๑๓๙ ภาพที่ ๓๓ คนในหมู่บา้ นอาฮามเขา้ ร่วมกิจกรรมที่จดั ข้ึนภายในทอ้ งถ่ิน ซ่ึงแม่บา้ นท่ีทาํ กิจกรรมเหล่าน้ีก็รวมไปถึงผผู้ ลิตและผทู้ ี่มีส่วนเก่ียวขอ้ งกบั กระบวนการผลิต และจาํ หน่ายขา้ วหลาม ซ่ึงเกือบท้งั หมดจะเป็ นผหู้ ญิงท้งั สิ้น ดงั น้นั ผูผ้ ลิตขา้ วหลามก็จะตอ้ งมีการ แบง่ เวลาในการทาํ มาหากินมาช่วยเหลือกิจกรรมของกลุ่มแมบ่ า้ นบา้ นอาฮามดว้ ย ภาพท่ี ๓๔ ผผู้ ลิตขา้ วหลามบา้ นอาฮามเขา้ ร่วมกิจกรรมของหมูบ่ า้ น
๑๔๐ แต่เม่ือขา้ วหลามไดก้ ลายมาเป็ นสินคา้ ที่ตอ้ งมีการผลิตทุกวนั และใชเ้ วลาในการผลิตมาก ทาํ ให้ผูผ้ ลิตขา้ วหลามมีเวลาพกั ผอ่ นน้อย แต่อยา่ งไรก็ตามจากการศึกษาพบว่าผผู้ ลิตขา้ วหลามเกือบ ท้งั หมดซ่ึงเป็นแม่บา้ นของหมู่บา้ นอาฮามในปัจจุบนั น้นั ก็ยงั คงมีการแบ่งเวลามาช่วยเหลือกิจกรรม ภายในชุมชนอย่างสม่าํ เสมอ เช่น งานศพ งานแต่งงาน งานบวช หรือแมก้ ระทงั่ กิจกรรมของทาง ภาครัฐท่ีได้รับมอบหมายให้เขา้ ร่วมถึงแมว้ ่าจะตอ้ งผลิตขา้ วหลามเพ่ือจาํ หน่ายไปดว้ ยก็ตาม โดย แม่บา้ นทุกคนจะตอ้ งช่วยลงมือลงแรงในการจดั งาน ทาํ อาหาร เป็นตน้ “เฮาก็บ่ไดห้ ยุดยะ แต่เฮาก็ตอ้ งเตรียมของไวก้ ่อน แลว้ ค่อยไปช่วยงานเขา ถา้ ตอน จะเผาน่ีเฮาตอ้ งตื่นเช้ากว่าปกติหน่อย แต่ถา้ เป็ นพี่น้องใกลช้ ิดกนั ก็จะหยุดเลย ก็ หยุดวนั สองวนั ...เฮาไปช่วยงานเขาเสร็จก็มายะต่อได้ เพราะเฮาก็ยะบ่นักเอา” (แจม่ จนั ทร์ ไชยชนะ, สัมภาษณ์, ๑๘ ตุลาคม ๒๕๕๓) “ออกพรรษานี่น่าจะบ่ไดย้ ะ เพราะบา้ นเฮาเป็ นเจา้ ภาพงานตกั บาตรเทโวอยู่ ถา้ เฮา มีเวลาเฮากต็ อ้ งไปช่วยเขา ส่วนมากเฮาก็ตอ้ งไป ไปช่วยบ่นกั ก็นอ้ ย บางกาํ เฮาบ่ได้ ไปตอนแลงก็ไปตอนเชา้ ก็เป็นงานส่วนรวมนะ...” (ถวลิ ยอดสุภา, สัมภาษณ์, ๒๐ ตุลาคม ๒๕๕๓) ซ่ึงในการช่วยเหลืองานของส่วนรวมในชุมชนบา้ นอาฮามน้ีไม่ไดม้ ีกฎหรือขอ้ บงั คบั ที่เป็ นลาย ลักษณ์อกั ษรแต่อย่างใด แต่เป็ นการที่คนในหมู่บา้ นจะรับรู้กันเองว่าจะตอ้ งมาช่วยงานภายใน หมูบ่ า้ น เพราะในชุมชนบา้ นอาฮามจะมีการจดั การทางสังคมในรูปแบบที่เป็ นนามธรรมอยแู่ ลว้ นนั่ กค็ ือการ “เล่าขวญั ” หรือการนินทา เพราะทุกคนภายในหมู่บา้ นรู้จกั กนั หมด และมีความเป็ นญาติพ่ี น้องกันอยู่สูง อีกท้ังเม่ือครอบครัวไหนไม่เคยช่วยงานของครอบครัวอ่ืนๆหรือของหมู่บ้าน ครอบครัวน้นั หรือคนๆน้นั จะถูกชาวบา้ นส่วนใหญ่นินทา และการจดั การทางสังคมอีกอยา่ งหน่ึงคือการ “คว่าํ บาตร” กล่าวคือ ถา้ ครอบครัวน้นั ไม่เคยไป ช่วยเหลืองานภายในหมู่บา้ น เม่ือครอบครัวน้นั ๆจาํ เป็ นจะตอ้ งจดั งานใดงานหน่ึงก็จะไม่มีคนใน ชุมชนไปช่วยเหลืองานของครอบครัวน้นั หรือไปเป็ นเพียงแขกแต่ไม่ไดช้ ่วยเจา้ ภาพใดๆท้งั สิ้น ซ่ึง เจา้ ภาพจะตอ้ งจา้ งคนมาทาํ งานเอง เป็ นตน้ เพราะโดยทวั่ ไปแลว้ ทุกคนในหมู่บา้ นจะตอ้ งเขา้ มามี ส่วนร่วมในกิจกรรมต่างๆในชุมชนบา้ งไม่มากก็น้อย โดยไม่นับการช่วยเหลือทางการเงินหรือ
๑๔๑ สิ่งของเท่าน้ัน ดงั น้ันทุกคนจะตอ้ งละทิ้งงานส่วนตวั หรือเวลาในการทาํ มาหากินของตวั เองมา ช่วยงานส่วนรวมดว้ ย “...เขาจะบ่ไปไหนเลย ยะแต่ขา้ วหลาม มีงานอะหยงั ในบา้ นในจองก็บ่ไป ส่งลูก ไป๊ ไปแตน ยะตลอด ขายตลอด บ่ไปงานศพงานเมรุ งานวดั งานวาก็บ่ไปเลย เงิน เป็ นใหญ่แต้หนา ยะอย่างเดียว” (คําฟอง สิงห์ไชย, สัมภาษณ์, ๑๘ ตุลาคม ๒๕๕๓) “...แตเ่ ขากเ็ ล่ากนั นะ เขากม็ ีเงินเรื่อยๆ แต่เฮาก็ตอ้ งไปงานส่วนรวม แต่เขาบ่ไปเลย ห้ือลูกไป ห้ือลูกไป๊ ไป เขาก็หาบขายไป...แต่เฮาถา้ มีงานในหมู่บา้ นนี่เฮาก็ไปช่วย หมดเลยนะ เฮาก็ยะแบบพอกิน ในบา้ นเขาก็จ่มวา่ บ่ช่วยยะก๋าน อยา่ งแข่งเฮือเขาก็ หาบขา้ วหลามขาย พอขา้ วหลามหมดเขาก็ซ้ือของมาห้ือคนท่ีเชียร์เฮือ เฮาก็ช่วยเขา ยะนน่ั ยะน่ี เขากซ็ ้ืออะหยงั ไปห้ือ เพราะเขาบ่ไดช้ ่วย บางกาํ กซ็ ้ือส้ม ๑๐ โล ไปแจก เพราะฮตู้ วั๋ วา่ บ่ไดช้ ่วย แตเ่ ดี๋ยวน้ีมีลูกไป๊ ก็ห้ือลูกไป๊ ไปช่วย แต่มีงานศพงานเมรุก็บ่ ไปหนา ข้ึนบา้ นใหม่ แตง่ งานก็บ่ไป ห้ือลูกหมด ยะขา้ วหลามตลอด...” (ดวงเดือน อินเป็ง, สมั ภาษณ์, ๒๓ สิงหาคม ๒๕๕๓) ๕.๓ การช่วยเหลือเก้ือกลู กนั ระหวา่ งผผู้ ลิตขา้ วหลามบา้ นอาฮาม นอกจากผูผ้ ลิตขา้ วหลามจะมีหน้าท่ีช่วยเหลืองานภายในหมู่บา้ นแลว้ ผูผ้ ลิตขา้ วหลามด้วย กนั เองก็จะมีการช่วยเหลือเก้ือกูลกันในดา้ นอาชีพเช่นเดียวกัน โดยการช่วยเหลือเหล่าน้ีมาจาก ความสมั พนั ธ์ภายในชุมชนที่มีความเป็นเครือญาติสูง มีการทาํ งานร่วมกนั บ่อยคร้ัง ทาํ ให้ผผู้ ลิตขา้ ว หลามในหมูบ่ า้ นอาฮามรู้จกั และคุน้ เคยกนั เป็ นอยา่ งดี มีสิ่งใดขาดเหลือก็จะช่วยเหลือกนั แต่ก็จะไม่ กา้ วก่ายในการคา้ ขายของกนั และกนั เพ่ือหลีกเลี่ยงการทะเลาะหรือบาดหมางกนั ระหวา่ งผผู้ ลิตขา้ ว หลามดว้ ยกนั เอง การช่วยเหลือกนั ระหวา่ งผผู้ ลิตขา้ วหลามก็จะมีดว้ ยกนั หลายอยา่ ง อาทิเช่น
๑๔๒ ๕.๓.๑ การใหย้ มื วตั ถุดิบท่ีใชเ้ ป็นส่วนประกอบของขา้ วหลาม เนื่องจากในบางคร้ังวตั ถุดิบท่ีใช้ในการผลิตขา้ วหลามบางอย่างของผูผ้ ลิตรายหน่ึงหมด ก็ สามารถขอยมื วตั ถุดิบที่ใชใ้ นการผลิตขา้ วหลามกบั ผผู้ ลิตอีกรายหน่ึงได้ “อยา่ งบางคนเขาจะยะขา้ วหลามแลว้ ไมเ้ ขาหมด เขาก็มาขอยืม ถา้ อะหยงั หมดก็มา ขอยมื ได้ ขอยืมมะพร้าว น้าํ ตาล เกลือ ถา้ มีเม่ือใดค่อยเอามาคืนได้ บ่ไดค้ ิดดอกอะ หยงั แต่เฮาก็มีจิตสํานึกวา่ ยืมของเขาไป เป็ นหน้ี เฮาก็ตอ้ งเอามาคืน...” (วิลยั วนั ควร, สมั ภาษณ์, ๒๒ ตุลาคม ๒๕๕๓) ๕.๓.๒ การช่วยกนั จาํ หน่ายขา้ วหลามเพื่อใหข้ า้ วหลามไมเ่ หลือคา้ งวนั เนื่องจากขา้ วหลามเป็ นอาหารที่ไม่สามารถเก็บไวไ้ ดน้ าน โดยทวั่ ไปขา้ วหลามสามารถเก็บได้ โดยไมบ่ ูดเพียง ๑-๒ วนั แลว้ แต่สภาพอากาศ อีกท้งั ถา้ เก็บไวข้ า้ มคืนกจ็ ะทาํ ใหร้ สชาติดอ้ ยลง ทาํ ให้ ผผู้ ลิตขา้ วหลามจาํ เป็นท่ีจะตอ้ งจาํ หน่ายขา้ วหลามใหห้ มดภายในวนั เดียว ดงั น้นั เม่ือแม่คา้ ขา้ วหลาม นาํ ขา้ วหลามไปจาํ หน่ายบนรถทวั ร์ ทุ่งชา้ ง-กรุงเทพฯ ในช่วงเยน็ ของทุกวนั ที่ขา้ วหลามเหลือจาก การจําหน่ายริมถนนซ่ึงจาํ เป็ นจะต้องจาํ หน่ายให้ได้มากที่สุด เพราะไม่เช่นน้ันข้าวหลามจะ กลายเป็นของคา้ งคืนและบูดได้ ดงั น้นั เม่ือผผู้ ลิตขา้ วหลามรายหน่ึงสามารถจาํ หน่ายขา้ วหลามหมด ก่อน ถา้ รายท่ีจาํ หน่ายหมดไม่มีธุระรีบร้อนก็จะช่วยผผู้ ลิตขา้ วหลามรายอื่นๆจาํ หน่ายขา้ วหลามให้ ไดม้ ากท่ีสุด อีกท้งั การข้ึนไปจาํ หน่ายบนรถทวั ร์ยงั เป็ นไปอยา่ งเก้ือกูล โดยที่ใครจะข้ึนก่อน-หลงั ก็ ได้ ข้ึนอยกู่ บั วา่ ใครจะไปถึงรถก่อน จะไม่มีการจองรถแต่ละคนั เป็ นของตวั เองแต่อย่างใด อีกท้งั พนกั งานบนรถทวั ร์ก็ไม่ไดค้ ดั คา้ นในการข้ึนไปจาํ หน่ายขา้ วหลามของกลุ่มผูผ้ ลิตขา้ วหลามบนรถ เนื่องจากถือวา่ เป็ นการช่วยเหลือกนั และผผู้ ลิตขา้ วหลามก็จะตอบแทนน้าํ ใจดว้ ยการใหข้ า้ วหลาม แก่พนกั งานบนรถทวั ร์ที่ข้ึนไปจาํ หน่ายดว้ ย
๑๔๓ ภาพที่ ๓๕ ผผู้ ลิตขา้ วหลามนาํ ขา้ วหลามที่เหลือจากการจาํ หน่ายขา้ งถนนมาจาํ หน่ายตอ่ ท่ีทา่ รถทวั ร์ เทศบาลตาํ บลทา่ วงั ผาในช่วงเยน็ ของทุกวนั ๕.๓.๓ การแลกเปล่ียนขา้ วหลามระหวา่ งผผู้ ลิตเพ่ือใหผ้ บู้ ริโภคไดเ้ ลือกซ้ือหลายไส้ เม่ือถึงช่วงเยน็ ที่ขา้ วหลามเหลือจากการจาํ หน่ายริมถนน ผผู้ ลิตขา้ วหลามก็จะนาํ ขา้ วหลามไป จาํ หน่ายท่ีท่ารถดงั ท่ีกล่าวมาก่อนหนา้ แต่ขา้ วหลามของผผู้ ลิตแตล่ ะรายอาจจะเหลือขา้ วหลามแต่ละ ไส้มากนอ้ ยไม่เท่ากนั ทาํ ให้เกิดการแลกเปล่ียนขา้ วหลามที่มีไส้ต่างกนั ของผผู้ ลิตแต่ละราย เพ่ือทาํ ให้ผบู้ ริโภคสามารถเลือกซ้ือไดม้ ากข้ึน และตรงตามความตอ้ งการของผบู้ ริโภค อีกท้งั ผผู้ ลิตขา้ ว หลามยงั สามารถจาํ หน่ายขา้ วหลามไดม้ ากและหมดเร็วข้ึนดว้ ย และถา้ ขา้ วหลามของผผู้ ลิตรายท่ีรับ แลกน้นั เหลือจากการจาํ หน่ายก็จะมีการรับผดิ ชอบดว้ ยการรับคืนไปดว้ ย “เฮาข้ึนไปคนั หน่ึงเฮาก็ห้ือขา้ วหลามเขากระบอกหน่ึง เขาก็บ่วา่ อะหยงั ถา้ เฮาข้ึน ไปแลว้ ขายหมด วนั น้ีเฮาก็บ่ตอ้ งห้ือก็ได้ วนั หลงั ค่อยห้ือ...คนท่ีเขาจะข้ึนรถทวั ร์ก็ จะบ่ว่าหยงั กนั๋ เรียงแถวกนั๋ ข้ึน เพราะส่วนใหญ่ก็ขายไดก้ ู่คน อยา่ งคนหน่ึงข้ึนไป ไดข้ ายห้ือคนน้ี แหมคนข้ึนมาก็เลยไปตางหน้าไปขายห้ือคนอ่ืนต่อไดเ้ ลย เฮาก็ หลบห้ือเขาเดินไป บางทีถา้ เขาบ่ฮีบ ถา้ ของเขาหมดของเฮาเหลือเขาก็ช่วยขายห้ือ บางกาํ ก็สลบั กนั๋ คนหน่ึงมีถว่ั แหมคนมีเผือก แหมคนมีสังขยา เฮาก็เอาแลกกน๋ั
๑๔๔ เพราะจะได้ขายหลายๆไส้ ก็ช่วยๆก๋ันขายห้ือมันหมด” (ทองใบ ยศหล้า, สมั ภาษณ์, ๑๘ ตุลาคม ๒๕๕๓) นอกจากการช่วยเหลือกนั แลว้ ผผู้ ลิตขา้ วหลามแตล่ ะรายกจ็ ะทราบดีวา่ ไม่ควรกา้ วก่าย วิธีการผลิต รวมไปถึงตวั สินคา้ ของผูผ้ ลิตรายอ่ืนเพ่ือหลีกเลี่ยงความบาดหมางที่อาจจะเกิดข้ึน ระหวา่ งตนและผผู้ ลิตรายอื่น เพื่อทาํ ใหต้ นเองและผผู้ ลิตรายอื่นไม่ตอ้ งมีเรื่องขนุ่ เคืองกนั “...เฮาบ่ฮู้ กา้ วก่ายกน๋ั บ่ได้ อย่างเฮาไปว่าขา้ วหลามบา้ นป้ ุนขา้ วหลามบูดน่ีบ่ได้ ลองไปวา่ ผ่อกะ ผดิ กนั๋ กาํ เดียวเลยนะแม่คา้ ...” (ดวงเดือน อินเป็ ง, สัมภาษณ์, ๒๓ สิงหาคม ๒๕๕๓) ๕.๔ ขา้ วหลามบา้ นอาฮามกบั การพ่งึ ตนเองในทอ้ งถิ่น ในส่วนน้ีเป็ นการศึกษาถึงผูผ้ ลิตขา้ วหลามท่ีมีการพ่ึงตนเองภายในชุมชนว่ามีอยู่มากน้อย เพียงใด และจะทาํ ให้เกิดความยงั่ ยืนในอาชีพได้อย่างไร โดยจะแบ่งออกเป็ น ๒ ส่วนคือ การ พ่งึ ตนเองทางดา้ นทรัพยากรที่ใชเ้ ป็นส่วนประกอบในการผลิตขา้ วหลาม และการพ่ึงตนเองทางดา้ น การประชาสมั พนั ธ์/การจาํ หน่ายสินคา้ ดงั จะไดก้ ล่าวอยา่ งละเอียดตอ่ ไปน้ี ๕.๔.๑. การพ่งึ ตนเองทางดา้ นทรัพยากรที่ใชเ้ ป็นส่วนประกอบในการผลิตขา้ วหลาม จากขอ้ มลู ทางดา้ นทรัพยากรที่ใชเ้ ป็นส่วนประกอบในการผลิตขา้ วหลามขา้ งตน้ ทาํ ใหท้ ราบวา่ อาชีพการผลิตขา้ วหลามของบา้ นอาฮามจาํ เป็ นท่ีจะตอ้ งพ่ึงพาทรัพยากรจากภายนอกชุมชนเกือบ ท้งั หมด เนื่องจากในปัจจุบนั ไดม้ ีการผลิตจาํ นวนมากและตลอดท้งั ปี อีกท้งั จาํ นวนทรัพยากรภายใน ชุมชนยงั ลดนอ้ ยลง ถึงแมว้ า่ ผผู้ ลิตขา้ วหลามบางรายจะมีการเพาะปลูกพชื ท่ีใชใ้ นการผลิตขา้ วหลาม บา้ งก็ตาม แต่ก็ยงั คงไม่เพยี งพอต่อความตอ้ งการท่ีมากและตลอดท้งั ปี ทาํ ให้เมื่อใดที่ทรัพยากรที่ใชเ้ ป็ นส่วนประกอบในการผลิตขา้ วหลามมีความขาดแคลนหรือมี ราคาสูงก็จะส่งผลกระทบต่อผผู้ ลิตขา้ วหลามอยา่ งหลีกเล่ียงไม่ได้ เช่น ในปัจจุบนั มะพร้าวหายาก และมีราคาสูงมาก ทาํ ใหผ้ ผู้ ลิตขา้ วหลามจะตอ้ งซ้ือมะพร้าวในราคาสูง ทาํ ให้ตน้ ทุนการผลิตเพิ่มข้ึน รวมไปถึงส่วนประกอบอ่ืนๆท่ีข้ึนราคาเช่นกนั เช่น ไมไ้ ผข่ า้ วหลาม ขา้ วเหนียว น้าํ ตาลทราย ฯลฯ
๑๔๕ ทาํ ใหใ้ นปัจจุบนั ผผู้ ลิตขา้ วหลามไดแ้ กป้ ัญหาน้ีโดยการปรับราคาการขายขา้ วหลามเป็ น ๒ ราคา คือ กระบอกละ ๑๐ บาท และกระบอกละ ๒๐ บาท โดยในช่วงเทศกาลจะผลิตเฉพาะกระบอกละ ๒๐ บาทเทา่ น้นั เพอื่ ลดตน้ ทุนการผลิตและลดระยะเวลาในการเผาลง ๕.๔.๒ การพ่ึงตนเองทางดา้ นการประชาสัมพนั ธ์/การจาํ หน่ายสินคา้ จากการศึกษาพบวา่ ในอดีตเมื่อกว่า ๑๐ ปี ที่ผา่ นมาภาครัฐไดเ้ ขา้ มาส่งเสริมและพฒั นาอาชีพ การผลิตขา้ วหลามจนเป็นท่ีรู้จกั ในทอ้ งถิ่น ดงั จะเห็นไดจ้ ากมีการจดั งาน ประกวด แขง่ ขนั ต่างๆ เช่น การประกวดขา้ วหลามอร่อย ขา้ วหลามยาว การแข่งกินขา้ วหลาม เป็ นตน้ อีกท้งั ยงั เขา้ มาใหค้ วามรู้ ในเร่ืองโภชนาการและสุขอนามยั ในการผลิต รวมไปถึงใหต้ ิดป้ ายชื่อร้าน ปั๊มตราป๊ัมวนั ท่ีผลิต เป็ น ตน้ เพื่อใหเ้ กิดความมนั่ ใจต่อผบู้ ริโภคอีกดว้ ย “...แต่ก่อนมีงานระดบั จงั หวดั ก็จะเอาคนที่ยะขา้ วหลามจากหลายๆท่ีมาประกวด แข่งกน๋ั เพราะอยา่ งในเวยี งก็มีคนยะขา้ วหลาม อยา่ งบา้ นสวนตาล แต่ก่อนน้ีดงั นะ แต่เดี๋ยวน้ีบ่มีประกวดอะหยงั แลว้ ” (แจ่มจนั ทร์ ไชยชนะ, สัมภาษณ์, ๑๘ ตุลาคม ๒๕๕๓) ภาพที่ ๓๖ ประกาศนียบตั รที่ผผู้ ลิตขา้ วหลามบา้ นอาฮามไดร้ ับจากการประกวดขา้ วหลาม ในปี พ.ศ.๒๕๔๐
๑๔๖ แต่อยา่ งไรก็ตาม ในปัจจุบนั ผูผ้ ลิตขา้ วหลามบา้ นอาฮามเกือบท้งั หมดก็ยงั คงวิธีการผลิตแบบ ด้งั เดิม และไม่ไดม้ ีการติดป้ ายชื่อหรือวนั ท่ีผลิตแต่อย่างใด โดยทางภาครัฐก็ไม่ได้เขา้ มากระตุน้ สนบั สนุน หรือให้ความรู้ และทาํ ความเขา้ ใจกบั ผูผ้ ลิตขา้ วหลามอย่างจริงจงั และต่อเน่ือง ทาํ ให้ ผผู้ ลิตส่วนใหญไ่ มต่ ิดป้ ายร้านเพราะตอ้ งเสียภาษีป้ าย และไม่อยากปั๊มชื่อร้านดว้ ย “ขา้ วหลามแมป่ ิ่ นเขาดงั ตอนงานส้ม เกษตรอาํ เภอเขากส็ นบั สนุน เขาเลยดงั แม่ปิ่ น เขาเอาไปขายในงานเป็ นเจา้ แรกๆ ละก็ปั๊มช่ือแม่ปิ่ น มีการเสียภาษีป้ าย แต่ร้านอ่ืน เขาบ่ไดใ้ ส่ช่ือใส่ป้ าย เพราะเขาบ่อยากเสียภาษีป้ าย คนซ้ือเลยบ่ฮูว้ า่ เจา้ ไหน ขา้ ว หลามเป็ นของไผพ่อง” (สุนทรีย์ ประกอบเท่ียง, สัมภาษณ์, ๒๔ สิงหาคม ๒๕๕๓) ทาํ ใหใ้ นปัจจุบนั ผผู้ ลิตขา้ วหลามจะตอ้ งพ่ึงตนเองในการจาํ หน่าย โดยที่ส่วนใหญ่จะใชว้ ิธีการ ผลิตท่ีคงคุณภาพและความอร่อย โดยจะเนน้ ท่ีผบู้ ริโภคท่ีเป็ นขาประจาํ โดยผผู้ ลิตแต่ละรายจะมีขา ประจาํ เป็ นของตวั เอง โดยผบู้ ริโภคก็จะทราบดีวา่ ผผู้ ลิตรายไหนทาํ ไดม้ ีคุณภาพ อร่อย และไม่นาํ ของคา้ งคืนมาจาํ หน่าย ทาํ ให้ผูบ้ ริโภคเกิดความไวว้ างใจในตวั สินคา้ ทาํ ให้สามารถจาํ หน่ายขา้ ว หลามไดเ้ ป็นอยา่ งดี “...แต่ขา้ วหลามน่ีขาใครขามนั นะ เขาเกยซ้ือที่ไหนเขาก็จะซ้ือท่ีเก่า ขายมาเมินก็มี ขาประจาํ ก็ยงั ดีหน่อย...” (แจ่มจนั ทร์ ไชยชนะ, สัมภาษณ์, ๑๘ ตุลาคม ๒๕๕๓) ส่วนผูท้ ี่ผลิตไม่มาก และผลิตเป็ นบางคร้ังจนทาํ ให้ไม่มีผูบ้ ริโภคที่เป็ นขาประจาํ จะมีความ ลาํ บากในการจาํ หน่ายมากกว่า เนื่องจากผูบ้ ริโภคไม่มน่ั ใจในคุณภาพและรสชาติ แต่จะผลิตเพื่อ จาํ หน่ายในช่วงท่ีมีความตอ้ งการในการบริโภคจาํ นวนมาก เช่น ในช่วงเทศกาลต่างๆเท่าน้นั อีกท้งั ผูท้ ่ีผลิตจาํ นวนน้อยก็เกิดความรู้สึกไม่เท่าเทียมข้ึนเช่นกนั โดยจะสะทอ้ นไดจ้ ากเม่ือ ภาครัฐได้จดั กิจกรรมต่างๆท่ีจะมีการนาํ เอาขา้ วหลามท่ีเป็ นของผูผ้ ลิตรายใหญ่ไปใช้ในการจดั กิจกรรม และสนบั สนุนใหน้ าํ ไปจาํ หน่ายตามงานต่างๆ ทาํ ใหผ้ ผู้ ลิตรายอื่นๆอาจเกิดความไม่พอใจ และนอ้ ยเน้ือต่าํ ใจเช่นเดียวกนั แต่ในท่ีสุดก็ไม่มีการวา่ กล่าวหรือทะเลาะกนั อยา่ งรุนแรงแต่อยา่ งใด เน่ืองจากเป็ นผูผ้ ลิตท่ีอยใู่ นหมู่บา้ นเดียวกนั และเป็ นเสมือนญาติพ่ีน้องกนั ทาํ ใหม้ ีเพียงแต่การบ่น หรือนินทากนั ภายในชุมชนเท่าน้นั
