Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือนักเรียนโรงเรียนนิคมวิทยา พ.ศ.2565

คู่มือนักเรียนโรงเรียนนิคมวิทยา พ.ศ.2565

Published by preechapon24, 2022-05-17 11:50:26

Description: คู่มือนักเรียนโรงเรียนนิคมวิทยา พ.ศ.2565

Search

Read the Text Version

สารจาก ประธานคณะกรรมการสถานศกึ ษาข้นั พืน้ ฐาน ยินดตี ้อนรบั นักเรียนใหม่ทุกคนสู่ครอบครัวนิคมวิทยา และนักเรียนชน้ั ปอี ่ืนๆ กลบั สูร่ ว้ั ฟา้ เขียวของ เราอีกครงั้ ในวันเปิดภาคเรยี น นักเรียน ม.1 และ ม.4 หลายคนน่าจะรูส้ ึกต่ืนเต้นท่ีพบสิ่งแวดลอ้ มใหม่ ไดเ้ จอเพอ่ื นใหม่ และได้ เรียนรู้ส่ิงใหม่ๆ  ครูและบุคลากรโรงเรียนนิคมวิทยาก็ต่ืนเต้นเช่นกัน  โรงเรียนมีการปรับเปลี่ยนหลายๆ อย่างให้เข้ากับชวี ิตวถิ ใี หม่ (new normal) แต่ยังคงคุณภาพและมาตรฐานในการจัดการเรียนการสอน ปีการศึกษาท่ีผ่านมา  โควิด-19  ทำ�ให้การสอนต้องปรับเปล่ียนรูปแบบไปบ้าง  ส่งผลให้นักเรียนและ ผูป้ กครองรู้สึกกังวลกบั การเรียน โรงเรยี นจึงไดเ้ ตรยี มพร้อมเรื่องน้ีเป็นอยา่ งดี มกี ารวางแผนจดั การเรยี น การสอนในช้ันเรยี น แบบผสมผสาน และรูปแบบออนไลน์ รวมถงึ การเรยี นรอู้ ื่นๆ ทไ่ี ม่ถูกจ�ำ กดั อยู่ในห้อง สี่เหล่ียมอีกแลว้ รวมถงึ การเตรยี มความพรอ้ มเรอ่ื งความปลอดภยั ด้านสุขอนามยั และสถานที่ ขอให้พ่อแม่ ผปู้ กครองของนักเรยี นใหมแ่ ละนกั เรยี นเกา่ วางใจได้ ตลอดเวลาท่นี กั เรยี นอยใู่ นโรงเรยี นนคิ มวิทยา อยากเห็นนกั เรียนทกุ คนได้รับประสบการณ์ที่ดีและมี ความสุขกับการเรียนรใู้ นบ้านหลงั นี้ ขอเปน็ ก�ำ ลงั ใจให้ทุกคนส�ำ เรจ็ ในการเล่าเรียนตามทีไ่ ด้ตั้งใจไว้ (นายเดชาธร รูปเลขา) ประธานคณะกรรมการสถานศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน 2  คู่มือนกั เรียนโรงเรยี นนคิ มวทิ ยา

