคาร ปอ งกนั อคั คภี ัยและอพยพหนีไฟศูนยวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยสวนดุสติ ประจาํ ป 2565 23

แผนผงั การระงับอคั คีภยั การอพยพหนีไฟ ปอ งกนั อคั คภี ัยและอพยพหนไี ฟศนู ยวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยสวนดสุ ิต ประจาํ ป 2565 24

ภาคผนวก ปอ งกันอคั คภี ัยและอพยพหนไี ฟศูนยว ิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยสวนดุสิต ประจําป 2565 25

ปอ งกนั อคั คภี ัยและอพยพหนไี ฟศูนยว ทิ ยาศาสตร มหาวิทยาลยั สวนดสุ ติ ประจําป 2565 26

ปอ งกนั อคั คภี ัยและอพยพหนไี ฟศูนยว ทิ ยาศาสตร มหาวิทยาลยั สวนดสุ ติ ประจําป 2565 27

ปอ งกนั อคั คภี ัยและอพยพหนไี ฟศูนยว ทิ ยาศาสตร มหาวิทยาลยั สวนดสุ ติ ประจําป 2565 28

ปอ งกนั อคั คภี ัยและอพยพหนไี ฟศูนยว ทิ ยาศาสตร มหาวิทยาลยั สวนดสุ ติ ประจําป 2565 29

ปอ งกนั อคั คภี ัยและอพยพหนไี ฟศูนยว ทิ ยาศาสตร มหาวิทยาลยั สวนดสุ ติ ประจําป 2565 30

สาํ นักงานบรกิ ารอาคารวิทยาศาสตร มหาวทิ ยาลยั สวนดสุ ติ ถนนสิรนิ ธร อาจารย บุคลากร และนักศึกษา ขอขอบพระคณุ สํานักปอ งกันและบรรเทาสาธารณภยั สถานดี บั เพลิงและกูภยั บางออ ทมี่ อบความรูใ หก บั ทกุ ทานในครง้ั น้ี ปองกันอคั คภี ัยและอพยพหนีไฟศูนยว ิทยาศาสตร มหาวิทยาลยั สวนดสุ ติ ประจาํ ป 2565 31

สำนักงานบริการอาคารวิทยาศาสตร์ 204/3 ถนนสิรินธร แขวงบางพลัด เขตบางพลัด กรุงเทพมหานคร 10700 โทรศัพท์ : 02-423-9400 ต่อ 9490 โทรสาร : 02-423-9497 http://dormitorysdu.dusit.ac.th