๑๔๗ “แต่ก่อนเกษตรอาํ เภอก็ไดม้ าแนะนาํ ห้ือรวมกลุ่มเหมือนกน๋ั แต่ก็รวมบ่ได้ เพราะ อาจเป็ นท่ีคนยะนกั แลว้ ขายดีอยแู่ ลว้ บ่อยากรวมกลุ่มกบั คนยะน้อยๆขายไดบ้ ่นกั ยะห้ือเขามีขอ้ อา้ งบ่รวมกลุ่ม เกษตรอาํ เภอเขาก็มาแนะนาํ ห้ือปลูกไมข้ า้ วหลามใน บา้ น แตก่ บ็ ม่ ีไผยะแต.้ ..” (ศรีจม ไชยชนะ, สัมภาษณ์, ๒๘ ตุลาคม ๒๕๕๓) “...ถา้ มีการมีงานเขากเ็ อาแต่ของแม่ปิ่ นไปประกวด หมู่เฮาจะอ้ีบ่ไดไ้ ปและ เกษตร อาํ เภอเขาเอาแต่ของแม่ปิ่ นไปประกวดหมด ซ้ือเอาไปฝากไผก็ของแม่ปิ่ น บ่เปิ ด โอกาสห้ือคนอื่น เจา้ อ่ืนเขาบ่ซ้ือไป ยะห้ือเขาฮูจ้ กั แต่ขา้ วหลามแม่ปิ่ น นายอาํ เภอ กะวา่ พระเทพฯเสด็จ ก็เอาขา้ วหลามแม่ปิ่ น ขา้ วหลามเจา้ อ่ืนบ่เอา...” (แจ่มจนั ทร์ ไชยชนะ, สมั ภาษณ์, ๑๘ ตุลาคม ๒๕๕๓) จะเห็นไดว้ า่ การผลิตขา้ วหลามเพ่ือจาํ หน่ายในปัจจุบนั ข้ึนอยูก่ บั คุณภาพของสินคา้ เพราะเม่ือ ผผู้ ลิตสามารถผลิตขา้ วหลามมีรสชาติดี มีคุณภาพท่ีดี ผบู้ ริโภคก็จะเกิดการบอกต่อและกลบั มาซ้ือ ยงั ร้านเดิม แตอ่ ยา่ งไรกต็ ามผผู้ ลิตขา้ วหลามกย็ งั คงตอ้ งการการสนบั สนุนจากทางภาครัฐเช่นกนั ดงั จะเห็น ได้จากความตอ้ งการที่จะให้ภาครัฐนาํ เสนอขา้ วหลามของผูผ้ ลิตรายอื่นๆให้เป็ นท่ีรู้จกั บา้ ง แต่ ในทางกลบั กนั ก็ตามผผู้ ลิตก็จะตอ้ งผลิตขา้ วหลามที่มีคุณภาพและถูกตอ้ งตามหลกั โภชนาการดว้ ย ส่วนท่ี ๖ สรุปพฒั นาการของข้าวหลามบ้านอาฮามและผลทเี่ กดิ ขึน้ ต่อระบบเศรษฐกจิ ทรัพยากรธรรมชาติและวฒั นธรรมท้องถิ่น ประวตั ิความเป็ นมา ลกั ษณะทางภูมิศาสตร์และพฒั นาการการผลิตขา้ วหลามของบา้ นอาฮาม สะทอ้ นใหเ้ ห็นถึงความเปล่ียนแปลงทางดา้ นเศรษฐกิจ ทรัพยากรธรรมชาติ และวฒั นธรรมของคน ในชุมชนบา้ นอาฮามอยา่ งต่อเนื่องดงั ตอ่ ไปน้ี
๑๔๘ ๖.๑ ขอ้ มลู ทว่ั ไปของบา้ นอาฮาม ผผู้ ลิตขา้ วหลามบา้ นอาฮามเป็นคนด้งั เดิมท่ีอาศยั อยใู่ นพ้ืนที่มาต้งั แต่คร้ังบรรพบุรุษ สภาพที่ต้งั ของหมู่บา้ นเหมาะแก่การอยอู่ าศยั เพาะปลูก และทาํ มาคา้ ขายเน่ืองจากอยใู่ นเขตชุมชนและมีถนน หลวงตดั ผา่ นหมบู่ า้ น บ้านอาฮามมีวดั เป็ นตัวแทนของศาสนา มีการประกอบพิธีกรรมในวนั สําคัญต่างๆทาง พระพุทธศาสนา มีวฒั นธรรม ประเพณีท่ีเป็นที่ยดึ เหน่ียวจิตใจ และสร้างความสามคั คีภายในชุมชน มีระบบสาธารณูปโภคและสาธารณูปการครบครัน มีทรัพยากรธรรมชาติท่ีอุดมสมบูรณ์เหมาะแก่ การอยอู่ าศยั และทาํ มาหากิน ๖.๒ พฒั นาการขา้ วหลามบา้ นอาฮาม อาํ เภอท่าวงั ผา จงั หวดั น่าน ขา้ วหลามเป็นอาหารที่มีอยใู่ นทอ้ งถิ่นมาเน่ินนาน แตก่ ารท่ีจะรักษาและสืบทอดทกั ษะการผลิต ขา้ วหลามมาจนกระทงั่ ปัจจุบนั น้นั เป็ นสิ่งท่ียากย่ิง เพราะขา้ วหลามถือเป็ นอาหารที่สะทอ้ นภูมิ ปัญญาของคนทอ้ งถิ่น โดยที่ในปัจจุบนั บา้ นอาฮามเป็ นชุมชนท่ีมีผสู้ ืบทอดการผลิตขา้ วหลามมาก ท่ีสุดในจงั หวดั น่าน พฒั นาการของขา้ วหลามบา้ นอาฮามเร่ิมมาจากการท่ีมีการผลิตเพ่ือตอบสนองความตอ้ งการ ของแตล่ ะครอบครัว ต่อมาก็เร่ิมมีการเผาขายเป็ นจาํ นวนนอ้ ย และในที่สุดก็ไดก้ ลายมาเป็ นสินคา้ ท่ี สามารถสร้างรายไดใ้ หก้ บั คนในชุมชนตลอดท้งั ปี โดยท่ีกระบวนการในการผลิตขา้ วหลามของบา้ นอาฮามส่วนใหญ่ยงั คงเป็ นแบบด้งั เดิมท่ีมีการ ประยุกตใ์ ชแ้ ละพฒั นามาจนกระทง่ั ปัจจุบนั ซ่ึงขา้ วหลามของบา้ นอาฮามก็ยงั คงความเป็ นอาหาร ทอ้ งถิ่นท่ีคนทว่ั ไปรู้จกั มาต้งั แตอ่ ดีตถึงปัจจุบนั ๖.๓ ขา้ วหลามบา้ นอาฮามกบั ระบบเศรษฐกิจ เมื่อขา้ วหลามได้กลายมาเป็ นสินคา้ ของชุมชน ทาํ ให้หลีกเล่ียงท่ีจะทาํ ให้เกิดผลต่อระบบ เศรษฐกิจไมไ่ ด้ เพราะเม่ือมีการผลิตจาํ นวนมากและตลอดท้งั ปี กจ็ ะทาํ ใหผ้ ผู้ ลิตตอ้ งซ้ือวตั ถุดิบต่างๆ เพ่ือนาํ มาประกอบเขา้ เป็นขา้ วหลาม อีกท้งั ยงั มีการจา้ งงานในชุมชนเพอื่ มาช่วยในกระบวนการผลิต ขา้ วหลามท่ีมีข้นั ตอนและใชเ้ วลาในการผลิตมาก
๑๔๙ จากการผลิตขา้ วหลามเพื่อจาํ หน่ายทาํ ให้คนในชุมชนบา้ นอาฮามหลายคนไดม้ ีอาชีพ ท้งั เป็ น อาชีพหลกั และอาชีพเสริม อีกท้งั ยงั ทาํ ใหค้ นในทอ้ งถิ่นไมต่ อ้ งเดินทางไปหางานทาํ ยงั ต่างถิ่น ซ่ึงจะ ทาํ ใหเ้ กิดผลดีตอ่ ระบบครอบครัวดว้ ย ๖.๔ ขา้ วหลามบา้ นอาฮามกบั ทรัพยากรธรรมชาติ ขา้ วหลามเป็นสินคา้ ที่จาํ เป็นตอ้ งใชท้ รัพยากรธรรมชาติในการผลิต ดงั น้นั ทรัพยากรธรรมชาติ ที่เป็ นวตั ถุดิบท่ีใช้ในการผลิตขา้ วหลามเหล่าน้นั จึงมีอิทธิพลต่ออาชีพการผลิตขา้ วหลามเป็ นอยา่ ง มาก เนื่องจากในปัจจุบนั มีการผลิตขา้ วหลามเพื่อจาํ หน่ายทุกวนั ไม่ใช่การผลิตเฉพาะฤดูหนาว เหมือนในอดีต ทําให้เกิดการใช้ทรัพยากรธรรมชาติเป็ นจํานวนมากตลอดท้ังปี ทําให้ ทรัพยากรธรรมชาติถูกใชไ้ ปอยา่ งรวดเร็วและเป็ นจาํ นวนมาก อีกท้งั มีการปรับเปลี่ยนรูปแบบของ กระบอกท่ีทาํ ให้ส้ันลงเพื่อใหค้ ุม้ ค่ากบั ตน้ ทุนทางการผลิตท่ีสูงข้ึน ทาํ ใหส้ ิ้นเปลืองไมไ้ ผข่ า้ วหลาม ซ่ึงเป็นทรัพยากรธรรมชาติที่สาํ คญั ท่ีใชใ้ นการผลิตที่สาํ คญั ที่สุด ทาํ ใหใ้ นปัจจุบนั เร่ิมเกิดปัญหาการขาดแคลนทรัพยากรธรรมชาติท่ีใชใ้ นการผลิตขา้ วหลาม ทาํ ให้ขา้ วหลามมีตน้ ทุนการผลิตที่สูงข้ึน มีกาํ ไรนอ้ ยลง ทาํ ให้ผผู้ ลิตลดน้อยลง ผูบ้ ริโภคก็ลดลงดว้ ย เน่ืองจากตวั สินคา้ ขา้ วหลามมีขนาดของกระบอกเล็กลง และมีราคาสูงข้ึน ทาํ ใหเ้ กิดความไม่มน่ั คง ในอาชีพมากข้ึน ๖.๕ ขา้ วหลามบา้ นอาฮามกบั วฒั นธรรมชุมชน บา้ นอาฮามเป็ นหมู่บา้ นที่มีการนําเสนอขา้ วหลามเป็ นอตั ลกั ษณ์ที่สําคญั อย่างหน่ึงท่ีสร้าง ช่ือเสียงให้กบั ชุมชนดงั จะสะทอ้ นออกมาจากคาํ ขวญั หมู่บา้ น บทเพลงที่แต่งข้ึน ป้ ายเชียร์เรือแข่ง ของหมู่บ้านในงานประเพณีแข่งเรือของอาํ เภอท่าวงั ผา และจากกิจกรรมต่างๆท่ีจดั ข้ึนภายใน ทอ้ งถิ่น ซ่ึงถึงแมว้ า่ ในปัจจุบนั ขา้ วหลามจะไดก้ ลายเป็ นสินคา้ ที่สร้างรายไดใ้ ห้กบั คนในชุมชน แต่คน ในชุมชนที่มีอาชีพการผลิตขา้ วหลามเกือบท้งั หมดก็ยงั คงวิถีวฒั นธรรมทอ้ งถิ่นด้งั เดิมท่ีดีงามเอาไว้ ได้ มีการช่วยเหลือเก้ือกูลกนั ในอาชีพ มีการช่วยเหลืองานส่วนรวมของชุมชนไม่ไดข้ าด มีการ
๑๕๐ จดั การภายในสังคมที่เป็ นสังคมการเกษตรแบบชนบท และมีความเป็ นเครือญาติสูง อีกท้งั ยงั สามารถจาํ หน่ายสินคา้ ไดโ้ ดยไม่ไดพ้ ่งึ พาภาครัฐในการสนบั สนุนแตอ่ ยา่ งใด
บทที่ ๕ แนวทางการจัดการข้าวหลามบ้านอาฮามอย่างยง่ั ยืน สืบเนื่องจากผลการศึกษาที่ไดก้ ล่าวไปในบทที่ ๔ ทาให้เราไดท้ ราบว่าขา้ วหลามบา้ นอา ฮามมีท้งั มูลคา่ คุณค่าและความสาคญั ตอ่ ชุมชน ทอ้ งถิ่น รวมไปถึงมีคุณค่าและความสาคญั ต่อความ เป็ นตวั ตนของคนเมืองน่านโดยรวม เน่ืองจากขา้ วหลามเป็ นอาหารท่ีแสดงถึงการใชภ้ ูมิปัญญาของ คนทอ้ งถ่ินเมืองน่านในอดีต ท่ีสามารถประยุกต์ใช้ทรัพยากรธรรมชาติและวิถีการดารงชีวิตเพ่ือ นามาสร้างเป็ นอาหารที่มีความกลมกลืนและเหมาะสมกับฤดูกาล ทาให้ขา้ วหลามเมืองน่าน กลายเป็นที่รู้จกั โดยทวั่ ไปมาเป็นเวลานานผา่ นสานวนลอ้ เลียนที่วา่ “เมืองน่านขา้ วหลามแจง้ ” ดงั น้นั ผศู้ ึกษาจึงมีความตอ้ งการท่ีจะใหข้ า้ วหลาม ซ่ึงเป็ นสินคา้ ท่ีแสดงถึงภูมิปัญญาและ ตวั ตนของคนเมืองน่านน้ันไดม้ ีท่ียืนในโลกยุคปัจจุบนั ไดอ้ ย่างภาคภูมิ โดยการสร้างคุณค่าและ มูลค่าเพ่ิมให้กบั ตวั สินคา้ ขา้ วหลามของบา้ นอาฮามผา่ นการศึกษาวิจยั ในคร้ังน้ี อีกท้งั มีการจดั การ โดยการหารูปแบบท่ีเหมาะสมในการจดั การสินคา้ ขา้ วหลามบา้ นอาฮามเพื่อใหเ้ กิดความยงั่ ยืน โดย มีการแบง่ รูปแบบการจดั การออกเป็นมิติตา่ งๆเพ่ือใหเ้ กิดการจดั การอยา่ งครอบคลุมรอบดา้ น คือ ๕.๑ มิติทางดา้ นทรัพยากรธรรมชาติ ๕.๒ มิติทางดา้ นผผู้ ลิต ๕.๓ มิติทางดา้ นหน่วยงานภาครัฐ ๕.๔ มิติทางดา้ นการท่องเที่ยว ซ่ึงการจดั การในแต่ละมิติน้นั มีความสาคญั เป็ นอย่างยิ่งที่จะทาให้สินคา้ วฒั นธรรมขา้ ว หลามเกิดความยงั่ ยนื โดยในแตล่ ะมิติจะมีรายละเอียดดงั ต่อไปน้ี ๕.๑ มิติทางดา้ นทรัพยากรธรรมชาติ ทรัพยากรธรรมชาติถือเป็ นตวั แปรท่ีสาคญั ท่ีสุดต่อการสืบทอดอาชีพการผลิตขา้ วหลาม ของบา้ นอาฮาม ซ่ึงจากการศึกษาพบว่าการผลิตขา้ วหลามของบา้ นอาฮามในปัจจุบนั น้นั ตอ้ งอาศยั ๑๕๑
๑๕๒ ไมไ้ ผข่ า้ วหลามซ่ึงเป็ นวตั ถุดิบท่ีสาคญั ท่ีสุดในการผลิตขา้ วหลามมาจากป่ าธรรมชาติท้งั หมด รวม ไปถึงทรัพยากรที่ไดจ้ ากธรรมชาติอ่ืนๆ เช่น ฟื น มะพร้าว เป็นตน้ โดยในปัจจุบนั ทรัพยากรธรรมชาติท่ีใชเ้ ป็ นส่วนประกอบในการผลิตขา้ วหลามเหล่าน้ีเร่ิม ลดนอ้ ยลง และมีแนวโนม้ ท่ีจะขาดแคลนมากข้ึนเรื่อยๆ ดงั จะเปรียบเทียบไดจ้ ากในอดีตท่ีผผู้ ลิตขา้ ว หลามบา้ นอาฮามสามารถเสาะหาทรัพยากรธรรมชาติเหล่าน้ีไดเ้ องเกือบท้งั หมด ต่างจากในปัจจุบนั ท่ีผผู้ ลิตขา้ วหลามบา้ นอาฮามทุกรายตอ้ งสง่ั ซ้ือทรัพยากรธรรมชาติจากภายนอกชุมชนเกือบท้งั หมด อีกท้งั ทรัพยากรที่ตอ้ งสง่ั ซ้ือน้นั ในบางช่วงเวลาก็มีไม่เพียงพอต่อความตอ้ งการของผผู้ ลิตขา้ วหลาม บา้ นอาฮาม ทาให้บางคร้ังผูผ้ ลิตขา้ วหลามตอ้ งหยุดการผลิตเน่ืองจากขาดทรัพยากรธรรมชาติที่ นามาใชเ้ ป็นส่วนประกอบในการผลิตขา้ วหลาม จะเห็นไดว้ า่ ทรัพยากรธรรมชาติที่ใชเ้ ป็ นส่วนประกอบในการผลิตขา้ วหลามเหล่าน้ีจึงเป็ น ตวั แปรที่สาคญั อยา่ งยง่ิ ต่อการสืบทอดอาชีพการผลิตขา้ วหลามของบา้ นอาฮาม ดงั น้นั จึงควรตอ้ งมี การจดั รูปแบบท่ีเหมาะสมในการจดั การทรัพยากรธรรมชาติท่ีใชเ้ ป็ นส่วนประกอบในการผลิตขา้ ว หลามเพ่ือให้เกิดความยงั่ ยืน ซ่ึงรูปแบบการจดั การทรัพยากรธรรมชาติที่ใชผ้ ลิตขา้ วหลามจะแบ่ง ออกเป็ นรูปแบบการจดั การทรัพยากรท่ีเป็ นส่วนประกอบท่ีสาคญั ชนิดต่างๆ คือ การจดั การไมไ้ ผ่ ขา้ วหลาม การจดั การฟื น และการจดั การมะพร้าว ๕.๑.๑ รูปแบบการจดั การไมไ้ ผข่ า้ วหลาม ไมไ้ ผข่ า้ วหลามเป็ นทรัพยากรธรรมชาติท่ีสาคญั ท่ีสุดในการผลิตขา้ วหลามบา้ นอาฮาม ท้งั ผผู้ ลิตขา้ วหลามและผทู้ ี่ตดั ไมไ้ ผข่ า้ วหลามเพ่ือจาหน่ายจาเป็ นจะตอ้ งตระหนกั ถึงความขาดแคลนท่ี เกิดข้ึนกับไม้ไผ่ข้าวหลาม และควรมีการร่วมมือกับหน่วยงานภาครัฐที่มีส่วนเก่ียวข้องเพื่อ ทาการศึกษาวจิ ยั และสร้างชุดความรู้เกี่ยวกบั ไมไ้ ผข่ า้ วหลาม และหาแนวทางในการจดั การให้ไมไ้ ผ่ ขา้ วหลามใหส้ ามารถกลายเป็นพชื เศรษฐกิจภายในทอ้ งถ่ิน โดยส่งเสริมใหผ้ ทู้ ี่มีความสนใจไดเ้ ขา้ มา ปลูกไมไ้ ผข่ า้ วหลามเพื่อเป็นสินคา้ ที่สร้างรายได้ หรือแมแ้ ต่ผผู้ ลิตขา้ วหลามอาจจะมีการปลูกไมไ้ ผ่ ขา้ วหลามไวใ้ ชเ้ องบา้ ง อีกท้งั ผูผ้ ลิตขา้ วหลาม ผูท้ ี่ตดั ไมข้ า้ วหลามจาหน่าย หรือแมก้ ระทงั่ บุคคลทว่ั ไปตอ้ งละทิ้ง ความเช่ือเดิมท่ีว่าไม้ไผ่ข้าวหลามเป็ นพืชท่ีต้องข้ึนเองตามธรรมชาติเท่าน้ัน ซ่ึงในปัจจุบัน เทคโนโลยที างการเกษตรไดม้ ีความกา้ วหนา้ เป็นอยา่ งมาก ทาให้เกิดวธิ ีการในการคดั เลือกสายพนั ธุ์ การสร้างสภาพแวดลอ้ มท่ีเหมาะสมท่ีเอ้ือต่อการเจริญเติบโตของพืชชนิดต่างๆได้ และไมไ้ ผข่ า้ ว หลามก็สามารถจะทาไดเ้ ช่นเดียวกนั โดยหนา้ ท่ีในการเผยแพร่ขอ้ มูลและสร้างความรู้ความเขา้ ใจน้ี
๑๕๓ ควรจะอยู่ในการดูแลของศูนยส์ ่งเสริมและพฒั นาอาชีพการเกษตรจงั หวดั น่าน(พืชสวน) และ สานกั งานเกษตรอาเภอทา่ วงั ผา โดยท้งั ผูผ้ ลิตข้าวหลามและผูท้ ี่สนใจปลูกไมไ้ ผ่ข้าวหลามจะตอ้ งร่วมมือกบั หน่วยงาน ภาครัฐที่เก่ียวขอ้ ง เพื่อท่ีหน่วยงานภาครัฐท่ีเก่ียวขอ้ งจะไดม้ ีการแบ่งปันความรู้ให้แก่ผูป้ ลูก เช่น วธิ ีการปลูก ดูแลรักษา คดั เลือกสายพนั ธุ์ เป็นตน้ ใหก้ บั ผปู้ ลูก อีกท้งั ในอนาคตอาจมีการประกนั การ รับซ้ือผลผลิตกนั ระหว่างผูผ้ ลิตข้าวหลามและผูป้ ลูกไมไ้ ผ่ขา้ วหลามเพ่ือจาหน่าย เพื่อทาให้เกิด ความมนั่ ใจและลดความเสี่ยงของผปู้ ลูกไมไ้ ผ่ และเป็นแรงจงู ใจใหผ้ สู้ นใจรายอื่นๆไดเ้ ขา้ มาปลูกไม้ ไผข่ า้ วหลามเพอ่ื จาหน่ายมากข้ึนอีกดว้ ย ดงั น้นั จะเห็นไดว้ า่ ไมไ้ ผข่ า้ วหลามเป็ นทรัพยากรท่ีตอ้ งมีการจดั การเพื่อให้เกิดความยงั่ ยืน ผลผลิตไมไ้ ผข่ า้ วหลามจะตอ้ งเพียงพอต่อความตอ้ งการของผผู้ ลิต ซ่ึงจะเกิดข้ึนไดก้ ็ต่อเมื่อมีความ ร่วมมือกนั ระหว่างภาครัฐ ท่ีทาหนา้ ที่ศึกษา ส่งเสริม แนะนา และผูป้ ระกอบการที่เก่ียวขอ้ ง เช่น ผผู้ ลิตขา้ วหลาม คนในชุมชนท่ีตดั ไมข้ า้ วหลามจาหน่าย และบุคคลทว่ั ไปในชุมชนที่มีความสนใจ ในธุรกิจไมข้ ้าวหลาม ซ่ึงจะทาให้เกิดผลดีต่อท้งั ตวั ทรัพยากรเองที่ได้รับการฟ้ื นฟู และคนใน ทอ้ งถ่ินที่มีอาชีพใหม่ที่สามารถสร้างรายไดใ้ ห้กบั ทอ้ งถิ่น อีกท้งั ผูผ้ ลิตขา้ วหลามเองก็จะไม่ตอ้ ง เดินทางไปรับซ้ือไมไ้ ผข่ า้ วหลามไกลข้ึน ทาใหผ้ ผู้ ลิตประหยดั ตน้ ทุนค่าขนส่งที่สูงอยใู่ นปัจจุบนั นอกจากน้นั กอ็ าจประหยดั เวลาในการขนส่ง และราคาของวตั ถุดิบท่ีไดอ้ าจมีราคาท่ีถูกลงดว้ ย ๕.๑.๒ รูปแบบการจดั การฟื น การใชฟ้ ื นเผาขา้ วหลามถือเป็นอตั ลกั ษณ์ที่สาคญั อีกอยา่ งหน่ึงของการเผาขา้ วหลามบา้ นอา ฮามรวมไปถึงการเผาขา้ วหลามของคนเมืองน่านในอดีต ดงั ท่ีไดพ้ บจากการศึกษาวา่ สืบเนื่องมาจาก วถิ ีการดารงชีวติ ในฤดูหนาวของคนเมืองน่านท่ีมีการใชฟ้ ื นมาก่อเป็ นกองไฟเพื่อใชผ้ งิ คลายหนาว ในช่วงฤดูหนาว และมีการนาเอาขา้ วมาหลามในกระบอกไมไ้ ผข่ า้ วหลามเพื่อรับประทานกนั ใน ครอบครัวยามผงิ ไฟ ซ่ึงในปัจจุบนั ฟื นท่ีนามาใชใ้ นกระบวนการผลิตขา้ วหลามน้นั ถือวา่ เป็นทรัพยากรธรรมชาติ ประเภทป่ าไม้ ที่มีการครอบครองเป็นกรรมสิทธ์ิส่วนบุคคลหรือของรัฐไปหมดแลว้ ต่างจากในอดีต ที่สามารถเดินเขา้ ป่ าหลงั หม่บู า้ นเพอื่ ไปตดั ไมน้ ามาใชเ้ ป็นฟื นไดอ้ ยา่ งเสรี ดงั น้นั ฟื นที่ถือวา่ เป็นไมจ้ ากป่ าจึงไดร้ ับการคุม้ ครองตามกฎหมายของกรมป่ าไม้ การที่ผใู้ ด เขา้ ไปตดั ไมใ้ นป่ าถือเป็นการลกั ลอบทาผิดกฎหมาย ดงั จะเห็นไดจ้ ากการระมดั ระวงั ตวั ในการตอบ คาถามกบั ผศู้ ึกษาเกี่ยวกบั การจาหน่ายไมฟ้ ื นเหล่าน้นั