สารจาก นายกสมาคมศิษยเ์ กา่ ครู ผ้ปู กครอง ในชว่ งเวลาหลายปที ีผ่ ่านมากระแสคำ�ว่า “การศกึ ษา” มีบทบาทมากขนึ้ ในสังคม เพราะการศึกษา คอื การพฒั นาคนใหส้ มบรู ณท์ ง้ั รา่ งกาย จติ ใจ สตปิ ญั ญา “โดยใชค้ ณุ ธรรม จรยิ ธรรม พทุ ธธรรม” น�ำ ความรู้ สงั คมไทยจะดไี ปไมไ่ ด้ถ้าคนไทย มีความรแู้ ต่ขาดคณุ ธรรม จริยธรรม และพุทธธรรม ศตวรรษที่ 21 สถานการณ์โลกเปลย่ี นแปลงไป ระบบการศกึ ษาต้องมีการพฒั นาให้สอดคล้องกบั โลก สมัยใหมเ่ ชน่ กนั ไม่วา่ “การอ่าน การเขียน การคิดวิเคราะห์ การสอื่ สาร การร่วมมือ ความคดิ สร้างสรรค์ รวมถงึ ทักษะชวี ิตและอาชพี โดยใช้สารสนเทศและเทคโนโลยีในการบริหารจดั การศกึ ษาแบบใหม่” น่คี ือ การเรยี นรู้ รูปแบบใหม่ของโลกใบน้ี ในนามของสมาคมศิษย์เกา่ ครู ผู้ปกครอง โรงเรียนนิคมวิทยา ทา่ นผูป้ กครองและนักเรียนที่เคารพ ผมขอแสดงความยินดแี ละตอ้ นรบั ทุกทา่ นเข้าส่รู ั้วโรงเรียนนิคมวทิ ยา ดว้ ยความยนิ ดียิง่ และหวงั ว่าพวก เราจะร่วมสร้างโรงเรียนนิคมวทิ ยาแห่งน้ีใหก้ ้าวหนา้ ทง้ั ด้านความรูแ้ ละความดียง่ิ ๆ ขึน้ ไป สุดทา้ ยนี้ สมาคมศษิ ย์เกา่ ครู ผู้ปกครอง ขออำ�นาจคุณพระศรรี ัตนตรยั และสิง่ ศักดิ์ท้งั หลายดล บันดาลให้ ผปู้ กครอง นักเรียน คณะครู จงมีความสุข ความเจรญิ ตลอดไป ขอแสดงความนบั ถอื (ดร.วชิ ยั ล�้ำ สุทธ)ิ นายกสมาคมศิษย์เก่า ครู ผู้ปกครอง โรงเรียนนคิ มวทิ ยา Nikhomwittaya School 3