๑๕๔ นอกจากป่ าไมจ้ ะไดร้ ับการคุม้ ครองตามกฎหมายและมีกรรมสิทธ์ิเป็ นของส่วนบุคคลแลว้ ในปัจจุบนั ไมท้ ี่นามาใชท้ าเป็ นฟื นยงั หาไดย้ ากข้ึนตามจานวนทรัพยากรป่ าไมท้ ี่ลดนอ้ ยลงเรื่อยๆ เพราะฉะน้นั วธิ ีการจดั การฟื นเพื่อใหเ้ กิดความยงั่ ยืนจึงมีความจาเป็ นจะตอ้ งสร้างจิตสานึกให้กบั คน ทว่ั ไปในชุมชนทอ้ งถิ่นในการปลูกทดแทนตน้ ไมท้ ่ีตดั ไป และหน่วยงานราชการที่เก่ียวขอ้ ง เช่น กรมป่ าไม้ และสานกั งานเกษตรอาเภอท่าวงั ผา ควรให้ความรู้ไม่ให้มีการถางป่ า เผาป่ า เพ่ือใชป้ ลูก พืชระยะส้นั เช่น ขา้ วโพด ที่ถือเป็ นตวั ทาลายพ้ืนท่ีป่ าไมอ้ ยา่ งรวดเร็ว ควรส่งเสริมให้มีการปลูกพืช ยืนตน้ อย่างหลากหลายที่สามารถให้รายไดแ้ ละเมื่อตน้ พืชชนิดน้นั มีอายุมากให้ผลผลิตน้อยลงก็ สามารถตดั และนาเอาลาตน้ หรือก่ิงกา้ นมาใชเ้ ป็ นฟื นได้ และมีการปลูกทดแทนอย่ตู ลอดเวลา จะ เป็ นการช่วยลดปัญหาการขาดแคลนฟื น อีกท้งั ยงั เพิ่มพ้ืนที่สีเขียวให้กับป่ าไม้ และส่งผลดีถึง ทรัพยากรธรรมชาติอ่ืนๆ อีกท้งั ยงั ช่วยลดความรุนแรงของภยั ธรรมชาติ เช่นน้าท่วม ดินถล่ม ที่ นบั วนั จะทวคี วามรุนแรงข้ึนในพ้นื ที่เมืองน่านไดอ้ ีกดว้ ย ๕.๑.๓ รูปแบบการจดั การมะพร้าว การผลิตขา้ วหลามบา้ นอาฮามจะใชม้ ะพร้าวในการทาน้ากะทิเป็ นจานวนมากต่อวนั ทาให้ มะพร้าวในชุมชนและทอ้ งถิ่นใกลเ้ คียงมีไม่เพียงพอ จึงเกิดการรับซ้ือจากทอ้ งถิ่นอื่นๆที่อยู่ห่าง ออกไป โดยการรับซ้ือมะพร้าวส่วนใหญ่จะผา่ นทางพ่อคา้ คนกลางที่จะนามะพร้าวที่ตระเวนรับซ้ือ ตามชุมชนตา่ งๆในจงั หวดั น่านมาจาหน่ายใหก้ บั ผผู้ ลิตขา้ วหลามบา้ นอาฮามคราวละมากๆ การซ้ือมะพร้าวผา่ นพอ่ คา้ คนกลางของผผู้ ลิตขา้ วหลามบา้ นอาฮามทาใหร้ าคาของมะพร้าว สูงข้ึนเท่าตวั จากการรับซ้ือโดยตรงตามบา้ น ท้งั น้ีเน่ืองจากปัจจยั หลายประการ เช่น ความขาดแคลน ในบางฤดู มีการคิดค่าขนส่ง คิดค่าข้ึนมะพร้าว เป็ นตน้ อีกท้งั ในบางคร้ังตอ้ งซ้ือมะพร้าวจากทาง ภาคกลางและกะทิกล่องซ่ึงมีราคาสูงและกะทิกล่องจะมีรสชาติไม่ดีเทา่ น้ากะทิสด อี ก ท้ังใ นปั จจุ บันจานวนต้นมะ พ ร้ าวใ นท้องถิ่ นเริ่ มล ดน้อย ล งเช่ นเดี ย วกับ ทรัพยากรธรรมชาติอื่นๆ เนื่องในปัจจุบนั มีการนาเอาพ้ืนที่ที่เคยใชป้ ลูกมะพร้าวแซมกบั ไมอ้ ่ืนๆไป ทาเป็นพ้ืนท่ีปลูกพชื เศรษฐกิจเชิงเดี่ยว หรือโค่นทิง้ เพราะชาวบา้ นคิดวา่ ไม่มีราคา ทาใหต้ น้ มะพร้าว ในทอ้ งถิ่นลดนอ้ ยลง พอ่ คา้ คนกลางก็จาเป็นตอ้ งใชเ้ วลาและระยะทางในการรับซ้ือมะพร้าวมากข้ึน เร่ือยๆ แนวทางในการจัดการเพื่อเพิ่มจานวนมะพร้าวในท้องถิ่นให้มากข้ึนน้ัน หน่วยงานที่ เกี่ยวขอ้ ง เช่น สานกั งานเกษตรอาเภอท่าวงั ผา จาเป็ นท่ีจะตอ้ งมีการส่งเสริม ให้ความรู้ในการปลูก พืชหลายๆชนิดในท่ีดินของชาวบา้ น โดยสามารถนาเอาหลักเศรษฐกิจพอเพียงตามแบบอย่าง
๑๕๕ พระราชดาริของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช ไปประยุกต์ใช้ได้เป็ นอย่างดี นอกจากน้นั ชาวบา้ นเองก็ควรปลูกมะพร้าวทดแทนท่ีตดั ไปตามหวั ไร่ปลายนาดงั ท่ีไดเ้ คยปฏิบตั ิมา ต้งั แต่คร้ังบรรพบุรุษ เพราะมะพร้าวเป็ นพืชท่ีปลูกง่าย ไม่ต้องการการดูแลมาก และนอกจาก มะพร้าวจะสามารถจาหน่ายไดแ้ ลว้ มะพร้าวยงั มีประโยชน์การนามาใชใ้ นการประกอบพิธีกรรมที่ เก่ียวขอ้ งกบั ชีวติ ของคนในทอ้ งถิ่นเมืองน่านอีกหลายอยา่ ง ๕.๒ มิติทางดา้ นผผู้ ลิต ผูผ้ ลิตขา้ วหลามบ้านอาฮามถือเป็ นปัจจยั ที่สาคญั อีกอย่างหน่ึงท่ีสามารถจะช่วยให้ข้าว หลามท่ีกลายเป็ นอตั ลกั ษณ์ของชุมชนคงอยู่ต่อไปได้อย่างยงั่ ยืน เนื่องจากขา้ วหลามเป็ นสินคา้ ประเภทอาหาร ท่ีตอ้ งอาศยั กรรมวิธีการผลิตและรสชาติที่ดี เพ่ือทาให้ผบู้ ริโภคเกิดความไวว้ างใจ ติดใจ เกิดการบอกตอ่ และกลบั มาซ้ืออีก โดยผูผ้ ลิตขา้ วหลามบา้ นอาฮามทุกรายจาเป็ นจะตอ้ งให้ความสาคญั กบั กรรมวิธีการผลิต รสชาติ และคุณภาพ รวมไปถึงความจาเป็นในการสืบทอดการผลิตสู่คนรุ่นใหม่ กล่าวคือ ๕.๒.๑ ทางดา้ นกรรมวธิ ีการผลิต - ผผู้ ลิตขา้ วหลาม : ตวั ผผู้ ลิตขา้ วหลามตอ้ งมีการแต่งกายท่ีมิดชิด สวมหมวกทาอาหารเพื่อ ไมใ่ หเ้ ส้นผมหล่นลงไปในอาหาร ใส่ผา้ กนั เป้ื อน สวมถุงมือ เป็นตน้ - วตั ถุดิบ : วตั ถุดิบท่ีใชป้ ระกอบเป็นขา้ วหลามจะตอ้ งสด ใหม่ ไมค่ า้ งคืน และมีคุณภาพ - สถานท่ีเตรียมวตั ถุดิบ : ควรโล่ง สะอาด มีช้นั ยกสูงสาหรับวางวตั ถุดิบ และไม่ควรใหส้ ัตว์ เล้ียง เช่น สุนขั แมว หรือไก่ เขา้ มาในบริเวณท่ีท่ีมีการเตรียมวตั ถุดิบได้ - เตาเผา : ถึงแมว้ า่ ในปัจจุบนั การผลิตขา้ วหลามบา้ นอาฮามยงั คงใชเ้ ตาเผาที่เป็นแบบด้งั เดิมท่ี ตวั เตาต้งั อยบู่ นพ้ืนดิน แต่ก็ควรให้พ้ืนท่ีบริเวณน้นั สะอาด โดยการทาความสะอาดและปัด กวาดหลงั การเผาทุกคร้ัง บริเวณเตาเผาขา้ วหลามไมค่ วรใหส้ ตั วเ์ ล้ียงเขา้ มาในบริเวณเตาเผา เช่นเดียวกนั สถานท่ีที่ใชส้ าหรับเผาขา้ วหลามควรทาหลงั คาที่ทาใหอ้ ากาศถ่ายเทไดส้ ะดวก หรืออาจมีการดดั แปลงเตาเผาขา้ วหลามให้ยกสูงข้ึนเพื่อป้ องกนั สิ่งสกปรกและสัตวเ์ ล้ียง ดงั เช่นผผู้ ลิตบางรายไดท้ าข้ึน
๑๕๖ ๕.๒.๒ รสชาติและคุณภาพ สิ่งที่ขาดไม่ไดส้ าหรับความยงั่ ยนื ของสินคา้ ประเภทอาหารคือเรื่องรสชาติและคุณภาพของ อาหาร เน่ืองจากถ้าอาหารที่ใดมีรสชาติอร่อย มีคุณภาพดีก็สามารถมีชื่อเสียงและสร้างรายได้ ใหก้ บั ผผู้ ลิตไดเ้ ป็นจานวนมากตามไปดว้ ย ดงั น้ันผผู้ ลิตขา้ วหลามจึงควรคานึงถึงรสชาติและคุณภาพของขา้ วหลามเป็ นสาคญั โดย จาเป็ นจะตอ้ งมีความซื่อสัตยต์ ่อผูบ้ ริโภค มีการใชว้ ตั ถุดิบท่ีดี ถูกตอ้ งตามสัดส่วน ไม่เพิ่มหรือลด จานวนวตั ถุดิบบางชนิดลงจนอาจทาใหเ้ สียรสชาติ และที่สาคญั ท่ีสุดคือไม่นาเอาขา้ วหลามคา้ งคืน มาจาหน่ายซ้าในวนั ถดั มา เน่ืองจากจะทาใหค้ ุณภาพและรสชาติดอ้ ยลง รวมไปถึงขา้ วหลามอาจบูด ได้ ซ่ึงจะทาให้ผบู้ ริโภคเกิดความไม่มน่ั ใจในตวั สินคา้ เกิดความเขด็ หลาบ และจะไม่กลบั มาซ้ืออีก ตอ่ ไป แต่ในทางกลบั กนั ถา้ ผผู้ ลิตขา้ วหลามมีความซื่อสัตยต์ ่อลูกคา้ ขา้ วหลามน้นั มีรสชาติดี จะ เกิดการบอกตอ่ และผผู้ ลิตขา้ วหลามรายน้นั ๆจะสามารถอยไู่ ดเ้ น่ืองจากมีผบู้ ริโภคที่มีความไวว้ างใจ ในตวั สินคา้ มาอุดหนุนอยเู่ ป็นประจา ซ่ึงชาวบา้ นจะเรียกวา่ “ขาประจา” นนั่ เอง ๕.๒.๓ กระบวนการสืบทอดการผลิต สิ่งท่ีสาคญั ที่สุดอีกเรื่องหน่ึงเกี่ยวกบั ผผู้ ลิตขา้ วหลามที่ขาดไม่ไดค้ ือ กระบวนการสืบทอด การผลิตระหวา่ งผผู้ ลิตขา้ วหลามรุ่นเก่าและผผู้ ลิตขา้ วหลามรุ่นใหม่ ท่ีจาเป็ นจะตอ้ งมีการสืบทอด ส่งต่อองคค์ วามรู้เกี่ยวกบั กระบวนการผลิตขา้ วหลามระหวา่ งรุ่นสู่รุ่น เพราะในปัจจุบนั มีแนวโน้ม วา่ ลูกหลานของผผู้ ลิตขา้ วหลามบา้ นอาฮามมกั ไม่สืบทอดอาชีพน้ี เพราะในยคุ ปัจจุบนั เด็กรุ่นใหม่ ในหมู่บา้ นไดเ้ ขา้ สู่ระบบการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน และมีการไปศึกษาต่อยงั เมืองใหญ่ ซ่ึงเม่ือเรียนจบก็ มกั จะหางานทาในเมืองใหญ่ ไม่กลบั มาสืบทอดงานผลิตขา้ วหลามท่ีมีกระบวนการผลิตซับซ้อน และมีความลาบากมากกวา่ ดงั น้นั ครอบครัวท่ีมีการผลิตขา้ วหลามควรสร้างจิตสานึก ความรักต่ออาชีพท่ีเป็ นอาชีพ เล้ียงดูครอบครัว ไมด่ ูถูกอาชีพของตนเองใหก้ บั ลูกหลาน รวมไปถึงระบบการศึกษา ที่โรงเรียนท่ีทา การสอนเยาวชนในชุมชนบา้ นอาฮามจะตอ้ งช่วยเหลือใหน้ กั เรียนที่เป็ นคนในชุมชนรู้สึกภาคภูมิใจ ในอาชีพท่ีเป็นภมู ิปัญญาของบรรพบุรุษ และเมื่อเดก็ และเยาวชนเกิดความสนใจ ความรัก และความ ตระหนกั ในความสาคญั ของสิ่งเหล่าน้ีแลว้ ขา้ วหลามก็จะกลายเป็นอาชีพท่ีทาใหเ้ กิดความภาคภูมิใจ ของคนในชุมชนไปอีกนานเทา่ นาน
๑๕๗ ๕.๓ มิติทางดา้ นหน่วยงานภาครัฐท่ีเก่ียวขอ้ ง การจดั การสินคา้ ขา้ วหลามบา้ นอาฮามเพอ่ื ท่ีจะใหเ้ กิดความยงั่ ยนื น้นั มีหน่วยงานภาครัฐท่ีมี ความเก่ียวข้องต้งั แต่เร่ืองกระบวนการผลิต วตั ถุดิบ การจาหน่ายสินค้า รวมไปถึงการสร้าง มูลค่าเพิ่มให้กบั สินคา้ อยหู่ ลายหน่วยงานดว้ ยกนั โดยแต่ละหน่วยงานมีรายละเอียดในการแนะนา ส่งเสริมและสนบั สนุน ดงั น้ี ๕.๓.๑ ศนู ยส์ ่งเสริมและพฒั นาอาชีพการเกษตรจงั หวดั น่าน(พชื สวน) ปัจจุบนั ศูนยส์ ่งเสริมและพฒั นาอาชีพการเกษตรจงั หวดั น่าน(พืชสวน) เป็ นหน่วยงานทาง ราชการที่มีหนา้ ท่ีใหค้ วามรู้ แนะนา ส่งเสริมการประกอบอาชีพเก่ียวกบั การเกษตรของจงั หวดั น่าน โดยตรง โดยในหน่วยงานมีเจา้ หนา้ ท่ีที่มีความเช่ียวชาญเฉพาะเร่ืองไผ่ มีแปลงไผส่ าธิต และมีการ ลงชุมชนเพ่ือใหค้ วามรู้เกี่ยวกบั วธิ ีการปลูกไผท่ ี่ใชใ้ นอุตสาหกรรม อยา่ งไรกต็ าม ในปัจจุบนั ศูนยส์ ่งเสริมและพฒั นาอาชีพการเกษตรจงั หวดั น่าน(พืชสวน) ยงั ไม่ไดม้ ีการทาการศึกษาวิจยั ไผ่ขา้ วหลามอย่างจริงจงั หรือเป็ นรูปธรรม เน่ืองด้วยขอ้ จากดั ท้งั ดา้ น งบประมาณ บุคลากร และจานวนความตอ้ งการที่มีภายในทอ้ งถ่ิน ทาใหไ้ ผข่ า้ วหลามไม่ไดร้ ับความ สนใจในการศึกษาวิจยั มากนกั ต่างจากไผ่เศรษฐกิจชนิดอ่ืนๆที่สนองความตอ้ งการทางเศรษฐกิจ มากกวา่ แต่จากการศึกษาในคร้ังน้ีทาให้เราไดท้ ราบถึงคุณค่าและความสาคญั ของไผ่ขา้ วหลามท่ีมี ต่อวิถีวฒั นธรรมของคนเมืองน่าน ไม่ใช่เพียงแต่ใช้ผลิตขา้ วหลามซ่ึงเป็ นสินคา้ อตั ลกั ษณ์ของคน บา้ นอาฮามและของคนเมืองน่านแลว้ ไมไ้ ผข่ า้ วหลามยงั เป็ นพืชท่ีมีประโยชน์สาหรับการจกั สาน เป็นเครื่องใชใ้ นวถิ ีชีวติ ของคนเมืองน่านมาอยา่ งยาวนานต้งั แตอ่ ดีตจนกระทงั่ ปัจจุบนั จากคุณค่าและความสาคญั ดงั กล่าว ทาให้ศูนยส์ ่งเสริมและพฒั นาอาชีพการเกษตรจงั หวดั น่าน(พืชสวน)จาเป็ นท่ีจะตอ้ งให้ความสาคญั กบั ไผ่ขา้ วหลาม เพราะถึงแมว้ ่าไผ่ขา้ วหลามจะให้ มูลค่าทางเศรษฐกิจน้อยกว่าไผ่เศรษฐกิจชนิดอื่นๆ แต่ไผ่ขา้ วหลามก็มีคุณค่าต่อวิถีชีวิตและอตั ลกั ษณ์ของคนเมืองน่านอยา่ งสูง ดงั น้นั ศูนยส์ ่งเสริมและพฒั นาอาชีพการเกษตรจงั หวดั น่าน(พืชสวน)ควรมีการศึกษา วิจยั ทดลองเพ่ือสามารถนาเอาไมไ้ ผข่ า้ วหลามปลูกควบคู่ไปกบั ไผเ่ ศรษฐกิจชนิดอ่ืนๆ เพื่อส่งเสริมใหม้ ี การอนุรักษ์ ปรับปรุงพนั ธุ์ รวมไปถึงการปลูกไมไ้ ผข่ า้ วหลามใหม้ ากข้ึน เพอ่ื ใหไ้ มไ้ ผข่ า้ วหลามเป็ น
๑๕๘ ที่รู้จกั มีสายพนั ธุ์ที่ดี เหมาะแก่การนาไปใชป้ ระโยชน์ของคนในทอ้ งถิ่นเมืองน่าน และยงั จะทาให้ วิถีวฒั นธรรมของคนเมืองน่านไดค้ งอยู่ต่อไปอยา่ งยงั่ ยืนจากการมีทรัพยากรไผ่ขา้ วหลามที่เป็ น วตั ถุดิบของสินคา้ ท่ีเป็นอตั ลกั ษณ์ของคนบา้ นอาฮามและคนเมืองน่าน และศูนยส์ ่งเสริมและพฒั นา อาชีพการเกษตรจงั หวดั น่าน(พืชสวน) ควรร่วมมือกับสานกั งานเกษตรอาเภอท่าวงั ผาเพ่ือเพิ่ม ประสิทธิภาพในการส่งเสริม สนบั สนุนการปลูกไมไ้ ผข่ า้ วหลามในพ้ืนที่อาเภอท่าวงั ผาเพ่ือช่วยลด ตน้ ทุนคา่ ขนส่งวตั ถุดิบใหก้ บั ผผู้ ลิตขา้ วหลามบา้ นอาฮาม ๕.๓.๒ สานกั งานเกษตรอาเภอท่าวงั ผา ในปัจจุบันการจัดการสินค้าขา้ วหลามของชุมชนบ้านอาฮามเป็ นการจดั การในระดับ ครอบครัว ทาใหย้ ากต่อการควบคุมท้งั กรรมวิธีการผลิต รสชาติ และคุณภาพ จึงยากต่อการควบคุม คุณภาพของสินคา้ ทาใหต้ อ้ งมีหน่วยงานที่เขา้ มาดูแล ใหค้ วามรู้ และประสานงานการจดั การสินคา้ ขา้ วหลามของบา้ นอาฮาม ซ่ึงหน่วยงานที่มีหนา้ ที่ทางดา้ นน้ีโดยตรงคือ สานกั งานเกษตรอาเภอท่า วงั ผา โดยสานกั งานเกษตรอาเภอท่าวงั ผาที่มีหนา้ ที่ให้ความรู้ ส่งเสริม และทาความเขา้ ใจให้กบั ผผู้ ลิตขา้ วหลามเก่ียวกบั สินคา้ ขา้ วหลาม เพื่อเสริมสร้างความรู้ ความเขา้ ใจ และศกั ยภาพในการ พฒั นาสินคา้ ใหม้ ีคุณภาพ อีกท้งั สานกั งานเกษตรอาเภอท่าวงั ผาตอ้ งมีการประสานงานกบั หน่วยงาน อื่น เช่น องคก์ ารอาหารและยา เป็ นตน้ ท่ีจะเขา้ มาช่วยส่งเสริมและพฒั นาให้สินคา้ ขา้ วหลามไดม้ ี คุณภาพและมาตรฐาน เช่น การประทบั ตราผผู้ ลิต วนั ที่ผลิต และการไดร้ ับเคร่ืองหมาย อย. เป็ นตน้ เพอ่ื เป็นการเพิ่มความมนั่ ใจใหก้ บั ผบู้ ริโภคมากข้ึน ๕.๓.๓ เทศบาลตาบลทา่ วงั ผา เทศบาลตาบลท่าวงั ผาเป็ นองค์กรปกครองส่วนทอ้ งถิ่นท่ีมีหน้าที่โดยตรงในการบริหาร จดั การในพ้ืนท่ีบา้ นฮาม เนื่องจากหม่บู า้ นอาฮามอยใู่ นเขตการปกครองของเทศบาลตาบลท่าวงั ผา ดงั น้นั เทศบาลตาบลท่าวงั ผา ซ่ึงเป็นหน่วยงานส่วนทอ้ งถิ่นท่ีมีท้งั งบประมาณและบุคลากร ซ่ึงในปัจจุบนั มีนโยบายส่งเสริมการท่องเท่ียวในเขตเทศบาลอย่แู ลว้ ควรมีนโยบายในการจดั การ ท่องเท่ียวทางวฒั นธรรมบา้ นอาฮาม โดยการสร้างให้สินคา้ ของชุมชนบา้ นอาฮามมีจุดเด่น เป็ น รูปธรรม และมีความยงั่ ยืน เนื่องจากบา้ นอาฮามมีทรัพยากรวฒั นธรรมประเภทอาหารท่ีเป็ นภูมิ ปัญญาทอ้ งถิ่นอยมู่ าก เช่น ขา้ วหลาม ขา้ วแต๋น ขนมซี่ เป็ นตน้ ทาให้ไม่ตอ้ งเสียงบประมาณในการ คน้ หาและสร้างใหม่ เพยี งแคม่ ีการคิดตอ่ ยอดเท่าน้นั (รายละเอียดในมิติทางดา้ นการทอ่ งเท่ียว)
๑๕๙ ๕.๓.๔ โรงเรียนทา่ วงั ผาพทิ ยาคม โรงเรียนท่าวงั ผาพิทยาคม เป็ นสถานศึกษาที่เปิ ดทาการเรียนการสอนนักเรียนในพ้ืนที่ อาเภอท่าวงั ผาและอาเภอใกลเ้ คียงในระดบั มธั ยมศึกษา มีจานวนบุคลากรประมาณ ๑๐๐ คน และ จานวนนกั เรียนกวา่ ๑,๙๐๐ คน เป็นสถานศึกษาระดบั มธั ยมศึกษาที่ใหญท่ ่ีสุดในอาเภอท่าวงั ผา และ ที่สาคญั คือมีท่ีต้งั อยใู่ นพ้ืนท่ีของบา้ นอาฮาม โรงเรียนท่าวงั ผาพิทยาคม ในฐานะท่ีเป็ นสถานศึกษา ควรสร้างชุดความรู้เกี่ยวกับ ทรัพยากรวฒั นธรรมในทอ้ งถิ่น โดยเฉพาะในชุมชนบา้ นอาฮามซ่ึงเป็ นสถานที่ที่โรงเรียนต้งั อยนู่ ้นั มีทรัพยากรวฒั นธรรมอยมู่ ากมายดงั ท่ีไดก้ ล่าวยกตวั อยา่ งมาในขอ้ ก่อนหนา้ น้ี การสร้างชุดความรู้เก่ียวกบั ทรัพยากรวฒั นธรรมของชุมชนบา้ นอาฮามโดยโรงเรียนท่าวงั ผาพทิ ยาคมน้นั ทางโรงเรียนอาจมอบภารกิจใหก้ บั ครูในกลุ่มสาระความรู้ท่ีเก่ียวขอ้ ง เช่น กลุ่มสาระ ความรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม เป็ นตน้ ซ่ึงครูก็อาจทาการมอบหมายใหน้ กั เรียนเขา้ ไป ศึกษา คน้ ควา้ และจดั ทาชุดความรู้ข้ึน เพื่อใหน้ กั เรียนในโรงเรียนที่รวมไปถึงเยาวชนในชุมชนบา้ น อาฮามเกิดการเรียนรู้ถึงทรัพยากรวฒั นธรรมที่อยู่ในชุมชน จะทาให้เด็กนักเรียนท่ีได้ลงไป ทาการศึกษาเหล่าน้ีซ่ึงเป็ นเยาวชนคนรุ่นใหม่เกิดความตระหนักในคุณค่าและความสาคญั ของ ทรัพยากรวฒั นธรรม และเกิดความหวงแหน สืบต่อ ทรัพยากรวฒั นธรรมเหล่าน้ีใหเ้ กิดความยงั่ ยืน ต่อไปในอนาคต โดยนอกจากจะมีการสร้างชุดความรู้ในชุมชนบา้ นอาฮามซ่ึงเป็ นที่ต้งั ของโรงเรียนแลว้ เมื่อ ประสบความสาเร็จเป็ นแบบอยา่ งท่ีดี อาจขยายการสร้างชุดความรู้เหล่าน้ีโดยผา่ นทางเด็กนกั เรียน ขยายไปตามชุมชนตา่ งๆที่มีนกั เรียนอาศยั อยู่ เป็ นการสร้างชุดความรู้ของชุมชนตนเองของนกั เรียน แต่ละคน ทาใหน้ กั เรียนที่อาศยั อยใู่ นชุมชนเกิดความรัก หวงแหน และสืบทอดทรัพยากรวฒั นธรรม ของชุมชนตนเองไดเ้ ป็นอยา่ งดีอีกดว้ ย
๑๖๐ ภาพท่ี ๓๗ โรงเรียนท่าวงั ผาพทิ ยาคม มีท่ีต้งั อยใู่ นหมูบ่ า้ นอาฮาม อีกท้งั บริเวณหนา้ โรงเรียนทา่ วงั ผาพิทยาคมมีการสร้างอาคารศูนยว์ ฒั นธรรมอาเภอท่าวงั ผา ข้ึน และมีการเปิ ดอาคารโดยผวู้ ่าราชการจงั หวดั น่าน นายเสนีย์ จิตตเกษม เม่ือเดือนพฤศจิกายน ๒๕๕๓ ที่ผ่านมา และในปัจจุบนั อาคารแห่งน้ีก็ไม่ได้มีการใช้ประโยชน์อย่างเต็มท่ี ไม่มีการจดั แสดงหรือสร้างองค์ความรู้ใหแ้ ก่สาธารณชนแต่อยา่ งใด ดงั น้นั พ้ืนท่ีอาคารศูนยว์ ฒั นธรรมอาเภอ ท่าวงั ผาซ่ึงโรงเรียนท่าวงั ผาพิทยาคมเป็ นผูด้ ูแลน้ี ถ้ามีการนาเอาองค์ความรู้ท่ีได้จากการศึกษา ขา้ งตน้ จากเด็กนกั เรียนภายในโรงเรียนมาจดั แสดงให้สวยงาม ก็อาจจะทาใหอ้ าคารศูนยว์ ฒั นธรรม อาเภอทา่ วงั ผาแห่งน้ีมีชีวติ ชีวาและเป็นแหล่งใหค้ วามรู้แก่เดก็ เยาวชน บุคคลทวั่ ไป รวมไปถึงนาไป เช่ือมโยงกบั การจดั การเส้นทางการท่องเท่ียวของบา้ นอาฮามใหก้ บั นกั ทอ่ งเที่ยวไดอ้ ีกดว้ ย
๑๖๑ ภาพท่ี ๓๘ อาคารศูนยว์ ฒั นธรรมอาเภอท่าวงั ผา ต้งั อยบู่ ริเวณหนา้ โรงเรียนทา่ วงั ผาพทิ ยาคม ในหมู่บา้ นอาฮาม จากท่ีกล่าวมาท้งั หมดน้นั แนวทางในการจดั การทรัพยากรโดยหน่วยงานตา่ งๆเหล่าน้ีควรมี การจดั การอย่างเป็ นระบบ ต่อเน่ือง และบูรณาการกบั ชุมชน เพ่ือใหแ้ นวคิดเหล่าน้ีเกิดความเป็ น รูปธรรมและชดั เจน ซ่ึงจะเกิดประโยชนแ์ ละความยงั่ ยนื ตอ่ ไปในอนาคต ๕.๔ มิติทางดา้ นการท่องเท่ียว ในปัจจุบนั กระแสการท่องเท่ียวเมืองน่านไดร้ ับความนิยมเป็ นอย่างมาก ดงั จะเห็นไดจ้ าก จานวนนกั ท่องเท่ียวที่เดินทางเขา้ มาเที่ยวในจงั หวดั น่านอย่างกา้ วกระโดดในปี ที่ผา่ นมา ทาให้เรา มองเห็นโอกาสและศกั ยภาพของชุมชนบา้ นอาฮามที่สามารถสร้างเป็ นแหล่งท่องเท่ียวเชิงเกษตร โดยใชท้ รัพยากรวฒั นธรรมท่ีมีอยมู่ าใชไ้ ดเ้ ป็นอยา่ งดี เน่ืองจากบา้ นอาฮามเป็ นหมู่บา้ นที่โดดเด่นใน เร่ืองอาชีพการผลิตสินคา้ ที่ใชผ้ ลผลิตทางการเกษตร คือ ขา้ วหลาม และสินคา้ อ่ืนๆที่เป็ นสินคา้ ภูมิ ปัญญาทอ้ งถ่ิน เช่น ส้มจิ้น(แหนม) ขา้ วแต๋น ขนมซี่ เป็นตน้ ส่วนวิธีการในการจดั การท่องเท่ียวน้ัน ในข้นั ตอนแรกหน่วยงานท่ีเกี่ยวขอ้ งท่ีตอ้ งการ จดั การสินคา้ ขา้ วหลามและสินคา้ อื่นๆในชุมชนใหเ้ ป็ นสินคา้ ทางการท่องเที่ยวควรมีการศึกษาวิจยั สร้างชุดความรู้เก่ียวกบั ทรัพยากรวฒั นธรรม “ขา้ วหลาม” และสินคา้ ที่เป็ นทรัพยากรวฒั นธรรม
๑๖๒ ชนิดอื่นๆในชุมชนบา้ นอาฮาม ร่วมไปกบั การส่งเสริมให้คนในชุมชนตระหนกั และเห็นคุณค่าใน ทรัพยากรวฒั นธรรมที่มีอยใู่ นทอ้ งถิ่น และร่วมกนั กบั ชุมชนในการส่งเสริม ประชาสัมพนั ธ์สินคา้ เหล่าน้ีใหเ้ ป็นที่รู้จกั แก่บุคคลทวั่ ไปมากข้ึน เพื่อใหค้ นในชุมชนมีรายได้ ไมต่ อ้ งเดินทางไปทางานยงั ต่างถ่ิน ซ่ึงจะทาใหล้ ดปัญหาทางสังคมอ่ืนๆไดอ้ ีกดว้ ย ดงั น้นั เม่ือเราทราบว่าในชุมชนบา้ นอาฮามมีทรัพยากรวฒั นธรรมท่ีมีท้งั คุณค่าและมูลค่า แลว้ หน่วยงานท่ีเกี่ยวขอ้ ง เช่น เทศบาลตาบลท่าวงั ผา หรือหน่วยงานทางการท่องเท่ียวสามารถเขา้ ไปส่งเสริมและสร้างเครือข่ายของผผู้ ลิตสินคา้ วฒั นธรรมในหมู่บา้ นที่สมคั รใจใหน้ กั ท่องเท่ียวเขา้ เย่ียมชมวิธีการผลิต และเปิ ดโอกาสให้นักท่องเท่ียวลองผลิตสินคา้ เหล่าน้ัน อีกท้งั ยงั สามารถ จาหน่ายให้กบั นกั ท่องเที่ยวไดท้ นั ที โดยอาจสร้างเส้นทางท่องเที่ยวสินคา้ ทางวฒั นธรรมภายใน หมู่บ้าน โดยเชื่อมโยงระหว่างบ้านท่ีผลิตขา้ วหลามกับบา้ นที่ผลิตสินค้าวฒั นธรรมอ่ืนๆที่มีใน หมูบ่ า้ นอาฮาม ซ่ึงจากการจดั การดงั กล่าวทาให้สามารถสร้างเส้นทางเช่ือมโยงให้นกั ท่องเท่ียวไดเ้ ขา้ ไป ศึกษา เรียนรู้ เลือกซ้ือสินคา้ ของชุมชนไดห้ ลากหลาย โดยสร้างเส้นทางการท่องเท่ียวและกิจกรรม ต่างๆ รวมไปถึงการใหน้ กั ท่องเที่ยวไดเ้ ขา้ ไปสัมผสั วถิ ีชีวติ ของคนในชุมชน โดยใหค้ นในชุมชนมี ส่วนร่วมในการออกแบบเส้นทางการทอ่ งเท่ียวและผลประโยชน์ท่ีจะไดร้ ับร่วมกนั และจากกิจกรรมที่เกิดข้ึนจากการจดั การร่วมกนั ของชุมชนและหน่วยงานส่วนทอ้ งถิ่นหรือ ภาครัฐดงั กล่าวจะทาให้นักท่องเที่ยวไดร้ ่วมกิจกรรมการผลิตสินคา้ และเลือกซ้ือสินคา้ จากผูผ้ ลิต โดยตรงแลว้ นอกจากน้นั ยงั สร้างความสนุกสนาน สร้างความสัมพนั ธ์ระหวา่ งนกั ท่องเที่ยวกบั คน ในชุมชนท่ีผลิตสินคา้ วฒั นธรรม และนกั ท่องเที่ยวยงั สามารถไดเ้ รียนรู้วิถีการดาเนินชีวติ ของคนใน ชุมชนบา้ นอาฮามไดเ้ ป็นอยา่ งดี ถา้ สามารถสร้างกิจกรรมน้ีใหเ้ กิดเป็ นรูปธรรมไดด้ งั ที่ต้งั แผนไวแ้ ลว้ น้นั จะสร้างท้งั ความ ภาคภูมิใจในอตั ลกั ษณ์ของความเป็ นชุมชนให้เพ่ิมข้ึน อีกท้งั เพ่ิมมูลค่าของสินคา้ สามารถทาให้ สินคา้ เกิดช่ือเสียง ผผู้ ลิตขา้ วหลามมีรายไดท้ างเศรษฐกิจเพ่ิมข้ึน ชุมชนสามารถนาเอาสินคา้ อ่ืนๆมา จาหน่ายร่วมได้ เกิดการกระจายรายไดส้ ู่ชุมชน และที่สาคญั คือจากการจดั การในชุมชนบา้ นอาฮาม น้ีสามารถนาไปใชเ้ ป็นแบบอยา่ งในการจดั การทางวฒั นธรรมของชุมชนอ่ืนๆไดเ้ ป็นอยา่ งดี
บทท่ี ๖ สรุปผลการศึกษาและข้อเสนอแนะ การศึกษาเร่ือง “การจดั การเศรษฐกิจชุมชนขา้ วหลามบา้ นอาฮาม หมู่ที่ ๓ ตาํ บลท่าวงั ผา อาํ เภอท่าวงั ผา จงั หวดั น่าน” มีวตั ถุประสงค์เพ่ือศึกษาคุณค่าและศกั ยภาพทางเศรษฐกิจของขา้ ว หลาม ในฐานะที่เป็ นทรัพยากรวฒั นธรรมของทอ้ งถิ่น กระบวนการสร้างและรักษาอตั ลกั ษณ์ทาง วฒั นธรรม และกระบวนการในการใชท้ รัพยากรธรรมชาติในการผลิต “ขา้ วหลาม” และในฐานะที่ เป็นทรัพยากรวฒั นธรรมของทอ้ งถิ่น เพ่อื การจดั การขา้ วหลามอยา่ งยง่ั ยนื โดยในการศึกษาจะใชว้ ิธีการศึกษาเชิงคุณภาพควบคู่ไปกบั การศึกษาเชิงปริมาณ มีวิธีการ ศึกษาคือ การศึกษาจากเอกสาร เช่นการคน้ ควา้ ขอ้ มูลเก่ียวกบั แนวคิด ทฤษฎี และความรู้ที่เกี่ยวขอ้ ง กบั ขา้ วหลาม และการศึกษาจากการเกบ็ ขอ้ มลู โดยการสังเกตแบบมีส่วนร่วม การสัมภาษณ์แบบไม่ เป็ นทางการ และการสัมภาษณ์รายบุคคลเก่ียวกบั ประวตั ิความเป็ นมา พฒั นาการทางการผลิตขา้ ว หลาม และปรากฏการณ์ตา่ งๆที่เกิดข้ึนกบั ขา้ วหลามจากอดีตจนกระทงั่ ปัจจุบนั ด้านกลุ่มตัวอย่างท่ีให้ข้อมูลในการศึกษา จะทําการศึกษาผู้ที่มีส่วนเก่ียวข้องกับ กระบวนการผลิตขา้ วหลามบา้ นอาฮาม ไดแ้ ก่ ผผู้ ลิตขา้ วหลามบา้ นอาฮามในปัจจุบนั ท้งั หมดจาํ นวน ๑๘ ราย, คนที่อาศยั อยใู่ นชุมชนบา้ นอาฮาม, ผทู้ ี่มีส่วนไดส้ ่วนเสียทางเศรษฐกิจที่เก่ียวขอ้ งกบั ขา้ ว หลามบา้ นอาฮาม, ผบู้ ริโภคขา้ วหลามบา้ นอาฮาม ผทู้ รงคุณวุฒิและหน่วยงานทางราชการท่ีมีส่วน เก่ียวขอ้ งกบั ระบบการผลิตและจาํ หน่ายขา้ วหลามบา้ นอาฮาม ซ่ึงจากการศึกษาทาํ ให้ได้ทราบถึงประวตั ิ พฒั นาการ คุณค่า ศกั ยภาพ และการสร้างอตั ลกั ษณ์ของชุมชนบา้ นอาฮามจากขา้ วหลาม และสภาพของทรัพยากรธรรมชาติเป็ นวตั ถุดิบในการ ประกอบเป็ นขา้ วหลามที่มีอยู่จริงในปัจจุบนั ทาํ ให้เกิดการนาํ เอาขอ้ มูลท่ีได้มารวบรวมและจดั หมวดหมู่เพื่อหาแนวทางในการจดั การทรัพยากรวฒั นธรรมของชุมชน และทาํ ให้คนในชุมชนเกิด ความตระหนกั รู้ และภาคภูมิใจในภูมิปัญญาทอ้ งถ่ินของตนตามวตั ถุประสงค์ของการศึกษา โดย สามารถสรุปผลการศึกษาไดด้ งั น้ี ๑๖๓
๑๖๔ สรุปผลการศึกษา ๑. คุณค่าและศักยภาพทางเศรษฐกิจของข้าวหลามบ้านอาฮาม ในฐานะทเ่ี ป็ นทรัพยากรวฒั นธรรม ของท้องถิ่น กระบวนการในการใช้ทรัพยากรธรรมชาติในการผลติ ข้าวหลาม และกระบวนการสร้าง และรักษาอตั ลกั ษณ์ทางวฒั นธรรม คือ ๑.๑ ข้อมูลทวั่ ไปของบ้านอาฮาม บา้ นอาฮามเป็ นหมู่บ้านที่เก่าแก่หมู่บา้ นหน่ึงในอาํ เภอท่าวงั ผา สภาพท่ีต้งั ของหมู่บ้าน เหมาะแก่การประกอบอาชีพคา้ ขาย เนื่องจากอยตู่ ิดกบั บา้ นท่าวงั ผาท่ีเป็ นศูนยก์ ลางทางการคา้ ของ น่านเหนือมาต้งั แต่ในอดีต อีกท้งั บา้ นฮาฮามเป็นหมู่บา้ นที่เป็นที่ต้งั อารามของตาํ บลริม(ในขณะน้นั ) ทาํ ให้มีผคู้ นเขา้ มาต้งั บา้ นเรือนอยใู่ นบริเวณน้ีเป็ นจาํ นวนมาก ทาํ ให้อาชีพหลกั ของชาวบา้ นอาฮาม คือการผลิตและแปรรูปอาหาร หรือคา้ ขาย เช่นขนมพ้ืนเมืองต่างๆ และทาํ การเกษตรตามฤดูกาล ชาวบา้ นอาฮามนบั ถือศาสนาพุทธ มีวดั ประจาํ หมู่บา้ นคือวดั สุทธาราม(อาฮาม) ที่สร้างเมื่อ พ.ศ.๒๒๗๑ เพ่ือประกอบพิธีกรรมทางพระพุทธศาสนา และนอกจากน้นั ชาวบา้ นอาฮามยงั คงนบั ถือส่ิงศกั ด์ิสิทธ์ิภายในหม่บู า้ น เช่น ศาลเจา้ ทุ่งขามเป้ี ย ทา้ วอินทร์ และดงก๋าํ ไวเ้ ป็ นท่ียดึ เหน่ียวจิตใจ อีกดว้ ย นอกจากน้นั ชาวบา้ นอาฮามยงั มีวฒั นธรรมและประเพณีตามแบบฉบบั ของชาวเมืองน่าน ทว่ั ไป เช่น พิธีส่งเคราะห์ สู่ขวญั สืบชะตา ประเพณีแข่งเรือ เป็ นตน้ ซ่ึงชาวบา้ นอาฮามยงั คงรักษา และสืบทอดวถิ ีปฏิบตั ิเหล่าน้ีไวไ้ ดจ้ นกระทงั่ ปัจจุบนั ปัจจุบนั บ้านอาฮามเป็ นหมู่บ้านขนาดใหญ่รวม ๒๓๗ หลังคาเรือน มีส่ิงอาํ นวยความ สะดวก และสาธารณูปโภคครบครัน แต่อย่างไรก็ตาม คนวยั หนุ่มสาวของบ้านอาฮามก็ยงั คง เดินทางออกจากทอ้ งถิ่นเพื่อไปหางานทาํ ในเมืองใหญก่ นั เป็นจาํ นวนมาก ๑.๒ ความเป็ นมาของข้าวหลามในท้องถิน่ เมอื งน่าน จากการศึกษาพบวา่ ขา้ วหลาม เป็นอาหารท่ีเกิดจาการนาํ เอาความรู้ในการดาํ รงชีวิตของคน ทอ้ งถ่ินเมืองน่านในอดีตมาดดั แปลงเป็ นอาหารท่ีมีความพิเศษมากข้ึน โดยจะเห็นไดจ้ ากความรู้ ความเขา้ ใจเกี่ยวกบั พืชท่ีสามารถนาํ มาใชป้ ระโยชน์ตามฤดูกาล และสะทอ้ นวิถีการดาํ รงชีวิตของ คนในทอ้ งถิ่นไดเ้ ป็นอยา่ งดี