สารจาก ผู้อ�ำ นวยการโรงเรียน “การสรา้ งผู้เรยี นใหเ้ ป็นคนท่ีสมบรู ณ์ ถือเป็นภารกจิ และหนา้ ทหี่ ลกั ของผูบ้ รหิ าร ครู และบคุ ลากรทกุ คนของโรงเรยี น นคิ มวิทยา ทตี่ อ้ งการสรา้ งผูเ้ รยี นให้มีความรู้ ทกั ษะ เจตคติที่ดตี ่อชาตบิ า้ นเมอื ง อนั จะส่งผลตอ่ ความเจรญิ เตบิ โตของประเทศ ชาติ เกิดสังคมท่สี งบสขุ ชุมชนทนี่ า่ อยู่ ประชาชนในประเทศมคี วามสามคั คี ปรองดองกันตลอดไป” กระผม  นายปิยบตุ ร  เอมโอฐ  ผอู้ ำ�นวยการโรงเรยี นนิคมวิทยา มาปฏิบตั หิ นา้ ทีต่ งั้ แตว่ ันที่ 6 กรกฎาคม 2564 การจัดการสอนตลอดปีการศึกษา 2564 โรงเรยี นนคิ มวทิ ยาจัดการเรยี นการสอนรูปแบบ Online และ On hand เน่อื งดว้ ย สถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เช้อื ไวรัสโคโรนา 2019 (Covid-19) ท่หี นักหน่วง เป็นเหตใุ ห้ยังไมเ่ คยได้พบปะกันมาก นกั ในปกี ารศกึ ษา 2565 น้ี เปน็ ทน่ี า่ ยนิ ดอี ยา่ งยง่ิ ทเ่ี ราจะไดก้ ลบั มาจดั การเรยี นการสอนแบบปกติ On site ทโ่ี รงเรยี นนคิ มวทิ ยา ของเรา  และกระผมต้องขอแสดงความยินดีและต้อนรับด้วยความอบอุ่นกับผู้ปกครองและนักเรียนท้ังนักเรียนระดับชั้น มัธยมศกึ ษาปีที่ 1 และ 4 ท่เี ข้ามาเป็นสมาชกิ ใหมใ่ นบ้าน น.ว. และขอต้อนรับกลับบา้ นหลังนีด้ ้วยความรักและคิดถึงสำ�หรับ นักเรยี นระดบั ช้นั มัธยมศกึ ษาปีที่ 2, 3, 5 และ 6 ทุกคน โรงเรยี นได้เตรียมความพรอ้ มทกุ มิตใิ นการเปดิ ภาคเรยี นที่ 1/2565 เปิด เรยี น On site ปลอดภยั อยูไ่ ดก้ ับ Covid-19 ในสถานศกึ ษา โดยมีการด�ำ เนนิ การตามแนวทางของกรมอนามยั และกระทรวง ศกึ ษาธิการดังน้ี 1. แนวทางการเฝ้าระวังในการเตรยี มความพรอ้ มสำ�หรบั การเปดิ เรียน On site ด้วยหลักการ “ตดั ความเส่ียง สร้าง ภูมิคุ้มกัน” ดว้ ยหลัก 3T1V 2. มาตรการสร้างความปลอดภัย ป้องกัน Covid-19 ในสถานศกึ ษา ได้แก่ 6 มาตรการหลกั (DMHT-RC) 6 มาตรการ เสริม (SSET-CQ) และ 7 มาตรการเขม้ 3. มาตรการเปดิ เรยี น On site ปลอดภัย อย่ไู ดก้ ับ Covid-19 ในสถานศกึ ษารองรบั การเปิดเรียนภาคเรยี นที่ 1/2565 สำ�หรับสถานศึกษาไป-กลบั โรงเรยี นนิคมวิทยามุ่งเนน้ การจัดการศึกษาใหผ้ ู้เรียนมคี ุณภาพและคณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์ ตามมาตรฐานการศกึ ษา ของชาติ และบริบทโรงเรยี นนำ�รอ่ งพนื้ ทนี่ วตั กรรมทางการศกึ ษา และพื้นท่เี ขตเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก ภายใตว้ ิสยั ทัศน์ ของโรงเรยี น “พัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษา กา้ วหนา้ ทางเทคโนโลยี น�ำ ร่องพื้นท่นี วตั กรรมทางการศกึ ษา ตามหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง” ขอขอบคุณ คณะครแู ละบุคลากรทางการศึกษา คณะกรรมการสถานศึกษา สมาคมศิษย์เก่าฯ ผปู้ กครอง ชมุ ชน ผมู้ ี สว่ นเก่ยี วขอ้ ง ทีม่ ีสัมพนั ธภาพทดี่ ีตอ่ กนั ในการประสานความรว่ มมือและส่งเสรมิ สนบั สนุนใหโ้ รงเรยี นนิคมวิทยา จัดการศึกษา ไดอ้ ย่างมคี ณุ ภาพ สง่ ผลให้โรงเรยี นได้รับการประกนั คุณภาพภายนอก (พ.ศ.2563-2567) ระดบั การศึกษาข้นั พ้ืนฐาน จาก สำ�นกั งานรบั รองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศกึ ษา (องคก์ ารมหาชน) หวังเป็นอยา่ งยงิ่ ว่าจะไดร้ ับความร่วมมือและการ สนบั สนุนจากทุกภาคสว่ นเชน่ น้ีตลอดไป นายปิยบุตร เอมโอฐ (ผู้อ�ำ นวยการโรงเรียนนิคมวิทยา) 4  คมู่ อื นกั เรยี นโรงเรยี นนคิ มวิทยา

ค�ำ นำ� คมู่ อื นกั เรยี น ผปู้ กครองและครโู รงเรยี นนคิ มวทิ ยา จดั ท�ำ ขน้ึ เพอ่ื เปน็ แนวทางใหน้ กั เรยี น ผปู้ กครอง และครโู รงเรยี นนคิ มวทิ ยา  องคก์ รตา่ งๆ ทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั การบรหิ ารโรงเรยี น ไดศ้ กึ ษาและถอื เปน็ แนวทาง ในการปฏบิ ตั ใิ หถ้ กู ตอ้ งตามระเบยี บของโรงเรยี น  และเปน็ เอกสารส�ำ หรบั ผปู้ กครองไดศ้ กึ ษาถงึ แนวปฏบิ ตั ิ กฎระเบยี บตา่ งๆ รวมถงึ สวสั ดกิ ารตา่ งๆ ทน่ี กั เรยี นและผปู้ กครองควรจะรบั รู้ เพอ่ื ใหน้ กั เรยี นสามารถส�ำ เรจ็ การศกึ ษาไดอ้ ยา่ งทม่ี งุ่ หวงั ไว้ ขอขอบคณุ ผทู้ เ่ี กย่ี วขอ้ งกบั การจดั ท�ำ คมู่ อื ฉบบั นท้ี กุ ทา่ นทไ่ี ดร้ ว่ มใหข้ อ้ มลู ในการจดั ท�ำ จนส�ำ เรจ็ เปน็ รปู เลม่ ทส่ี มบรู ณไ์ ด้ และขอขอบคณุ ทา่ นผปู้ กครอง คณะครทู กุ ทา่ นทจ่ี ะรว่ มกนั ใหก้ ารแนะน�ำ อบรม สง่ั สอนลกู ศษิ ยข์ องเราใหเ้ ปน็ คนดี คนเกง่ อยใู่ นสงั คมไดอ้ ยา่ งมคี วามสขุ ประสบผลส�ำ เรจ็ ในสง่ิ ทม่ี งุ่ หวงั และเปน็ ก�ำ ลงั ส�ำ คญั ในการพฒั นาประเทศชาตสิ บื ไป คณะผจู้ ดั ท�ำ Nikhomwittaya School 5