๑๖๕ กล่าวคือ มีการนาํ เอาไมไ้ ผท่ ่ีแตกหน่อช่วงฤดูฝนและมีเน้ือไมท้ ่ีนุ่มและหอมในฤดูหนาว เพราะคนในทอ้ งถิ่นไม่รับประทานไผข่ า้ วหลามในช่วงที่เป็ นหน่อ เนื่องจากมีการเรียนรู้ว่าหน่อมี รสขม อีกท้งั ส่วนประกอบอื่นๆท่ีรวมกนั เป็นขา้ วหลามก็จะสามารถหาไดใ้ นฤดูหนาว เช่น - ขา้ วเหนียว ขา้ วเหนียวจะสามารถเก็บเก่ียวไดใ้ นช่วงตน้ ฤดูหนาว โดยคนในทอ้ งถิ่นเช่ือวา่ ขา้ วที่มี การเกบ็ เกี่ยวเสร็จใหม่ๆจะมีรสชาติดี หอม และนุ่ม เหมาะแก่การนาํ มาผลิตขา้ วหลาม - ไส้ ในอดีตจะมีการใส่ไส้ขา้ วหลามจากผลผลิตท่ีมีอยใู่ นทอ้ งถิ่น ซ่ึงในช่วงฤดูหนาวน้นั จะมีเผอื ก งา และถวั่ เป็ นไส้หลกั หรือครอบครัวใดท่ีไม่มีผลผลิตเหล่าน้ีก็จะไม่มีการใส่ไส้ก็ได้ แต่อยา่ งไรก็ ตามส่วนประกอบที่นาํ มาทาํ ไส้เหล่าน้ีกจ็ ะมีรสชาติที่ดีกวา่ ผลผลิตนอกฤดูกาลหรือท่ีเกบ็ ไวน้ าน - มะพร้าว ผลผลิตมะพร้าวพ้ืนเมืองจะมีมากในช่วงออกพรรษา(ปลายฤดูฝน) เหมาะแก่การนาํ มาค้นั เป็นกะทิเพ่อื ทาํ ขา้ วหลาม ซ่ึงจากการศึกษาทาํ ใหพ้ บวา่ ขา้ วหลามเป็นอาหารท่ีเกิดการการนาํ เอาความรู้ความเขา้ ใจใน ธรรมชาติของคนในทอ้ งถิ่นมาใช้ รวมไปถึงวิถีการดาํ รงชีวิตท่ีในฤดูหนาวจะมีการก่อกองไฟเพ่ือ ผิงกนั หนาวกนั ภายในครอบครัว ทาํ ให้ขา้ วหลามไดเ้ ขา้ มาเป็ นส่วนหน่ึงในการนง่ั ผิงไฟกนั หนาว ของคนในทอ้ งถิ่น เป็ นจุดเริ่มตน้ ของอาหารท่ีมีคุณค่าทางเศรษฐกิจ สังคม และวฒั นธรรมของคน บา้ นอาฮามในเวลาตอ่ มา ๑.๓ พฒั นาการการกลายมาเป็ นสินค้าของข้าวหลามบ้านอาฮาม จากการศึกษาพบว่าในอดีตการผลิตขา้ วหลามในทอ้ งถิ่นของเมืองน่านเป็ นการผลิตเพ่ือ บริโภคภายในครอบครัวในช่วงฤดูหนาวมาอยา่ งยาวนาน จนกระทง่ั เร่ิมมีการจาํ หน่ายโดยใชเ้ งิน เป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยน ทาํ ใหเ้ กิดการนาํ เอาขา้ วหลามมาเป็นสินคา้ แต่อยา่ งไรก็ตาม การผลิตขา้ วหลามเพื่อจาํ หน่ายในช่วงแรกยงั เป็ นไปในแบบการพ่ึงตนเอง กล่าวคือ ส่วนประกอบในการผลิตท้งั หมด ผูผ้ ลิตจะเป็ นผทู้ ี่หามาเองจากป่ าใกลบ้ า้ น และจะมีการ ผลิตจาํ นวนนอ้ ย ตามฤดูกาลเท่าน้นั รูปแบบการจาํ หน่ายจะเป็นการนาํ เอาขา้ วหลามหาบไปขายตาม ตลาดและงานร่ืนเริงต่างๆของทอ้ งถิ่น และตวั สินคา้ จะเป็ นขา้ วหลามแบบด้งั เดิม(ขา้ วหลามยาว) ตามแบบการผลิตเพื่อบริโภคภายในครอบครัวในช่วงแรก การผลิตเพ่ือขายในแบบด้งั เดิมน้ีดาํ เนิน มาเป็นระยะเวลานานกวา่ ๕๐ ปี การผลิตเพอ่ื จาํ หน่ายในแบบสมยั ใหม่จึงจะเกิดข้ึน ตอ่ มาเม่ือการคมนาคมทางบกสะดวกสบายมากข้ึนทาํ ใหข้ า้ วหลามสามารถจาํ หน่ายไดม้ าก ข้ึนเช่นกนั เน่ืองจากมีผคู้ นผ่านไปมาบนถนนหลวงมาก กอปรกบั ในช่วงที่มีการจาํ หน่ายในแบบ สมยั ใหม่มีเหตุการณ์ความไม่สงบทางการเมืองในพ้นื ท่ีจงั หวดั น่าน ทาํ ใหม้ ีผบู้ ริโภคท่ีมีกาํ ลงั ซ้ือเขา้ มาในพ้นื ท่ีมากข้ึน เช่น ทหาร ตาํ รวจ และบุคลากรจากหน่วยงานทางราชการต่างๆ ตลอดจนคนต่าง
๑๖๖ ถิ่นที่เดินทางผ่านไปมาบนถนนน่าน-ทุ่งช้าง ทาํ ให้เกิดการเปลี่ยนแปลงรูปแบบการจาํ หน่าย รูปแบบและรสชาติของตวั สินคา้ คร้ังสําคญั อีกคร้ังหน่ึงเพ่ือรองรับความตอ้ งการท่ีเปล่ียนแปลงไป อีกท้งั ส่วนประกอบต่างๆที่ใช้ในการผลิตขา้ วหลามก็จาํ เป็ นท่ีจะตอ้ งซ้ือเกือบท้งั หมด เนื่องจากมี การผลิตจาํ นวนมากตลอดท้งั ปี และป่ าที่คนในชุมชนเคยเขา้ ไปใชป้ ระโยชน์ลดนอ้ ยลง อีกท้งั มีการ จบั จองเป็ นของปัจเจกบุคคลและของรัฐเกือบท้งั หมด ทาํ ให้เกิดอาชีพใหม่ท่ีรองรับความตอ้ งการ วตั ถุดิบที่ใชป้ ระกอบเป็นขา้ วหลาม ๑.๔ ข้าวหลามบ้านอาฮามกบั ระบบเศรษฐกจิ เน่ืองจากในปัจจุบนั บา้ นอาฮามเป็ นชุมชนท่ีทาํ การผลิตขา้ วหลามเป็ นจาํ นวนมากที่สุดใน เมืองน่าน กล่าวคือ มีผูผ้ ลิตเกือบ ๒๐ รายดว้ ยกนั ทาํ ให้เกิดความตอ้ งการในการใชว้ ตั ถุดิบในการ ประกอบเป็นขา้ วหลามมากเป็นเงาตามตวั ทาํ ให้เกิดอาชีพต่างๆท่ีเก่ียวขอ้ งกบั การผลิตและจาํ หน่าย ขา้ วหลาม เป็นระบบเศรษฐกิจภายในทอ้ งถ่ินที่มีมลู คา่ และคุณค่ามาก จากการทาํ การศึกษาในคร้ังน้ีทาํ ใหท้ ราบถึงผทู้ ่ีประกอบอาชีพท่ีเก่ียวขอ้ งกบั ขา้ วหลามบา้ น อาฮามดงั น้ี ๑.ผจู้ าํ หน่ายไมข้ า้ วหลาม ไมข้ า้ วหลามถือเป็ นส่วนประกอบท่ีสาํ คญั ท่ีสุดของการผลิตขา้ ว หลาม ปัจจุบนั ผผู้ ลิตขา้ วหลามบา้ นอาฮามรับซ้ือไมข้ า้ วหลามท้งั หมดจากบา้ นผาสิงห์ ตาํ บลผาสิงห์ อาํ เภอเมือง จงั หวดั น่าน และรับซ้ือจากบา้ นผาตูบซ่ึงอยตู่ ิดกนั อีกส่วนหน่ึง ผูท้ ี่ตัดไม้ข้าวหลามจําหน่ายท้ังหมดเป็ นคนที่อาศัยอยู่ในหมู่บ้านผาสิงห์และผาตูบ เนื่องจากมีกฎของหมู่บา้ นที่หา้ มราษฎรต่างหมู่บา้ นใชป้ ระโยชน์พ้ืนที่ป่ าภายในหมู่บา้ น ซ่ึงผทู้ ่ีตดั ไมข้ า้ วหลามเพ่ือจาํ หน่ายน้นั จะเป็ นการตดั เพื่อเป็ นอาชีพเสริม โดยจะไดค้ ่าจา้ งมดั ละ ๘๐-๙๐ บาท ซ่ึงชาวบา้ นรายหน่ึงจะตดั ไดค้ ร้ังละประมาณ ๓-๕ มดั และมีผทู้ าํ อาชีพตดั ไมข้ า้ วหลามในบา้ นผา สิงห์และผาตูบรวมกนั แลว้ ไม่นอ้ ยกวา่ ๒๐ คน นอกจากผตู้ ดั ไมข้ า้ วหลามเพ่ือจาํ หน่ายใหก้ บั ผผู้ ลิตโดยตรงแลว้ ยงั มีพ่อคา้ คนกลางที่รับซ้ือ ไมข้ า้ วหลามจากบา้ นผาสิงห์และผาตูบเพื่อนาํ ไปจาํ หน่ายใหก้ บั ผผู้ ลิตขา้ วหลามบา้ นอาฮามอีกทอด หน่ึง โดยพอ่ คา้ คนกลางน้ีก็จะมีท้งั คนที่อาศยั อยใู่ นบา้ นผาสิงห์ และคนบา้ นอาฮามท่ีเดินทางมารับ ซ้ือไมข้ า้ วหลามเพื่อนาํ มาผลิตเองและยงั บรรทุกใส่รถมาจาํ หน่ายให้กบั ผูผ้ ลิตขา้ วหลามรายอ่ืนๆ ดว้ ย โดยจะเพิ่มราคาจากท่ีซ้ือมาจากมดั ละ ๘๐-๙๐ บาท เป็ นมดั ละ ๑๑๐-๑๒๐ บาท โดยพ่อคา้ คน กลางจะนาํ ไมข้ า้ วหลามมาส่งทุกๆ ๗-๑๕ วนั และบรรทุกใส่รถกระบะหรือรถหกล้อมาคร้ังละ ประมาณ ๑๐-๓๐ มดั
๑๖๗ แต่อยา่ งไรก็ตาม จากการศึกษาก็พบวา่ อาชีพการตดั ไมข้ า้ วหลามจาํ หน่ายน้นั เป็ นอาชีพที่ ไมม่ ีตน้ ทุน เป็นอาชีพเสริมนอกเหนือจากการทาํ การเกษตรของชาวบา้ นผาสิงห์และผาตูบ กล่าวคือ ทุกคนในหม่บู า้ นมีสิทธ์ิเขา้ ไปใชป้ ระโยชน์จากป่ าไดม้ ากตามตอ้ งการ ทาํ ใหช้ าวบา้ นมีรายไดเ้ สริม จากการตดั ไมข้ า้ วหลามเพ่ือจาํ หน่ายจาํ นวนไมน่ อ้ ย ๒.ผูจ้ าํ หน่ายข้าวเหนียว ขา้ วเหนียวส่วนใหญ่ที่นํามาผลิตเป็ นข้าวหลามน้นั จะเป็ นข้าว เหนียวจากจงั หวดั เชียงราย ท่ีผูผ้ ลิตขา้ วหลามซ้ือมาจากร้านคา้ ขา้ วในตลาดท่าวงั ผาอีกทอดหน่ึง เน่ืองจากสภาพทางภูมิศาสตร์ของเมืองน่านเหมาะแก่การเพาะปลูกขา้ วในฤดูฝนเท่าน้นั เพราะในฤดู แลง้ ถึงแมว้ ่าจะมีระบบชลประทานเหมืองฝายแต่ก็มีเพียงพอเฉพาะพืชท่ีใช้น้าํ น้อย อีกท้งั พ้ืนท่ี เพาะปลูกท่ีเป็นท่ีราบมีนอ้ ย รวมไปถึงคนในทอ้ งถ่ินปลูกขา้ วเพ่ือเก็บไวก้ ินเองภายในครอบครัว ทาํ ใหข้ า้ วเหนียวที่ผลิตภายในทอ้ งถิ่นไม่เพียงพอต่อการนาํ มาจาํ หน่ายให้กบั ผผู้ ลิตขา้ วหลามที่มีความ ตอ้ งการขา้ วเหนียวมากตลอดท้งั ปี ซ่ึงในปัจจุบนั (ปี พ.ศ.๒๕๕๓) ขา้ วเหนียวมีราคาสูงถึงถงั ละ ๔๕๐ บาท แต่อยา่ งไรก็ตาม คนในทอ้ งถิ่นก็อาจมีการจาํ หน่ายขา้ วเหนียวให้กบั ผูผ้ ลิตขา้ วหลามได้ เช่นกนั เม่ือถึงฤดูกาลเก็บเก่ียวชาวบา้ นก็จะมีขา้ วใหม่ท่ีไดจ้ ากการเก็บเกี่ยวในปี น้นั ๆมารับประทาน และมีการนาํ เอาขา้ วเก่าท่ีเหลือคา้ งปี ไปขายให้กบั ผูผ้ ลิตขา้ วหลามไดเ้ ช่นเดียวกนั ซ่ึงผูผ้ ลิตขา้ ว หลามส่วนใหญก่ ็จะรับซ้ือไวท้ ้งั หมด นบั เป็นการสร้างรายไดใ้ หก้ บั คนในทอ้ งถิ่นอีกทางหน่ึง จะเห็นไดว้ ่าขา้ วเหนียวเป็ นผลผลิตท่ีไดจ้ ากนอกทอ้ งถ่ินเมืองน่าน เพราะตอ้ งมีการซ้ือมา จากจงั หวดั เชียงรายที่มีการปลูกข้าวเพื่อป้ อนสู่ตลาด ต่างจากคนเมืองน่านที่ปลูกข้าวไวเ้ พ่ือ รับประทานภายในครอบครัว ถา้ เหลือจึงจะนาํ มาจาํ หน่ายใหก้ บั ผผู้ ลิตขา้ วหลาม ๓.ผจู้ าํ หน่ายมะพร้าว ผทู้ ่ีนาํ มะพร้าวมาจาํ หน่ายใหก้ บั ผผู้ ลิตขา้ วหลามมีท้งั ชาวบา้ นทวั่ ไปท่ี เป็นเจา้ ของมะพร้าวเอง รวมไปถึงพ่อคา้ คนกลางท้งั รายยอ่ ยและรายใหญ่ โดยผทู้ ี่นาํ เอามะพร้าวมา จาํ หน่ายเหล่าน้ีตา่ งรู้ดีวา่ ถา้ มีมะพร้าวก็จะนาํ มาจาํ หน่ายให้กบั ผผู้ ลิตขา้ วหลามท้งั หมด เพราะผผู้ ลิต ขา้ วหลามสามารถรับซ้ือไดไ้ ม่จาํ กดั โดยทวั่ ไปแลว้ พอ่ คา้ คนกลางรายใหญจ่ ะบรรทุกมะพร้าวมาจาํ หน่ายใหก้ บั ผผู้ ลิตขา้ วหลาม คร้ังละประมาณ ๖๐๐-๘๐๐ ลูก ลูกละประมาณ๔-๑๐ บาทแลว้ แต่ขนาดและฤดูกาล โดยในคร้ัง หน่ึงๆพอ่ คา้ คนกลางเหล่าน้ีจะไดเ้ งินจากการจาํ หน่ายมะพร้าวไม่ต่าํ กวา่ ๕,๐๐๐-๑๐,๐๐๐ บาทเลย ทีเดียว แต่อยา่ งไรก็ตาม ราคามะพร้าวของผูค้ า้ รายย่อยในทอ้ งถิ่นก็จะอยู่ประมาณน้ีเช่นกนั แต่ จาํ นวนของมะพร้าวแตล่ ะคร้ังอาจจะมีจาํ นวนนอ้ ยประมาณ ๑๐-๕๐ ลูกเท่าน้นั อีกท้งั ในบางโอกาส ผผู้ ลิตขา้ วหลามก็อาจจะไปเหมาตน้ มะพร้าวและจา้ งคนข้ึนเองก็ได้ เพราะจะไดม้ ะพร้าวราคาลูกละ
๑๖๘ ๒-๓ บาทเท่าน้นั แต่ก็ตอ้ งเสียเงินใหก้ บั คนท่ีรับจา้ งข้ึนมะพร้าว ซ่ึงตอ้ งมีทกั ษะและความชาํ นาญ ในการปี นเกบ็ มะพร้าวอีกตน้ ละ ๕๐ บาท จากการศึกษาพบว่าพ่อค้าคนกลางรายใหญ่เป็ นคนในทอ้ งถิ่นเมืองน่าน มีอยู่ ๒ รายที่ ตระเวนรับซ้ือมะพร้าวทว่ั เมืองน่าน และผคู้ า้ รายยอ่ ยก็จะมีไม่ต่าํ กวา่ ๑๐ ราย โดยผคู้ า้ รายยอ่ ยเกือบ ท้งั หมดจะเป็นคนในหมูบ่ า้ นต่างๆในทอ้ งถ่ินอาํ เภอท่าวงั ผาเอง ๔.ผจู้ าํ หน่ายฟื น ผจู้ าํ หน่ายฟื นใหก้ บั บา้ นผผู้ ลิตขา้ วหลามบา้ นอาฮามเกือบท้งั หมดเป็ นคนที่ อาศยั อยู่ในบา้ นน้าํ ฮาว ต.จอมพระ อ.ท่าวงั ผา จ.น่าน จากการศึกษาพบว่าฟื นจะมีราคาประมาณ กระบะละ ๗๐๐-๑,๐๐๐ บาท โดยผผู้ ลิตขา้ วหลามจะใชฟ้ ื นเดือนละประมาณ ๒ กระบะรถยนต์ ปัจจุบนั ผูท้ ี่ยึดอาชีพจาํ หน่ายฟื นของบ้านน้ําฮาวให้กับผูผ้ ลิตข้าวหลามบ้านอาฮามมี ประมาณ ๕ ราย แต่การเขา้ ไปสอบถามขอ้ มลู ยงั คงทาํ ไดย้ าก เน่ืองจากผจู้ าํ หน่ายฟื นเหล่าน้ีเกรงวา่ ผู้ ศึกษาเป็ นเจา้ หน้าท่ีของรัฐ เพราะกลวั วา่ การคา้ ฟื นน้นั ผิดกฎหมาย ผจู้ าํ หน่ายฟื นเหล่าน้ีจึงมีความ ระมดั ระวงั ตวั เองในการใหข้ อ้ มลู แก่ผศู้ ึกษาอยมู่ าก ๕.ผจู้ าํ หน่ายส่วนประกอบของไส้ ไส้ขา้ วหลามมีท้งั เผือก ถวั่ ดาํ และงา ซ่ึงผลผลิตเหล่าน้ี จะมีมากตามฤดูกาล แต่ผผู้ ลิตขา้ วหลามกจ็ ะรับซ้ือไวท้ ีละมากๆเพื่อใหเ้ พียงพอต่อการใชต้ ลอดท้งั ปี เช่น ถว่ั ดาํ จะมีราคาประมาณกิโลกรัมละ ๒๕ บาท ผผู้ ลิตขา้ วหลามรายใหญ่ๆก็จะรับซ้ือจากผปู้ ลูก ในพ้ืนที่เมืองน่านคราวละหลายๆกระสอบ เป็นเงิน ๓,๐๐๐-๕,๐๐๐ บาท แต่ผผู้ ลิตรายเล็กก็จะอาศยั ซ้ือคราวละไม่มาก กล่าวคือมีการซ้ือคร้ังละ๑-๒ กิโลกรัมเท่าน้ัน และเป็ นผลผลิตจากโรงงาน อุตสาหกรรมที่มีจาํ หน่ายในตลาด ส่วนเผือกน้ันในฤดูหนาวจะมีเผือกพ้ืนเมืองซ่ึงมีราคากิโลกรัมละ ๑๐ บาท แต่ถ้าเป็ น ผลผลิตนอกฤดูที่มาจากนอกทอ้ งถิ่นจะมีราคากิโลกรัมละ ๒๕ บาท และงา ที่ปัจจุบนั กิโลกรัมละ ประมาณ ๓๐๐ บาท ซ่ึงงา ๑ กิโลกรัมก็จะสามารถนาํ มาใชผ้ สมในไส้ขา้ วหลามไดน้ านหลายเดือน นอกจากน้นั ก็จะมีส่วนประกอบอื่นๆเช่น น้าํ ตาล เกลือ แป้ ง และไข่ไก่ท่ีเป็ นส่วนประกอบ ของไส้สังขยา ซ่ึงท้งั หมดน้ีผูผ้ ลิตขา้ วหลามก็จะหาซ้ือมาจากตลาดท่าวงั ผาท้งั หมด และราคาก็จะ เปล่ียนแปลงไปตามกลไกตลาด ๖.การจา้ งงานท่ีเกี่ยวขอ้ งกบั กระบวนการผลิตและจาํ หน่ายขา้ วหลาม โดยทว่ั ไปแลว้ ถา้ มี การผลิตขา้ วหลามจาํ นวนไม่มากต่อวนั ผผู้ ลิตก็จะไม่มีการจา้ งงานแต่อยา่ งใด แต่ในปัจจุบนั ผผู้ ลิต ขา้ วหลามรายใหญ่จะมีการจา้ งงานในข้นั ตอนการผลิตเกือบท้งั หมด เวน้ แต่เพียงการเผาที่ตอ้ งใช้ ทกั ษะและความชาํ นาญ แต่ผผู้ ลิตรายอ่ืนๆก็จะจา้ งเพียงข้นั ตอนการปอก เหลา และจาํ หน่ายเท่าน้นั แตบ่ างรายก็จะผลิตเอง ขายเองท้งั หมดเช่นกนั
๑๖๙ อตั ราค่าจา้ งก็จะมีรายละเอียดแตกต่างกนั ไปตามความยากง่ายของงาน เช่น ขา้ วหลามแม่ ปิ่ น ซ่ึงเป็นผผู้ ลิตรายใหญจ่ ะจา้ งคนมาทาํ ทุกอยา่ ง ยกเวน้ การเผาท่ีผผู้ ลิตจะเผาเอง โดยมีการจา้ งคน ประมาณ ๖ คนต่อวนั โดยรายไดต้ ่อคนจะตกประมาณเดือนละ ๕,๐๐๐-๗,๐๐๐บาท แต่ผคู้ า้ รายอื่นๆ ก็จะจา้ งคนปอกและเหลาวนั ละ ๑-๔ คน โดยมีอตั ราจา้ งคร้ังละ ๖๐-๑๐๐ บาท หรือคิดเป็ นกระบอก ราคากระบอกละ ๕๐ สตางค์ ทางดา้ นการจา้ งคนจาํ หน่ายขา้ วหลามริมถนนน้นั ในดา้ นของค่าตอบแทนส่วนใหญ่จะเป็ น การตกลงกนั ระหวา่ งผูผ้ ลิตและผขู้ าย ผผู้ ลิตบางคนก็จะคิดราคาเช่น ๑๓ กระบอก ๑๐๐ บาท, ขาย ๖๐๐ ได้ ๑๐๐ บาท เป็ นตน้ ซ่ึงผูท้ ี่นง่ั ขายก็จะมีรายไดไ้ ม่แน่นอนในแต่ละวนั ข้ึนอย่กู บั ว่าวนั ไหน ขายไดม้ ากหรือน้อย แต่ผทู้ ่ีนง่ั ขายก็สามารถรับเอาสินคา้ อ่ืนๆมาขายเอากาํ ไรเสริมไดเ้ ช่นเดียวกนั โดยในวนั หน่ึงๆเฉลี่ยแลว้ ผทู้ ่ีนงั่ ขายขา้ วหลามจะไดเ้ งินประมาณ ๑๐๐-๓๐๐ บาทต่อคน ๑.๕ ข้าวหลามบ้านอาฮามกบั ทรัพยากรธรรมชาติ กระบวนการผลิตขา้ วหลามมีความเก่ียวขอ้ งโดยตรงกบั การใชท้ รัพยากรธรรมชาติ เพราะ วตั ถุดิบที่สําคญั ต่างๆท่ีนาํ มาประกอบเป็ นขา้ วหลามน้นั ลว้ นมาจากธรรมชาติเป็ นหลกั โดยเฉพาะ ไมข้ า้ วหลาม ซ่ึงเป็นวตั ถุดิบที่ขาดไม่ไดใ้ นการผลิตขา้ วหลามบา้ นอาฮาม จากการศึกษาพบวา่ ขา้ วหลามบา้ นอาฮามใชไ้ มข้ า้ วหลามที่มาจากธรรมชาติท้งั หมด โดยมี การรับซ้ือมาจากพ้ืนท่ีป่ าชุมชนของหมู่บา้ นผาสิงห์ และบา้ นผาตูบอีกจาํ นวนหน่ึง ซ่ึงผูท้ ่ีเขา้ ไปตดั ไมข้ า้ วหลามเหล่าน้ีกไ็ มไ่ ดม้ ีการบาํ รุงรักษา ปลูกเพ่มิ หรือแมแ้ ต่ต้งั กฎกติกาในการตดั ไมแ้ ต่อยา่ งใด ท้งั สิ้น อีกท้งั ในปัจจุบนั เร่ิมมีเสียงสะทอ้ นจากผทู้ ่ีเขา้ ไปตดั ไมว้ า่ ไมข้ า้ วหลามเริ่มหายากข้ึน โดย ตอ้ งเขา้ ไปตดั ในป่ าลึกมากข้ึน และในวนั หน่ึงๆก็สามารถตดั ไดน้ อ้ ยลง ทางดา้ นผผู้ ลิตขา้ วหลามเอง ก็ได้รับผลกระทบจากราคาไมข้ า้ วหลามที่สูงข้ึนเร่ือยๆเนื่องจากการท่ีตอ้ งเดินทางไปตดั ไกลข้ึน รวมไปถึงค่าขนส่งสูงข้ึน อีกท้งั คุณภาพของเน้ือไมก้ ็ด้อยลง เช่น ความยาวของกระบอกไมข้ า้ ว หลามส้ันลง บางกระบอกแตกเสียใชก้ ารไมไ่ ด้ เป็นตน้ จากปรากฏการณ์ท่ีเกิดข้ึนกบั ไมข้ า้ วหลามดงั กล่าวทาํ ให้เราไดท้ ราบวา่ ป่ าท่ีเป็ นแหล่งไม้ ขา้ วหลามที่ผูผ้ ลิตขา้ วหลามบา้ นอาฮามไดใ้ ช้ประโยชน์อย่ใู นปัจจุบนั น้ีกาํ ลงั เสื่อมโทรมลงอยา่ ง รวดเร็ว เพราะมีการใชไ้ มจ้ าํ นวนมากตลอดท้งั ปี ทาํ ใหป้ ่ าไมข้ า้ วหลามไม่สามารถฟ้ื นฟูตวั เองไดท้ นั กบั ความตอ้ งการไมข้ า้ วหลาม อีกท้งั พ้นื ที่ป่ าไมข้ า้ วหลามแห่งอ่ืนๆก็เร่ิมลดนอ้ ยลง และไม่สามารถ เขา้ ไปใชป้ ระโยชน์ไดเ้ น่ืองจากมีกฎหมายหรือขอ้ บงั คบั ท้งั จากภาครัฐและจากชุมชนเอง
๑๗๐ ดงั น้ันปัญหาการขาดแคลนไม้ขา้ วหลามซ่ึงเป็ นวตั ถุดิบหลกั ในการผลิตขา้ วหลามจึงมี ความสาํ คญั มากต่อกระบวนการสืบทอดและรักษาอตั ลกั ษณ์การผลิตขา้ วหลามในชุมชนบา้ นอาฮาม แต่อยา่ งไรกต็ าม จากความคิดเห็นของนกั วชิ าการเกษตรของทอ้ งถิ่นก็ไดก้ ล่าววา่ ในปัจจุบนั ไมข้ า้ ว หลามยงั คงมีเพียงพอต่อความตอ้ งการ ถึงแมว้ า่ จะมีความยากในการไดม้ าก็ตาม แต่ถา้ ถึงจุดหน่ึงที่ ทรัพยากรหมดไป ผผู้ ลิตขา้ วหลามเหล่าน้ีก็จะตอ้ งมีวธิ ีการในการไดม้ าซ่ึงไมข้ า้ วหลาม เช่น มีการ รับซ้ือไมข้ า้ วหลามจากแหล่งอื่น หรือแมก้ ระทงั่ มีผเู้ ห็นช่องทางในการสร้างรายไดโ้ ดยปลูกไมข้ า้ ว หลามเพื่อจาํ หน่าย ซ่ึงในปัจจุบนั ก็มีผูท้ ่ีนาํ ไมข้ า้ วหลามมาปลูกกนั บา้ งแลว้ แต่ก็ยงั คงไม่แพร่หลาย มากนกั นอกจากไม้ข้าวหลามท่ีเป็ นส่วนประกอบท่ีสําคัญของการผลิตข้าวหลามแล้ว ยงั มี ทรัพยากรธรรมชาติอื่นๆ เช่น ฟื น เพราะอตั ลกั ษณ์ที่สําคญั อีกอย่างหน่ึงของขา้ วหลามบา้ นอาฮาม คือการเผาด้วยฟื น ไม่ใช้ถ่านหรือเตาแก๊ส โดยทว่ั ไปแลว้ ผูผ้ ลิตขา้ วหลามบา้ นอาฮามหน่ึงรายจะ ส่ังซ้ือฟื นเดือนละประมาณ ๒ กระบะรถยนต์ คิดเป็ นปี ละ ๒๔ กระบะรถยนตต์ ่อราย และในบา้ น อาฮามมีผผู้ ลิตขา้ วหลาม ๑๘ รายจะใชฟ้ ื นปี ละประมาณ ๔๓๒ กระบะรถยนต์ ฟื นเป็ นผลผลิตท่ีไดจ้ ากธรรมชาติโดยตรงอีกเช่นเดียวกนั ที่มีแนวโนม้ ลดลง ดงั จะเห็นได้ จากราคาของฟื นท่ีสูงข้ึน และการไดม้ าของฟื น ท่ีผจู้ าํ หน่ายฟื นตอ้ งออกไปรับซ้ือในพ้ืนท่ีท่ีห่างไกล จากชุมชนของตนมากข้ึนเรื่อยๆ อีกท้งั ฟื นก็ประสบปัญหาเช่นเดียวกบั ไมข้ า้ วหลาม เน่ืองจากป่ าใน ปัจจุบนั มีเจา้ ของและมีกฎหมายห้ามการตดั ไม้ ฟื นในทอ้ งถิ่นจึงเริ่มขาดแคลนแต่ความตอ้ งการใน การใชย้ งั คงเดิม ๑.๖ ข้าวหลามบ้านอาฮามกบั อตั ลกั ษณ์และวฒั นธรรมชุมชน -ขา้ วหลามกบั อตั ลกั ษณ์ชุมชนบา้ นอาฮาม ขา้ วหลามเป็นสินคา้ ที่ผกู พนั กบั ชุมชนบา้ นอาฮามมาอยา่ งยาวนาน ปัจจุบนั บา้ นอาฮามเป็ น หมูบ่ า้ นท่ีมีการผลิตขา้ วหลามมากท่ีสุดในเมืองน่าน จากการศึกษาพบวา่ หญิงบา้ นอาฮามวยั กลางคน เกือบท้งั หมดสามารถผลิตขา้ วหลามได้ ทาํ ให้ขา้ วหลามกลายเป็ นอตั ลกั ษณ์ที่คนในชุมชนยอมรับ อีกท้งั ยงั เป็นเอกลกั ษณ์ที่คนนอกชุมชนไดน้ ิยามไวเ้ ช่นเดียวกนั การสร้างอตั ลักษณ์ของคนในชุมชนบ้านอาฮามน้ันสะท้อนออกมาจากการแสดงออก หลากหลายรูปแบบดว้ ยกนั เช่น คาํ ขวญั หมู่บา้ น งานออกร้านของชุมชน ประเพณีต่างๆของทอ้ งถิ่น ที่นาํ ขา้ วหลามไปเป็ นส่วนหน่ึงในการจดั แสดง อีกท้งั ยงั มีการแต่งเพลงของหมู่บา้ นจากคนใน
๑๗๑ ชุมชนท่ีนาํ ไปเปิ ดไดจ้ ริงตามคล่ืนวทิ ยุทอ้ งถิ่น และยงั มีศิลปิ นจากนอกชุมชนแต่งเพลงเก่ียวกบั ขา้ ว หลามของบา้ นอาฮามดว้ ย นอกจากน้ี ผูผ้ ลิตขา้ วหลามบา้ นอาฮามยงั ไดม้ ีโอกาสถวายฯขา้ วหลามแด่เจ้านายถึง ๒ พระองค์ด้วยกันคือ พระบาทสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ และสมเด็จพระเทพ รัตนราชสุดาสยามบรมราชกุมารี คราวท่ีพระองคเ์ สดจ็ ฯเมืองน่าน การแสดงออกอยา่ งหลากหลายดงั กล่าวทาํ ให้เราทราบว่าคนในชุมชนไดน้ าํ เอาขา้ วหลาม ซ่ึงเป็นสินคา้ ท่ีสาํ คญั และผกู พนั กบั คนในชุมชนเกือบท้งั หมดมาใชใ้ นการสร้างอตั ลกั ษณ์ความเป็ น ตวั ตนของชุมชนตวั เอง ทาํ ใหช้ ุมชนบา้ นอาฮามมีความแตกต่างและโดดเด่นในดา้ นอาชีพ ทาํ ให้เป็ น ที่รู้จกั ของคนทวั่ ไปท้งั ในทอ้ งถิ่นเมืองน่านและตา่ งถ่ิน -ขา้ วหลามกบั วฒั นธรรมชุมชนบา้ นอาฮาม บา้ นอาฮามเป็ นหมู่บา้ นขนาดใหญ่ที่มีการจดั การทางสังคมตามแบบสังคมพ้ืนเมืองลา้ นนา ทว่ั ไป โดยมีการแบ่งหนา้ ท่ีในการรับผดิ ชอบเป็ นคอ้ หรือหมวด และแบ่งตามเพศสภาพและระบบ อาวุโส เช่น กลุ่มแม่บา้ น พ่อบา้ น คนเฒ่าคนแก่ เยาวชน ก็จะมีหน้าท่ีในการทาํ กิจกรรมของชุมชน ตา่ งกนั ไปตามหนา้ ที่ทางสงั คม จากการศึกษาพบวา่ ชาวบา้ นอาฮามยงั คงมีความสามคั คีและปฏิบตั ิตามจารีตฮีตฮอยเดิมของ ชุมชนอยอู่ ยา่ งเคร่งครัด ดงั จะเห็นไดจ้ ากหนา้ ที่ต่างๆตามการจดั การทางสังคมดงั กล่าว คนในชุมชน ก็จะยงั คงปฏิบัติหน้าท่ีของตนที่ถือว่าตนเองเป็ นส่วนหน่ึงของชุมชนอยู่ ผู้ผลิตข้าวหลามก็ เช่นเดียวกนั ท่ีเป็ นส่วนหน่ึงของชุมชนก็จะตอ้ งทาํ หนา้ ที่น้ีไม่ใหข้ าดดว้ ย เพราะถือวา่ เป็ นส่วนหน่ึง ของหนา้ ที่ของตน นอกเหนือจากหนา้ ท่ีในการทาํ มาหากิน และพบวา่ การร่วมมือกนั ทาํ งานของชุมชนน้ีมีระบบจดั การทางสังคมที่สาํ คญั คือ การเล่า ขวญั หรือนินทา และการคว่าํ บาตร กล่าวคือ ผทู้ ี่ไม่เคยเขา้ ร่วมกิจกรรมหน้าหมู่หรือกิจกรรมของ ชุมชนจะถูกคนในชุมชนนินทา อีกท้งั เมื่อคนผนู้ ้นั จาํ เป็ นจะตอ้ งจดั กิจกรรมต่างๆของตวั เอง คนใน ชุมชนคนอื่นๆกจ็ ะไม่เขา้ ร่วมหรือไมช่ ่วยเหลืองานของคนผนู้ ้นั นน่ั เอง ส่วนทางด้านการช่วยเหลือกันระหว่างผูผ้ ลิตข้าวหลามด้วยกันเองน้ันก็ยงั คงมีให้เห็น เพราะจากการศึกษาพบวา่ ส่วนใหญ่แลว้ ผผู้ ลิตขา้ วหลามน้นั เป็ นญาติพี่นอ้ งใกลช้ ิดกนั อยแู่ ลว้ ดงั จะ เห็นไดจ้ ากการช่วยเหลือในยามวตั ถุดิบของผผู้ ลิตอีกรายหน่ึงขาดแคลน หรือการช่วยขายเพ่ือให้ ขา้ วหลามหมดภายในวนั เดียว เป็นตน้ แต่อย่างไรก็ตามผูผ้ ลิตแต่ละรายก็ไม่สามารถเข้าไปก้าวก่ายในกรรมวิธีการผลิต หรือ แมก้ ระทงั่ ระบบควบคุณคุณภาพหรือความสะอาดตา่ งๆไดเ้ ลย เพราะถือเป็ นเร่ืองส่วนตวั และผผู้ ลิต
๑๗๒ ขา้ วหลามแต่ละรายจะหลีกเล่ียงการทะเลาะเบาะแวง้ กนั แต่ก็ทาํ ให้เกิดผลเสียและเกิดปัญหาได้ เช่นกนั เช่น การผลิตท่ีไม่สะอาด ไม่มีคุณภาพ หรือการนําเอาของค้างคืนมาขาย ซ่ึงจะทาํ ให้ ผบู้ ริโภคเขด็ หลาบไม่กลบั มาซ้ืออีกและทาํ ใหเ้ สียช่ือเสียง ส่งผลต่อผผู้ ลิตรายอ่ืนๆท่ีทาํ ให้จาํ หน่าย ไดย้ ากข้ึนดว้ ย โดยจากผลการศึกษาเหล่าน้ีทาํ ให้สามารถสรุปออกมาเป็ นแผนภาพแสดงความสัมพนั ธ์ ของสินคา้ ขา้ วหลามบา้ นอาฮามกบั ระบบเศรษฐกิจ ทรัพยากรธรรมชาติ และวฒั นธรรมชุมชนของ หมู่บา้ นอาฮามไดด้ งั แผนภาพต่อไปน้ี
๑๗๓ แผนภาพที่ ๒ แสดงความสัมพนั ธ์ของสินค้าข้าวหลามบ้านอาฮามกบั ระบบเศรษฐกจิ ทรัพยากรธรรมชาติและวฒั นธรรมชุมชน ผผู้ ลิต การจา้ งงาน ผบู้ ริโภค ผจู้ าํ หน่ายวตั ถุดิบท่ีใชใ้ นการผลิต เศรษฐกิจ พึ่งพิงสมั พนั ธ์ พึ่งพิงสมั พนั ธ์ ข้าวหลามบ้านอาฮาม ทรัพยากรธรรมชาติ วฒั นธรรมชุมชน พึ่งพิงสมั พนั ธ์ (Interdependence) ไมไ้ ผข่ า้ วหลาม การสร้างอตั ลกั ษณ์ชุมชน ฟื น ความสมั พนั ธ์ของอาชีพกบั คนในชุมชน ขา้ วเหนียว ความเขม้ แขง็ ของชุมชน มะพร้าว ไส้ตา่ งๆ(เผอื ก,ถว่ั ,งา)
๑๗๔ ๒. รูปแบบทเี่ หมาะสมกบั การจัดการข้าวหลามอย่างยงั่ ยนื ขา้ วหลามบา้ นอาฮาม เป็ นขา้ วหลามพ้ืนเมืองน่านท่ีมีการสืบทอดเทคนิควิธีการผลิตมา อยา่ งยาวนาน จนในปัจจุบนั ไดก้ ลายมาเป็ นสินคา้ ที่มีมูลค่าทางเศรษฐกิจ สามารถเล้ียงชีพคนใน ชุมชนไดเ้ ป็ นอยา่ งดี อีกท้งั ยงั มีผลต่ออตั ลกั ษณ์และความภาคภูมิใจของคนในชุมชน โดยการผลิต ขา้ วหลามของบ้านอาฮามมีระบบการจดั การภายในครอบครัวของผูผ้ ลิตแต่ละราย ไม่ได้มีการ เช่ือมโยงหรือแลกเปล่ียนความรู้ ความเขา้ ใจเก่ียวกบั สินคา้ แต่อยา่ งใด อีกท้งั ในปัจจุบนั ท่ีจาํ นวน การผลิตมีมาก ทาํ ใหผ้ ผู้ ลิตขา้ วหลามจาํ เป็นตอ้ งพ่ึงพิงทรัพยากรจากภายนอกชุมชนเกือบท้งั หมด ดังน้ัน รูปแบบการจดั การข้าวหลามเพ่ือให้เกิดความยงั่ ยืนจึงเป็ นวิธีการท่ีสําคัญและ เหมาะสมต่อการจดั การปัญหาที่เกิดข้ึนกบั สินคา้ ขา้ วหลามของชุมชนบา้ นอาฮาม โดยสามารถเป็ น ทางเลือกให้กบั ผผู้ ลิตขา้ วหลามให้มีการพฒั นาไดอ้ ย่างยงั่ ยืนต่อไป โดยแบ่งออกเป็ นมิติทางดา้ น ต่างๆดงั น้ี ๒.๑ มติ ิทางด้านทรัพยากรธรรมชาติ ข้าวหลามเป็ นสิ นค้าท่ีต้องพ่ึงพิงทรัพยากรธรรมชาติเป็ นหลัก แต่ในปั จจุบัน ทรัพยากรธรรมชาติเหล่าน้นั เร่ิมลดน้อยลง และเร่ิมขาดแคลนมากข้ึนเร่ือยๆ ดงั จะเห็นไดจ้ ากใน อดีตท่ีมีการผลิตโดยที่ผูผ้ ลิตสามารถเสาะหาทรัพยากรท่ีเป็ นส่วนประกอบของขา้ วหลามได้เอง ท้งั หมด ต่างจากปัจจุบนั ท่ีจาํ เป็ นจะตอ้ งซ้ือจากภายนอกชุมชนเกือบท้งั หมด ทาํ ให้เกิดปัญหาข้ึนวา่ เมื่อทรัพยากรท่ีจะตอ้ งพ่ึงพาจากภายนอกชุมชนเหล่าน้นั ตอ้ งหมดลงแลว้ อาชีพการผลิตขา้ วหลามที่ มีการสืบทอดมาอยา่ งยาวนานน้นั จาํ เป็นจะตอ้ งสิ้นสุดลงดว้ ย ดงั น้นั จึงเกิดแนวคิดการแกไ้ ขปัญหาการขาดแคลนทรัพยากรธรรมชาติอยา่ งยงั่ ยืนข้ึนจาก การศึกษาในคร้ังน้ี กล่าวคือ ทรัพยากรธรรมชาติดงั กล่าวที่สาํ คญั คือ ไผข่ า้ วหลาม ผผู้ ลิตขา้ วหลาม จะตอ้ งตระหนกั ถึงความขาดแคลนที่เกิดข้ึน และร่วมกนั หาแนวทางให้คนท่ีสนใจไดเ้ ขา้ มาปลูกไม้ ขา้ วหลามในทางการคา้ ใหม้ ากข้ึน หรือแมแ้ ตผ่ ผู้ ลิตขา้ วหลามจะสามารถปลูกไมข้ า้ วหลามไวใ้ ชเ้ อง อีกท้งั ตอ้ งละทิ้งความเช่ือเดิมที่ว่าไมข้ า้ วหลามเป็ นพืชที่ตอ้ งข้ึนเองตามธรรมชาติเท่าน้ัน ซ่ึงใน ปัจจุบนั เทคโนโลยที างการเกษตรไดก้ า้ วหนา้ ไปมาก ทาํ ใหส้ ามารถเกิดการคดั เลือกสายพนั ธุ์ที่ดีได้ และภาครัฐท่ีมีความเก่ียวขอ้ งกบั การส่งเสริมการเกษตรในทอ้ งถ่ินก็ควรมีการศึกษาและเผยแพร่ ความรู้เหล่าน้ีใหก้ บั ประชาชน เพื่อให้เกิดความรู้ความเขา้ ใจและจูงใจให้เกิดการปลูกไมข้ า้ วหลาม มากข้ึน ดงั น้ัน จะเห็นได้ว่าไมข้ า้ วหลามเป็ นทรัพยากรที่ตอ้ งมีการจดั การเพ่ือให้เกิดความยงั่ ยืน ผลผลิตไมข้ า้ วหลามจะตอ้ งเพยี งพอต่อความตอ้ งการของผผู้ ลิต ซ่ึงจะเกิดไดก้ ็ต่อเมื่อมีความร่วมมือ
๑๗๕ กนั ระหวา่ งภาครัฐ ท่ีทาํ หนา้ ที่ศึกษา ส่งเสริม แนะนาํ และผปู้ ระกอบการท่ีเกี่ยวขอ้ ง เช่น ผผู้ ลิตขา้ ว หลาม คนในชุมชนที่ตดั ไมข้ า้ วหลามจาํ หน่าย และบุคคลทว่ั ไปในชุมชนที่มีความสนใจในธุรกิจไม้ ขา้ วหลาม ซ่ึงจะทาํ ใหเ้ กิดผลดีต่อท้งั ตวั ทรัพยากรเองที่ไดร้ ับการฟ้ื นฟู และคนในทอ้ งถิ่นท่ีมีอาชีพ ใหม่ที่สามารถสร้างรายไดใ้ ห้กบั ทอ้ งถิ่น อีกท้งั ผผู้ ลิตขา้ วหลามเองก็จะไม่ตอ้ งเดินทางไปรับซ้ือไม้ ขา้ วหลามไกลข้ึน ทาํ ใหป้ ระหยดั ท้งั เวลาและเงินอีกดว้ ย นอกจากน้นั ก็จะมีระบบการจดั การมะพร้าวและฟื น ซ่ึงล้วนเป็ นทรัพยากรธรรมชาติที่ สําคญั ที่ใชใ้ นการผลิตขา้ วหลามท้งั สิ้น ดงั น้นั จึงควรมีการดาํ เนินการเพ่ือให้ทรัพยากรธรรมชาติ เหล่าน้ีเกิดความยงั่ ยนื ๒.๒ มติ ิทางด้านผ้ผู ลติ ความสําคญั ของสินคา้ ที่เป็ นอาหารอีกอย่างหน่ึงคือ ในดา้ นของผผู้ ลิต เพราะสินคา้ ท่ีเป็ น อาหารจะตอ้ งมีกรรมวิธีการผลิตและรสชาติที่ดี ทาํ ให้ผูบ้ ริโภคเกิดความไวว้ างใจ ติดใจ เกิดการ บอกตอ่ และกลบั มาซ้ืออีกคร้ัง ดงั น้นั ผผู้ ลิตจึงมีความสําคญั อยา่ งยิ่งท่ีจะทาํ ให้ขา้ วหลามเกิดความยงั่ ยืน ผผู้ ลิตขา้ วหลาม จะตอ้ งตระหนกั อยเู่ สมอวา่ ตอ้ งมีกรรมวิธีการผลิตขา้ วหลามท่ีสะอาด ใชว้ ตั ถุดิบท่ีมีคุณภาพ ไม่เอา เปรียบลูกคา้ ไม่นาํ สินคา้ เก่าคา้ งคืนมาจาํ หน่ายซ้าํ เป็ นตน้ ซ่ึงเม่ือผบู้ ริโภคเกิดการมน่ั ใจในคุณภาพ และรสชาติแลว้ ขา้ วหลามบา้ นอาฮามก็จะสามารถจาํ หน่ายไดม้ ากข้ึนและยงั่ ยนื ได้ รวมไปถึงการปลูกฝัง สืบทอดวิธีการและกระบวนการในการผลิตสู่ลูกหลานผูผ้ ลิตขา้ ว หลาม เพ่อื ไมใ่ หอ้ งคค์ วามรู้ในการผลิตเหล่าน้ีขาดหายไป ๒.๓ มติ ิทางด้านหน่วยงานภาครัฐ หน่วยงานภาครัฐที่มีความเก่ียวขอ้ งกบั การจดั การขา้ วหลามอย่างยงั่ ยืนน้ัน ตอ้ งมีความ ร่วมมือกนั ระหวา่ งหลายฝ่ าย เช่น ศูนยส์ ่งเสริมและพฒั นาอาชีพการเกษตรจงั หวดั น่าน(พืชสวน) ทาํ หน้าท่ีศึกษา วิจยั ให้ ความรู้เก่ียวกบั ไผข่ า้ วหลาม เพื่อให้คนในทอ้ งถิ่นไดม้ ีความรู้ ความเขา้ ใจเกี่ยวกบั พืชชนิดน้ี และ ส่งเสริมใหม้ ีการปลูกในทอ้ งถ่ินใหม้ ากข้ึน สาํ นกั งานเกษตรอาํ เภอท่าวงั ผา ปัจจุบนั การจดั การสินคา้ ขา้ วหลามของชุมชนบา้ นอาฮาม เป็ นการจดั การในระดับครอบครัว ทาํ ให้ยากต่อการควบคุมท้งั กรรมวิธีการผลิต รสชาติ และ คุณภาพ จึงยากตอ่ การควบคุมคุณภาพของสินคา้ ทาํ ใหต้ อ้ งมีหน่วยงานที่เขา้ มาดูแล ใหค้ วามรู้ และ ประสานงานการจดั การสินคา้ ขา้ วหลามของบา้ นอาฮาม โดยสาํ นกั งานเกษตรอาํ เภอท่าวงั ผามีหนา้ ท่ี
๑๗๖ ให้ความรู้ และส่งเสริมเก่ียวกบั สินคา้ ขา้ วหลาม รวมท้งั ความรู้เกี่ยวกบั ไมข้ า้ วหลามเพื่อการปลูก จาํ หน่าย เพ่ือเสริมสร้างความรู้ ความเขา้ ใจ และศกั ยภาพในการพฒั นาสินคา้ ใหม้ ีคุณภาพ อีกท้งั สํานกั งานเกษตรอาํ เภอท่าวงั ผาตอ้ งมีการประสานงานกบั หน่วยงานอื่น เช่น องคก์ ารอาหารและยา เป็นตน้ ท่ีจะเขา้ มาช่วยส่งเสริมและพฒั นาใหส้ ินคา้ มีคุณภาพ มาตรฐาน เทศบาลตาํ บลทา่ วงั ผา เป็นองคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถิ่นท่ีดูแลบา้ นอาฮามโดยตรง และเป็ น หน่วยงานที่มีงบประมาณ มีบุคลากรมาก มีศกั ยภาพในการพฒั นาผลักดนั ให้สินค้าวฒั นธรรม เหล่าน้ีเป็นที่รู้จกั ไดเ้ ป็นอยา่ งดี โรงเรียนท่าวงั ผาพิทยาคม เป็ นโรงเรียนที่เปิ ดทาํ การเรียนการสอนระดบั ช้นั มธั ยมศึกษา ขนาดใหญ่ท่ีสุดในอาํ เภอท่าวงั ผาและมีที่ต้งั อยู่ท่ีบ้านอาฮาม จึงสามารถสร้างชุดความรู้ให้กับ นกั เรียน โดยให้นกั เรียนไดเ้ ขา้ ทาํ การศึกษาในชุมชนไดง้ ่าย และขยายสู่ชุมชนอ่ืนๆที่มีนกั เรียนเขา้ มาเรียนต่อไป เพื่อใหน้ กั เรียนเกิดความรู้ ความเขา้ ใจ และภาคภูมิใจในอตั ลกั ษณ์ของชุมชนตนเอง ตอ่ ไป ๒.๔มติ ิทางด้านการท่องเทยี่ ว เนื่องจากในปัจจุบนั กระแสการท่องเที่ยวเมืองน่านไดร้ ับความนิยมเป็ นอยา่ งมาก ทาํ ใหเ้ รา มองเห็นโอกาสและศกั ยภาพของชุมชนบา้ นอาฮามท่ีสามารถสร้างเป็ นแหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตรได้ เป็นอยา่ งดี เนื่องจากบา้ นอาฮามเป็ นหมู่บา้ นท่ีโดดเด่นในเรื่องอาชีพการผลิตสินคา้ ข้าวหลาม และ สินค้าอ่ืนๆที่เป็ นสินคา้ ภูมิปัญญาท้องถิ่น เช่น ส้มจิ้น(แหนม) ข้าวแต๋น ขนมซ่ี เป็ นต้น ทาํ ให้ สามารถสร้างเส้นทางเชื่อมโยงให้นกั ท่องเที่ยวไดเ้ ขา้ ไปศึกษา เรียนรู้ เลือกซ้ือสินคา้ ของชุมชนได้ หลากหลาย โดยสร้างเส้นทางการท่องเที่ยวและกิจกรรมต่างๆ รวมไปถึงการให้นกั ท่องเท่ียวไดเ้ ขา้ ไปสัมผสั วิถีชีวิตของคนในชุมชน โดยให้คนในชุมชนมีส่วนร่วมในการออกแบบเส้นทางการ ทอ่ งเที่ยวและผลประโยชน์ท่ีจะไดร้ ับร่วมกนั โดยการสร้างและประชาสัมพนั ธ์สินคา้ เพ่ือการท่องเท่ียวน้ี เทศบาลตาํ บลท่าวงั ผา ซ่ึงเป็ น หน่วยงานส่วนทอ้ งถิ่นน้นั สามารถท่ีจะเขา้ ไปช่วยเหลือในดา้ นงบประมาณและการจดั การไดด้ ว้ ย เน่ืองจากนโยบายของเทศบาลตาํ บลทา่ วงั ผาในปัจจุบนั ก็มีการเนน้ การส่งเสริมการท่องเที่ยวอยแู่ ลว้ ดงั น้นั การจดั การสินคา้ ขา้ วหลามเพ่ือให้เกิดความยงั่ ยืนท้งั ในมิติดา้ นทรัพยากรธรรมชาติ ผผู้ ลิต หน่วยงานภาครัฐ และการท่องเที่ยวที่กล่าวมาขา้ งตน้ จะนาํ ไปสู่รูปแบบในการจดั การสินคา้ ของชุมชนไดอ้ ยา่ งเหมาะสม และยงั่ ยืน เป็ นสินคา้ วฒั นธรรมชุมชนที่มีคุณภาพ ใชท้ รัพยากรใน
๑๗๗ ทอ้ งถิ่นอย่างคุม้ ค่า และเป็ นอตั ลกั ษณ์ที่ทาํ ให้เกิดความภาคภูมิใจของคนในชุมชน รวมไปถึงสร้าง อาชีพให้กบั คนในชุมชนโดยไม่ตอ้ งเดินทางไปหางานยงั ต่างถิ่น ซ่ึงเป็ นการลดปัญหาของสังคม เมืองในปัจจุบนั ไดเ้ ป็นอยา่ งดีอีกดว้ ย ข้อเสนอแนะ ข้อเสนอแนะจากการศึกษา หน่วยงานท่ีเก่ียวขอ้ ง ผผู้ ลิตขา้ วหลาม คนในชุมชนบา้ นอาฮาม หรือชุมชนท่ีมีความ สนใจในการจดั การทรัพยากรวฒั นธรรมที่เป็ นสินคา้ อตั ลกั ษณ์ชุมชนของตนเอง ควรมีการนาํ เอา วิธีการ หรือแนวคิดจากการศึกษาท่ีไดไ้ ปปรับประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อชุมชนของตนเอง หรือทอ้ งที่ท่ีหน่วยงานน้นั ดูแลรับผิดชอบ เพ่ือทาํ ให้เกิดการสร้างงาน สร้างรายไดภ้ ายในทอ้ งถ่ิน รวมไปถึงการสร้างความภมู ิใจในอตั ลกั ษณ์ชุมชนของตนเอง และเพ่ือใหเ้ กิดการสืบทอดอยา่ งยงั่ ยนื ตอ่ ไป ข้อเสนอแนะสาหรับการศึกษาคร้ังต่อไป ควรมีการศึกษาอาหารซ่ึงเป็ นสินคา้ ทางวฒั นธรรมอ่ืนๆของคนในชุมชนบา้ นอาฮาม เช่น ขา้ วแต๋น ขนมซ่ี รวมท้งั อาหารอื่นๆในทอ้ งถิ่นอาํ เภอท่าวงั ผา เพื่อสร้างชุดความรู้เกี่ยวกบั อาหารท่ี เป็ นภูมิปัญญาทอ้ งถิ่นของคนท่าวงั ผา เช่น ชุมชนผลิตแคบหมู ชุมชนผลิตไกยี,ห่อน่ึงไก เป็ นตน้ เพอื่ เป็นแนวทางในการจดั การสินคา้ ของชุมชน อีกท้งั เมื่อมีการศึกษาอาหารท่ีเป็ นภูมิปัญญาเหล่าน้ีแลว้ ควรสร้างเส้นทางการท่องเท่ียวเชิง เกษตร(อาหารภูมิปัญญาทอ้ งถิ่น) เพื่อเช่ือมโยงการท่องเท่ียวจากอีกชุมชนหน่ึงไปยงั อีกชุมชนหน่ึง เพ่ือเป็นการกระจายรายไดไ้ ปสู่ชุมชนต่างๆในทอ้ งถ่ินไดเ้ ป็นอยา่ งดี
บรรณานุกรม กาญจนา แกว้ เทพ. ศาสตร์แห่งสื่อและวฒั นธรรมศึกษา. กรุงเทพฯ : คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั , ๒๕๔๔. เกษม วฒั นชยั . การเรียนรู้ที่แทแ้ ละพอเพียง. กรุงเทพฯ : สานกั พิมพม์ ติชน, ๒๕๔๙. คณะกรรมการฝ่ ายประมวลเอกสารและจดหมายเหตุในคณะกรรมการอานวยการจดั งานเฉลิมพระ เกียรติพระบาทสมเด็จพระเจา้ อยหู่ วั ฯ. วฒั นธรรม พฒั นาการทางประวตั ิศาสตร์ เอกลกั ษณ์และ ภูมิปัญญา จงั หวดั น่าน. กรุงเทพฯ : โรงพมิ พค์ ุรุสภาลาดพร้าว, ๒๕๔๒. คณะทางานเอกลกั ษณ์น่าน. นครน่าน พฒั นาการแห่งนครรัฐ. ม.ป.ท., ๒๕๔๙. คณะอนุกรรมการขบั เคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียง สานกั งานคณะกรรมการพฒั นาการเศรษฐกิจและ สงั คมแห่งชาติ. การสร้างขบวนการขบั เคลื่อนเศรษฐกิจพอเพยี ง. กรุงเทพฯ : สานกั งาน คณะกรรมการพฒั นาการเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติ, ๒๕๔๗. จินตนา สุจจานนั ท.์ การศึกษาและการพฒั นาชุมชน. กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร์, ๒๕๔๙. จุฑาพรรธ์ (จามจุรี) ผดุงชีวติ . วฒั นธรรม การสื่อสาร และอตั ลกั ษณ์. กรุงเทพฯ : บริษทั แอคทีฟ พริ้นท์ จากดั , ๒๕๕๐. ชนญั วงศว์ ิภาค. “การจดั การทรัพยากรทางวฒั นธรรม เพ่ือการท่องเที่ยวอยา่ งยง่ั ยนื : ความหมาย และขอบเขต.” ใน การจดั การทรัพยากรทางวฒั นธรรมเพื่อการทอ่ งเท่ียวอยา่ งยง่ั ยนื , หนา้ . ๗๗-๑๒๓, อมรชยั คหกิจโกศล บรรณาธิการ. นครปฐม : โรงพิมพม์ หาวทิ ยาลยั ศิลปากร, ๒๕๔๗. ชาตรี เจริญศิริ และคณะ. ประชาคมน่านกบั การจดั การความรู้. กรุงเทพฯ : สถาบนั ส่งเสริมการ จดั การความรู้เพื่อสงั คม, ๒๕๔๗. ณฐั ภทั ร สุนทรมีเสถียร. “ทุนทางสังคมกบั การวสิ าหกิจชุมชน: กรณีศึกษากลุ่มวสิ าหกิจชุมชนตาบล บางสน หม่บู า้ นหวั นอน ตาบลบางสน อาเภอปะทิว จงั หวดั ชุมพร.” วทิ ยานิพนธ์พฒั นา ชุมชนมหาบณั ฑิต ภาควชิ าการพฒั นาชุมชน คณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์, ๒๕๕๒. ทวชิ จตุวรพฤกษ.์ “อตั ลกั ษณ์ชาติพนั ธุ์และกระบวนการกลายเป็นสินคา้ : การเมืองวฒั นธรรมของ กลุ่มชาติพนั ธุ์ในบริบทการท่องเที่ยว.” ใน อานาจ พ้นื ที่ และอตั ลกั ษณ์ทางชาติพนั ธุ์: การเมืองวฒั นธรรมของรัฐชาติในสงั คมไทย, ยศ สันตสมบตั ิ บรรณาธิการ. กรุงเทพฯ : ศนู ย์ มานุษยวทิ ยาสิรินธร (องคก์ ารมหาชน), ๒๕๕๑. ๑๗๘
๑๗๙ ธนิก เลิศชาญฤทธ์. “เอกสารประกอบการสอนวชิ า ๓๕๗๕๑๑ CONCEPTS AND THEORIES IN CULTURAL RESOURCE MANAGEMENT แนวคิดและทฤษฎีการจดั การทรัพยากรทาง วฒั นธรรม” ภาคเรียนท่ี๑ ปี การศึกษา ๒๕๕๒. สาขาวชิ าการจดั การทรัพยากรวฒั นธรรม คณะ โบราณคดี มหาวทิ ยาลยั ศิลปากร. (อดั สาเนา) นิลิณี หนูพินิจ. “ภาพยนตร์ไทยกบั การสร้างอตั ลกั ษณ์ชุมชนภาคใต=้ Film and identity : a social construction of southern Thailand.” วทิ ยานิพนธ์ วารสารศาสตรมหาบณั ฑิต (ส่ือสารมวลชน) คณะวารสารศาสตร์และสื่อสารมวลชน มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์, ๒๕๕๑. บุญเทียน ทองประสาน. แนวคิดวฒั นธรรมชุมชนในงานพฒั นา. กรุงเทพฯ : กงั หนั , ๒๕๓๑. บารุง บุญปัญญา. สามทศวรรษ แนวคิดวฒั นธรรมชุมชน. กรุงเทพฯ : บริษทั โรงพิมพ์ เดือนตุลา จากดั , ๒๕๔๙. ประพนั ธ์ ภกั ดีกลุ และคณะ. รูปแบบและปัจจยั ในการเสริมสร้างความเขม้ แขง็ ของชุมชนดว้ ย ศกั ยภาพและภูมิปัญญาทอ้ งถ่ินเพอ่ื การพฒั นาที่ยง่ั ยนื . กรุงเทพฯ : โรงพิมพไ์ อเดียสแควร์, ๒๕๔๙. ประสิทธ์ิ ลีปรีชา. “การคา้ พ้ืนที่และอตั ลกั ษณ์มง้ ดอยปุย.” ใน อานาจ พ้ืนท่ี และอตั ลกั ษณ์ทางชาติ พนั ธุ์ : การเมืองวฒั นธรรมของรัฐชาติในสังคมไทย, ยศ สันตสมบตั ิ บรรณาธิการ. กรุงเทพฯ : ศนู ยม์ านุษยวทิ ยาสิรินธร (องคก์ ารมหาชน), ๒๕๕๑. ____ “การสร้างและสืบทอดอตั ลกั ษณ์ของกลุ่มชาติพนั ธุ์มง้ .” ใน วาทกรรมอตั ลกั ษณ์, ศนู ยม์ านุษยวทิ ยาสิรินธร(องคก์ รมหาชน) บรรณาธิการ. กรุงเทพฯ : ศนู ยม์ านุษยวทิ ยาสิริน ธร, ๒๕๔๗. ประเวศ วะสี. ประชาคมตาบล : ยทุ ธศาสตร์เพอ่ื เศรษฐกิจพอเพียง ศีลธรรม และสุขภาพ. กรุงเทพฯ : มติชน, ๒๕๔๑. ปริตตา เฉลิมเผา่ กออนนั ตกูล,บรรณาธิการ. คนใน ประสบการณ์ภาคสนามของนกั มานุษยวทิ ยา ไทย. กรุงเทพฯ : โอ.เอส. พริ้นติ้ง เฮา้ ส์, ๒๕๔๕. พศิ ิษฏ์ คุณวโรตม.์ “อตั ลกั ษณ์และกระบวนการต่อสู้เพอื่ ชีวติ ของผตู้ ิดเช้ือ HIV.” ใน อตั ลกั ษณ์ ชาติพนั ธุ์ ความเป็ นชายขอบ , หนา้ ., ปิ่ นแกว้ เหลืองอร่ามศรี บรรณาธิการ. กรุงเทพฯ : ศูนยม์ านุษยวทิ ยาสิรินธร (องคก์ ารมหาชน), ๒๕๔๖. พสิ ิฐ เจริญวงศ.์ วฒั นธรรมโบราณที่บา้ นเชียง. กรุงเทพฯ : โรงพิมพค์ ุรุสภาลาดพร้าว, ๒๕๓๒. แพร์ริช, เดวิด. T-Shirt and Suits ธุรกิจสร้างสรรค์ เขาทากนั ยงั ไง. กรุงเทพฯ : ศนู ยส์ ร้างสรรคง์ าน ออกแบบ, ๒๕๕๓. พฒั นา กิติอาษา. “บทบรรณาธิการ มานุษยวทิ ยากบั การศึกษาปรากฏการณ์โหยหาอดีตในสังคมไทย ร่วมสมยั .” ใน มานุษยวทิ ยากบั การศึกษาปรากฏการณ์โหยหาอดีตในสงั คมไทยร่วมสมยั , พฒั นา กิติอาษา บรรณาธิการ. กรุงเทพฯ : ศนู ยม์ านุษยวทิ ยาสิรินธร (องคก์ รมหาชน), ๒๕๔๖.
๑๘๐ รัตนา โตสกุล และคณะ. เดินทีละกา้ ว กินขา้ วทีละคา : ภูมิปัญญาในการจดั การความรู้ของชุมชน. กรุงเทพฯ : หา้ งหุน้ ส่วนจากดั ขอนแก่นการพิมพ,์ ๒๕๔๘. เรืองฟ้ า บุราคร. “การสื่อสารกบั การสร้างอตั ลกั ษณ์ “กะเทย” ในพ้ืนท่ีคาบาเร่ตโ์ ชว”์ วทิ ยานิพนธ์ วารสารศาสตรมหาบณั ฑิต (สื่อสารมวลชน) คณะวารสารศาสตร์และ ส่ือสารมวลชน มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์, ๒๕๕๐. วมิ ลสิริ รุจิภาสพรพงศ.์ “การสืบทอดภมู ิปัญญาทอ้ งถิ่นและการส่งเสริมเศรษฐกิจชุมชน : กรณีศึกษาการทาขา้ วหลามในชุมชนพระงาม จงั หวดั นครปฐม.” วทิ ยานิพนธ์ศึกษาศาสตร มหาบณั ฑิต สาขาวชิ าพฒั นศึกษา ภาควชิ าพ้ืนฐานทางการศึกษา บณั ฑิตวทิ ยาลยั มหาวทิ ยาลยั ศิลปากร, ๒๕๕๐. วริ ิยา วฑิ ูรยส์ ฤษฏศ์ ิลป์ . “การศึกษาอตั ลกั ษณ์คนช้นั กลางไทยผา่ นการเล่าเรื่องในส่ือหนงั สือ บนั ทึกการเดินทาง.” วทิ ยานิพนธ์ วารสารศาสตรมหาบณั ฑิต (สื่อสารมวลชน) คณะวารสาร ศาสตร์และสื่อสารมวลชน มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์, ๒๕๔๘. ยกุ ติ มุกดาวจิ ิตร. อา่ น “วฒั นธรรมชุมชน” : วาทศิลป์ และการเมืองของชาติพนั ธุ์นิพนธ์ แนววฒั นธรรมชุมชน. กรุงเทพฯ : ฟ้ าเดียวกนั , ๒๕๔๘. สมศกั ด์ิ อมรสิริพงศ.์ การวเิ คราะห์การก่อเกิดปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี งดว้ ยปฏิฐานนิยม และหลงั ปฏิฐานนิยม. นครปฐม : คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฎั นครปฐม, ๒๕๕๑. สมหมาย ชินนาค. “ “มูน” ไม่ใช่ “มลู ” วาทกรรมต่อตา้ นรัฐของกลุ่มชาติพนั ธุ์ไทย-ลาวที่ไดร้ ับผล กระทบจากเขื่อนปากมูล.” ใน วาทกรรมอตั ลกั ษณ์, ศูนยม์ านุษยวทิ ยาสิรินธร(องคก์ รมหาชน) บรรณาธิการ. กรุงเทพฯ : ศนู ยม์ านุษยวทิ ยาสิรินธร, ๒๕๔๗. สวา่ ง เลิศฤทธ์ิ. “การจดั การทรัพยากรโบราณคดี : ภาพรวมแนวคิด.” ใน การจดั การทรัพยากรทาง วฒั นธรรมเพ่ือการท่องเที่ยวอยา่ งยง่ั ยนื , หนา้ ., บรรณาธิการ. นครปฐม : โรงพิมพม์ หาวทิ ยาลยั ศิลปากร, ๒๕๔๗. สายนั ต์ ไพรชาญจิตร. กระบวนการโบราณคดีชุมชน : การวจิ ยั เชิงปฏิบตั ิการพฒั นาแบบมีส่วนร่วม เพ่อื เสริมสร้างความสามารถของชุมชนทอ้ งถิ่นในการจดั การทรัพยากรวฒั นธรรมในจงั หวดั น่าน. กรุงเทพฯ : สถาบนั ไทยคดีศึกษา และ ภาควชิ าการพฒั นาชุมชน คณะสังคมสงเคราะห์ ศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์, ๒๕๔๘. _____. การจดั การทรัพยากรทางโบราณคดีในงานพฒั นาชุมชน. โครงการหนงั สือโบราณคดี ชุมชน. กรุงเทพฯ : ศกั ด์ิโสภาการพิมพ,์ ๒๕๕๐. ______.การจดั การโบราณสถาน โบราณวตั ถุ ศิลปวตั ถุ และพพิ ิธภณั ฑสถาน โดย องคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถิ่น. เอกสารวชิ าการลาดบั ที่ ๒๑ วทิ ยาลยั พฒั นาการปกครองทอ้ งถิ่น สถาบนั พระปกเกลา้ . นนทบุรี : บริษทั ศูนยก์ ารพิมพแ์ ก่นจนั ทร์ จากดั , ๒๕๔๘.
๑๘๑ ______. “Management Commercialization of Culture การจดั การวฒั นธรรมเชิงพาณิชย.์ ” เอกสาร ประกอบการบรรยายในรายวชิ า ๓๕๗๖๒๔ Management Commercialization of Culture การ จดั การวฒั นธรรมเชิงพาณิชย.์ ภาคเรียนที่ ๑ ปี การศึกษา ๒๕๕๓. สาขาวชิ าการจดั การ ทรัพยากรวฒั นธรรม คณะโบราณคดี มหาวทิ ยาลยั ศิลปากร, ๒๕๕๓. (อดั สาเนา) ______. การฟ้ื นฟพู ลงั ชุมชนดว้ ยการจดั การทรัพยากรทางโบราณคดีและพิพธิ ภณั ฑ์ : แนวคิด วธิ ีการ และประสบการณ์จากจงั หวดั น่าน. กรุงเทพฯ : โครงการเสริมสร้างการเรียนรู้เพอ่ื ชุมชนเป็นสุข (สรส.), ๒๕๔๗. ______.รายงานการวิจยั เรื่อง ทรัพยากรวฒั นธรรมในลา้ นนาและศกั ยภาพชุมชนทอ้ งถ่ินในการ จดั การอยา่ งยง่ั ยนื . เสนอต่อสถาบนั ไทยคดีศึกษา มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์, ๒๕๔๕. ______. “METHODOLOGY FOR CULTURAL RESOURCE MANAGEMENT ระเบียบวธิ ี วจิ ยั ดา้ นการจดั การทรัพยากรทางวฒั นธรรม.” เอกสารประกอบการบรรยายในรายวชิ า ๓๕๗๕๑๕ METHODOLOGY FOR CULTURAL RESOURCE MANAGEMENT ระเบียบ วธิ ีวจิ ยั ดา้ นการจดั การทรัพยากรทางวฒั นธรรม ภาคเรียนท่ี ๒ ปี การศึกษา ๒๕๕๒ สาขาวชิ า การจดั การทรัพยากรวฒั นธรรม คณะโบราณคดี มหาวทิ ยาลยั ศิลปากร, ๒๕๕๒. (อดั สาเนา) สายนั ต์ ไพรชาญจิตร์และคณะ. รายงานการวจิ ยั ฉบบั สมบูรณ์ กระบวนการเรียนรู้และ จดั การความรู้ของชุมชนดา้ นศิลปวฒั นธรรมและภูมิปัญญาทอ้ งถิ่น. สนบั สนุนโดย สานกั งานกองทุนสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) สานกั งานกองทุนสนบั สนุนการวจิ ยั (สกว.), ๒๕๔๙. สุกญั ญา อธิปอนนั ต์ และคณะ. รายงานการวจิ ยั เรื่อง กลยทุ ธการพฒั นาวสิ าหกิจชุมชน เพอ่ื การพ่ึงตนเอง ปี ๒๕๕๐, ม.ป.ท., ๒๕๕๐. เสรี พงศพ์ ิศ. ฐานคิด. กรุงเทพฯ : เจริญวทิ ยก์ ารพมิ พ,์ ๒๕๔๘. ____. แนวคิดแนวปฏิบตั ิ ยทุ ธศาสตร์พฒั นาทอ้ งถิ่น. กรุงเทพฯ : เจริญวทิ ยก์ าร พิมพ,์ ๒๕๕๑. สานกั งานคณะกรรมการพฒั นาเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติ. การพฒั นาท่ียงั ยนื ในบริบทไทย. เอกสารประกอบการประชุมประจาปี ๒๕๔๖ การพฒั นาท่ียงั่ ยนื วนั จนั ทร์ที่ ๓๐ มิถุนายน ๒๕๔๖ ศนู ยก์ ารประชุมและแสดงสินคา้ อิมแพค็ เมืองทองธานี จงั หวดั นนทบุรี, ม.ป.ท., ๒๕๔๖. สานกั งานบริหารและพฒั นาองคค์ วามรู้. Creative Thailand : สร้างสรรคส์ ร้างไทย. กรุงเทพฯ : สานกั งานบริหารและพฒั นาองคค์ วามรู้, ๒๕๕๒.
๑๘๒ สานกั มาตรฐานการศึกษา สานกั งานสภาสถาบนั ราชภฎั กระทรวงศึกษาธิการ และสานกั มาตรฐาน การศึกษา ทบวงมหาวทิ ยาลยั . ชุดการเรียนรู้ดว้ ยตนเอง ใชป้ ระกอบการเรียนหลกั สูตร ประกาศนียบตั รบณั ฑิตการจดั การและการประเมินโครงการ ชุดวชิ าการวจิ ยั ชุมชน. : นนทบุรี, บริษทั เอส. อาร์. พริ้นติง้ แมสโปรดกั ส์ จากดั , ๒๕๔๕. ศรินธร รัตน์เจริญขจร. “ร้านกาแฟ: ความหมายในวฒั นธรรมไทยยคุ บริโภคนิยม.” ใน มานุษยวทิ ยา กบั การศึกษาปรากฏการณ์โหยหาอดีตในสงั คมไทยร่วมสมยั . พฒั นา กิติอาษา บรรณาธิการ. กรุงเทพฯ : ศูนยม์ านุษยวทิ ยาสิรินธร (องคก์ รมหาชน), ๒๕๔๖. อานนั ท์ กาญจนพนั ธุ์. วฒั นธรรมทางเศรษฐกิจในเศรษฐกิจไร้วฒั นธรรม. กรุงเทพฯ : โครงการ จดั พมิ พค์ บไฟ, ๒๕๔๙. อานนั ท์ กาญจนพนั ธ์,บรรณาธิการ. พลวตั ของชุมชนในการจดั การทรัพยากร สถานการณ์ ในประเทศไทย. กรุงเทพฯ : สานกั งานส่งเสริมการวจิ ยั (สกว.), ๒๕๔๓. อารี วบิ ูลยพ์ งศ์ และคณะ. ร้อยแปดวสิ าหกิจ(ใน)ชุมชน แนวทางวจิ ยั กลยทุ ธ์ กรณีศึกษา. กรุงเทพฯ : โรงพมิ พ์ กดู๊ พริ้นท์ พริ้นติง้ , ๒๕๔๙. ฮาวกินส, จอห์น. เศรษฐกิจสร้างสรรค์ : เขามงั่ คง่ั จากความคิดกนั อยา่ งไร = The creative economy : how people make money from ideas / by John Howkins. แปลโดย คุณากร วาณิชยว์ ริ ุฬห์. กรุงเทพฯ : อมรินทร์พริ้นติ้งแอนดพ์ บั ลิชชิ่ง, ๒๕๕๒. การสัมภาษณ์ ดวงเดือน อินเป็ง. ผผู้ ลิตขา้ วหลามบา้ นอาฮาม. สัมภาษณ์, ๒๓ สิงหาคม ๒๕๕๓. บุศราคมั ยศหลา้ . ผผู้ ลิตขา้ วหลามบา้ นอาฮาม. สัมภาษณ์, ๒๓ สิงหาคม พ.ศ.๒๕๕๓. ลาดวน มีบุญ. ผผู้ ลิตขา้ วหลามบา้ นอาฮาม. สมั ภาษณ์, ๒๓ สิงหาคม ๒๕๕๓. วรฤทยั พนั ธจกั ร. ผรู้ ับจา้ งจาหน่ายขา้ วหลามบา้ นอาฮาม. สัมภาษณ์, ๒๓ สิงหาคม ๒๕๕๓. อุไร สุทธนอ้ ย. ผผู้ ลิตขา้ วหลามบา้ นอาฮาม. สมั ภาษณ์, ๒๓ สิงหาคม ๒๕๕๓. สุนทรีย์ ประกอบเท่ียง. ผผู้ ลิตขา้ วหลามบา้ นอาฮาม. สัมภาษณ์, ๒๔ สิงหาคม พ.ศ.๒๕๕๓. อาพร คาเฟย. ผรู้ ับจา้ งปอกและเหลาขา้ วหลามบา้ นอาฮาม. สมั ภาษณ์, ๒๔ สิงหาคม ๒๕๕๓. คาฟอง สิงห์ไชย . ผผู้ ลิตขา้ วหลามบา้ นอาฮาม. สัมภาษณ์, ๑๘ ตุลาคม ๒๕๕๓. จวน เตชนนั ท.์ ผผู้ ลิตขา้ วหลามบา้ นอาฮาม. สมั ภาษณ์, ๑๘ ตุลาคม ๒๕๕๓. จิตรานนท์ ภูครองจิต. ผผู้ ลิตขา้ วหลามบา้ นอาฮาม. สัมภาษณ์, ๑๘ ตุลาคม ๒๕๕๓. แจ่มจนั ทร์ ไชยชนะ. ผผู้ ลิตขา้ วหลามบา้ นอาฮาม. สมั ภาษณ์, ๑๘ ตุลาคม ๒๕๕๓. ทองใบ ยศหลา้ . ผผู้ ลิตขา้ วหลามบา้ นอาฮาม. สมั ภาษณ์, ๑๘ ตุลาคม ๒๕๕๓.
๑๘๓ ปริญญา แอฤทธ์ิ . ผผู้ ลิตขา้ วหลามบา้ นอาฮาม. สัมภาษณ์, ๑๘ ตุลาคม ๒๕๕๓. อาพนั นารี. ผผู้ ลิตขา้ วหลามบา้ นอาฮาม. สมั ภาษณ์, ๑๘ ตุลาคม ๒๕๕๓. ทวี สิงห์ไชย. สามีผผู้ ลิตขา้ วหลามบา้ นอาฮาม. สัมภาษณ์, ๑๙ ตุลาคม ๒๕๕๓. พวง สิงห์ไชย. ผผู้ ลิตขา้ วหลามบา้ นอาฮาม. สัมภาษณ์, ๑๙ ตุลาคม ๒๕๕๓. ถวลิ ยอดสุภา. ผผู้ ลิตขา้ วหลามบา้ นอาฮาม. สมั ภาษณ์, ๒๐ ตุลาคม ๒๕๕๓. ละมยั มาวงค.์ ผผู้ ลิตขา้ วหลามบา้ นอาฮาม. สมั ภาษณ์, ๒๐ ตุลาคม ๒๕๕๓. ใจมา ศิริกนั ไชย. ผจู้ าหน่ายมะพร้าว. สัมภาษณ์, ๒๑ ตุลาคม ๒๕๕๓. พร ยศหลา้ . ผผู้ ลิตขา้ วหลามบา้ นอาฮาม. สัมภาษณ์, ๒๒ ตุลาคม ๒๕๕๓. วลิ ยั วนั ควร. ผผู้ ลิตขา้ วหลามบา้ นอาฮาม. สมั ภาษณ์, ๒๒ ตุลาคม ๒๕๕๓. สุวนิ เข่ือนขนั ธ์. พอ่ คา้ คนกลางไมไ้ ผข่ า้ วหลาม, สัมภาษณ์. ๒๒ ตุลาคม ๒๕๕๓. พระอธิการทองอินทร์ สวโร. เจา้ อาวาสวดั สุทธาราม(อาฮาม). สมั ภาษณ์, ๒๖ ตุลาคม ๒๕๕๓. สง่า อินยา. ผทู้ รงคุณวุฒิดา้ นวฒั นธรรมอาเภอท่าวงั ผา. สัมภาษณ์, ๒๖ ตุลาคม ๒๕๕๓. พนั ยศหลา้ . ผรู้ ับจา้ งจาหน่ายขา้ วหลามบา้ นอาฮาม. สมั ภาษณ์ ๒๗ ตุลาคม ๒๕๕๓. สายบวั สุพรรณ. ผรู้ ับจา้ งจาหน่ายขา้ วหลามบา้ นอาฮาม. สัมภาษณ์, ๒๗ ตุลาคม ๒๕๕๓. ดวง พิรี.คนในชุมชนบา้ นอาฮาม. สมั ภาษณ์, ๒๘ ตุลาคม ๒๕๕๓. นา แอฤทธ์ิ. คนในชุมชนบา้ นอาฮาม. สัมภาษณ์, ๒๘ ตุลาคม ๒๕๕๓. ศรีจม ไชยชนะ. ผผู้ ลิตขา้ วหลามบา้ นอาฮาม. สัมภาษณ์, ๒๘ ตุลาคม ๒๕๕๓. สิทธ์ิ แปงใจ นกั วชิ าการส่งเสริมการเกษตรอาเภอทา่ วงั ผา. สมั ภาษณ์, ๒๘ ตุลาคม ๒๕๕๓. อาพนั เทพกนั . ผรู้ ับจา้ งจาหน่ายขา้ วหลามบา้ นอาฮาม. สัมภาษณ์ ๒๘ ตุลาคม ๒๕๕๓. มงคล หมู่ธรรมชยั . ผรู้ ับจา้ งจาหน่ายขา้ วหลามบา้ นอาฮาม. สมั ภาษณ์, ๒๙ ตุลาคม ๒๕๕๓. สาย เสาวงค.์ ผรู้ ับจา้ งจาหน่ายขา้ วหลามบา้ นอาฮาม. สมั ภาษณ์ ๒๙ ตุลาคม ๒๕๕๓. ประเสริฐ แกว้ อินงั . นกั วชิ าการส่งเสริมการเกษตร ศูนยส์ ่งเสริมและพฒั นาอาชีพการเกษตรจงั หวดั น่าน(พืชสวน). สมั ภาษณ์, ๒ พฤศจิกายน ๒๕๕๓. นิตยา ดีกนั คา. ผตู้ ดั ไมข้ า้ วหลามจาหน่าย. สมั ภาษณ์, ๓ พฤศจิกายน ๒๕๕๓. บวั จิณะไชย. คนในชุมชนบา้ นอาฮาม. สมั ภาษณ์, ๓ พฤศจิกายน ๒๕๕๓. สวา่ ง ทาฝ้ัน. ผตู้ ดั ไมข้ า้ วหลามจาหน่าย. สัมภาษณ์, ๓ พฤศจิกายน ๒๕๕๓. เป็ง ยศหลา้ . คนในชุมชนบา้ นอาฮาม. สมั ภาษณ์, ๕ พฤศจิกายน ๒๕๕๓. พิณ มหานิล. ผผู้ ลิตขา้ วหลามบา้ นอาฮาม. สมั ภาษณ์, ๕ พฤศจิกายน ๒๕๕๓. ลาไย สุทธนอ้ ย. คนในชุมชนบา้ นอาฮาม. สมั ภาษณ์, ๕ พฤศจิกายน ๒๕๕๓. สม ยศหลา้ . คนในชุมชนบา้ นอาฮาม. สัมภาษณ์, ๕ พฤศจิกายน ๒๕๕๓. สมจั เมฆแสน. พอ่ คา้ ฟื นบา้ นน้าฮาว. สมั ภาษณ์, ๕ พฤศจิกายน ๒๕๕๓. พรชยั อินเป็ง. สามีผผู้ ลิตขา้ วหลามบา้ นอาฮาม. สัมภาษณ์, ๑๖ ธนั วาคม ๒๕๕๓.
๑๘๔ เวทย์ เตชนนั ท.์ ผจู้ าหน่ายมะพร้าว. สัมภาษณ์, ๑๖ ธนั วาคม ๒๕๕๓. แหวน เตชนนั ท.์ ผจู้ าหน่ายมะพร้าว. สัมภาษณ์, ๑๖ ธนั วาคม ๒๕๕๓.
ภาคผนวก ก คาํ ศพั ทภ์ าษาพ้นื เมืองที่เกี่ยวขอ้ งกบั งานวจิ ยั การจดั การเศรษฐกิจชุมชนขา้ วหลามบา้ นอาฮาม ตาํ บลทา่ วงั ผา อาํ เภอทา่ วงั ผา จงั หวดั น่าน คำศัพท์ คำอธิบำย หมำยเหตุ กาดเชา้ ตลาดเชา้ มกั จะจาํ หน่ายของส่ง เนื่องจากตลาดเชา้ เป็ นตลาดท่ีมีการนาํ กาดแลง สินคา้ จาํ นวนมากมาจาํ หน่าย และจะมีผรู้ ับซ้ือจากหมูบ่ า้ นต่างๆนาํ สินคา้ ท่ีซ้ือส่งไปจาํ หน่ายในหมบู่ า้ น หรือชุมชนของตนเองตอ่ ไป ตลาดเชา้ ถือ กินขา้ วต้งั เป็นตลาดในแบบด้งั เดิมของคนเมืองน่าน เพราะในอดีตเมืองน่านไมม่ ี ตลาดในช่วงเยน็ แต่อยา่ งใด ก๋วย ตลาดเยน็ จะเป็ นการจาํ หน่ายสินคา้ ปลีก มีราคาของสินคา้ สูงกวา่ กาดเชา้ กอ้ ม (ตลาดเชา้ ) เป็นตลาดในสมยั ใหม่ท่ีตอบรับความตอ้ งการของคนทาํ งาน ขา้ วงาย ในปัจจุบนั ขา้ วบา่ ยเกลือ การท่ีคนตา่ งชุมชนหรือตา่ งหมู่บา้ นไดไ้ ปรับประทานอาหารท่ีคนอีก ชุมชนหรืออีกหมู่บา้ นหน่ึงเล้ียงตามงานเทศกาล งานบุญ งานมงคล รวม ขา้ วหนึก/ ไปถึงงานอวมงคลต่างๆ กถ็ ือวา่ เป็นการกินขา้ วต้งั เช่นกนั แดกงา ภาชนะใส่สิ่งของเอนกประสงคท์ ่ีทาํ จากไมไ้ ผส่ าน มีขนาดเล็ก ใหญ่ ตามความเหมาะสมในการใชง้ าน ทอ่ น ในที่น้ีคือวธิ ีการตดั ไมข้ า้ วหลาม ท่ีจะตอ้ งตดั เป็ นกอ้ ม(ท่อน)ก่อน จะนาํ ไปกรอกขา้ วและเผาเป็ นขา้ วหลาม อาหารเชา้ อาหารชนิดหน่ึงของคนเมืองน่านในอดีต เป็นการนาํ ขา้ วเหนียวน่ึง ร้อนๆ มาแผอ่ อกและนาํ เอาเกลือมาทาบางๆ ต่อมากป็ ้ันขา้ วเหนียวให้ เป็นป้ัน รับประทานไดท้ นั ที ขา้ วบ่ายเกลือจะมีรสชาติเคม็ ๆ หวานๆ และหอมขา้ วเหนียวท่ีน่ึงร้อนๆ อาหารชนิดหน่ึงของคนเมืองน่าน มีใหร้ ับประทานเฉพาะช่วงฤดูหนาว (เป็นช่วงท่ีงาใหผ้ ลผลิต) เป็นการนาํ เอางามอ้ นหรืองาข้ีมอ้ นมาตาํ ให้ ละเอียดและใส่เกลือลงไปเล็กนอ้ ย นาํ ขา้ วเหนียวที่น่ึงร้อนๆไปคลุกกบั งาท่ีตาํ เสร็จ รับประทานไดท้ นั ที
คำศัพท์ คำอธิบำย หมำยเหตุ ขา้ วหลามยาว ขา้ วหลามแบบด้งั เดิมของคนเมืองน่าน เป็นท่ีมาของสาํ นวนลอ้ เลียน ขา้ วหลามส้นั “เมืองน่านขา้ วหลามแจง้ ” วธิ ีการจาํ หน่ายจะตดั ขา้ วหลามยาวออกเป็ น กอ้ ม(ทอ่ น) แลว้ จาํ หน่ายในราคาต่างๆตามตอ้ งการ ขา้ วหลามยาวเนน้ ขา้ วเก่า จาํ หน่ายใหก้ บั ผบู้ ริโภคที่เป็ นคนในทอ้ งถิ่นในกาดเชา้ เท่าน้นั ขา้ วใหม่ ขา้ วหลามในแบบสมยั ใหมข่ องเมืองน่าน มีจาํ หน่ายริมถนน เป็นการ งามอ้ น/งา ปรับปรุง เปลี่ยนแปลงมาจากขา้ วหลามยาว เพ่อื ตอบสนองความ ข้ีมอ้ น ตอ้ งการของคนในปัจจุบนั ท่ีเดินทางผา่ นไป-มาบนถนนสายน่าน-ทุ่งชา้ ง จกั ตอก ขา้ วเปลือกหรือขา้ วสารเหนียวที่เหลือคา้ งปี จนกระทง่ั มีการเก่ียวขา้ วนา ปี คร้ังใหมแ่ ลว้ เสร็จ ดงก๋าํ เป็นขา้ วที่ไดจ้ ากการเกบ็ เก่ียวขา้ วนาปี ในปี น้นั ๆ คนเมืองน่านเช่ือวา่ เขา้ ติดเต้ีย ใหม่มีรสชาติ ความหอม ดีกวา่ ขา้ วเก่าหรือขา้ วคา้ งปี เต้ีย งาพ้นื เมืองของคนเมืองน่าน ปัจจุบนั นาํ มาประยกุ ตใ์ ชเ้ ป็นส่วนประกอบ ถงั ของขา้ วหลามเพ่ือเพิ่มรสชาติและความหอมของขา้ วหลาม ทะนาน การนาํ เอาไมข้ า้ วหลาม(ไมใ้ หม)่ มาจกั ออกเป็นแผน่ บางๆ นาํ ไปแช่ใน นาน้าํ ฟ้ า น้าํ ซาวขา้ ว ต่อจากน้นั นาํ ไปตากแดดจนแหง้ ต่อมาจึงนาํ มาแยกออกเป็น น้าํ ฟ้ า เส้นเลก็ เพื่อที่จะสามารถนาํ มาถกั เป็นเส้น และนาํ ไปเยบ็ เป็ นหมวกเพ่อื ใชใ้ นชีวติ ประจาํ วนั ของคนเมืองน่านต่อไป สถานที่ศกั ด์ิสิทธ์ิของชาวบา้ นอาฮาม เป็นท่ีอยขู่ องผอี ารักษบ์ า้ น จะมี การเล้ียงผเี ป็นประจาํ ทุกปี ในช่วงป๋ี ใหม่เมือง ลกั ษณะของขา้ วหลามที่มีเยอ่ื ของไผข่ า้ วหลามติดมากบั ตวั ขา้ วหลาม ทาํ ใหข้ า้ วหลามมีรสชาติดี เยอ่ื ในที่น่ีหมายถึงเยอ่ื ของไผข่ า้ วหลาม ในท่ีน้ีคือมาตราตวงขา้ วสารเหนียวของคนเมืองน่าน โดยขา้ วสารเหนียว ๑ ถงั จะเทา่ กบั ในท่ีน้ีคือมาตราตวงขา้ วสารเหนียวของคนเมืองน่าน โดยขา้ วสารเหนียว ๑ ทะนานจะเทา่ กบั นาท่ีใชน้ ้าํ ฝนในการเพาะปลูก โดยไม่ไดม้ ีการใชร้ ะบบชลประทานเขา้ มาช่วยในการเพาะปลูกแตอ่ ยา่ งใด น้าํ ฝน
คำศัพท์ คำอธิบำย หมำยเหตุ บ้งั กระบอก (ใชเ้ รียกการตดั ไมไ้ ผช่ นิดตา่ งๆออกเป็ นกระบอก) ปั๊บสา การจารบนั ทึกลงบนใบลานหรือกระดาษสาของคนลา้ นนาในอดีต พร้า มีดขนาดใหญ่ มีความคม มีดา้ มจบั เป็นไมเ้ น้ือแขง็ เหลาหรือเหลก็ เป็น มะพร้าวสุ้ม ตน้ เคร่ืองไทยทานชนิดหน่ึงของคนเมืองน่าน จะนาํ เอามะพร้าวที่ไมแ่ ก่ไม่ ไมข้ า้ วหลาม อ่อนมาปอกเอาเปลือกออกคร่ึงหน่ึง เหลือเปลือกท่ีสามารถนาํ ไมม้ าปัก ได้ ต่อมาจะมีการผา่ ไมไ้ ผเ่ ป็ นซีกเลก็ ๆ และเหลาไมไ้ ผใ่ หเ้ ยอ่ื ใผม่ าติดอยู่ ไมม้ อก ท่ีปลายอีกขา้ งหน่ึงเป็นกอ้ นๆ ปลายอีกดา้ นหน่ึงเหลาให้แหลมเพื่อ นาํ ไปปักกบั มะพร้าวที่ไดป้ อกเปลือกแขง็ ออก ไมไ้ ผท่ ี่ไดจ้ ะนาํ มามดั ติด ไมอ้ อ่ น กบั ขา้ วสาร อาหารแหง้ เพ่ือเป็นเครื่องถวายทานต่อไป ไมแ้ ก่ ไผช่ นิดหน่ึงท่ีนาํ มาใชผ้ ลิตขา้ วหลามเมืองน่านโดยเฉพาะ และยงั ไมใ้ หม่ สามารถนาํ มาจกั สานเป็นเคร่ืองใชใ้ นชีวติ ประจาํ วนั ของคนเมืองน่านได้ เป็นอยา่ งดี รถสองแถว ไมว้ ดั ขนาดความยาวของกระบอกขา้ วหลามของผผู้ ลิตขา้ วหลามบา้ นอา เล่าขวญั ฮาม โดยผผู้ ลิตแตล่ ะรายจะมีไมม้ อกเพอ่ื ใชว้ ดั ความยาวของกระบอก สลุง ขา้ วหลามเพ่อื สามารถตดั กระบอกขา้ วหลามใหย้ าวเทา่ กนั สูมาคารวะ ไผใ่ นฤดูฝนที่เพ่งิ แทงยอดข้ึนจากหน่อ ไมไ้ ผใ่ นฤดูร้อนท่ีมีความแขง็ มีอายปุ ระมาณ ๑ ปี ข้ึนไป ในท่ีน้ีหมายถึงไมข้ า้ วหลามในช่วงปลายฝนตน้ หนาว ที่มีความ พอเหมาะแก่การนาํ มาผลิตขา้ วหลาม เน่ืองจากความอ่อนนุ่มของเน้ือไม้ เยอ่ื ของไม้ และกลิ่นของไมม้ ีความพอดีท่ีจะนาํ มาผลิตขา้ วหลาม รถรับจา้ งประจาํ ทางของคนเมืองน่านต้งั แต่อดีต-ปัจจุบนั รถมีสีฟ้ า ใหบ้ ริการจากน่าน-ปัว การนินทา ถือเป็นการจดั การทางสงั คมอยา่ งหน่ึงของคนในชนบท ขนั (ใชส้ าํ หรับใส่ดอกไม้ ธูป เทียน เพ่ือไปวดั ) การขอขมาผสู้ ูงอายใุ นวนั ปี ใหมเ่ มืองของคนเมืองน่าน
คำศัพท์ คำอธิบำย หมำยเหตุ หลวั เฮียเถี่ยง ฟื น เรือแขง่ ของคนเมืองน่าน
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201