Content / สารบัญ 2 3 สารจากประธานคณะกรรมการสถานศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน 4 สารจากนายกสมาคมศิษยเ์ ก่า ครู ผู้ปกครอง 5 สารจากผูอ้ ำ�นวยการโรงเรียน คำ�นำ� 8 8 ตอนท ี่ 1 ขอ้ มลู จำ�เพาะของโรงเรียน 8 - ทอ่ี ยู่ 8 - ผูบ้ ริหาร 8 - เอกลกั ษณ์โรงเรยี น 8 - อตั ลักษณ์โรงเรยี น 8 - ตราสญั ลกั ษณข์ องโรงเรยี น 9 - วิสยั ทัศน์ 9 - พันธกจิ 9 - เปา้ ประสงค ์ 9 - คำ�ขวัญและคติพจน์ของโรงเรยี น 9 - ปรัชญาและคตธิ รรมของโรงเรียน 9 - สปี ระจำ�โรงเรยี น 10 - ตน้ ไมป้ ระจำ�โรงเรียน 12 - ดอกไม้ประจำ�โรงเรยี น 13 - ประวตั ิโรงเรียนนคิ มวิทยา 14 - เกยี รตปิ ระวตั ิโรงเรยี นนคิ มวทิ ยา 15 - แผนภมู ิการบริหารโรงเรียนนิคมวิทยา ปกี ารศกึ ษา 2565 - ท�ำ เนยี บผู้บรหิ ารโรงเรยี นนคิ มวิทยา 16 - คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพ้ืนฐานโรงเรยี นนคิ มวทิ ยา 17 18 ตอนท ่ี 2 ข้อมลู บุคลากร 19 - คณะกรรมการบริหารโรงเรียน 20 - บคุ ลากรกลมุ่ สาระการเรยี นรภู้ าษาไทย 21 - บคุ ลากรกลมุ่ สาระการเรียนรคู้ ณิตศาสตร ์ 22 - บคุ ลากรกลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 23 - บคุ ลากรกลมุ่ สาระการเรียนรู้สังคมศกึ ษาศาสนาและวฒั นธรรม 24 - บคุ ลากรกลมุ่ สาระการเรยี นรสู้ ุขศกึ ษาและพลศึกษา 25 - บุคลากรกลมุ่ สาระการเรียนรศู้ ิลปะ 26 - บุคลากรกลมุ่ สาระการเรียนรู้การงานอาชีพ - บุคลากรกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ - บุคลากรกจิ กรรมพัฒนาผู้เรยี น - ธุรการ นกั การภารโรง 6  คมู่ ือนกั เรียนโรงเรยี นนิคมวิทยา

Content / สารบญั ตอนที่ 3 การวัดผลประเมินผลตามหลักสตู รสถานศกึ ษา 27 - การประเมนิ ผลการเรียนในด้านต่างๆ 28 - การตดั สนิ ผลการเรียนผ่านช่วงชั้น 28 - การประเมนิ ผลการเรยี นทีม่ เี งอ่ื นไขในแต่ละรายวิชา 29 - การตดั สินผลการเรยี น 29 - การเปล่ยี นผลการเรยี น 30 - การเรียนซ�้ำ รายวชิ า 31 - การเลื่อนชนั้ 31 - การสอนซ่อมเสริม 31 - การเรยี นซำ�้ ชนั้ 32 - เกณฑก์ ารตัดสินผลการเรียนผา่ นช่วงชนั้ และจบหลกั สูตรสถานศกึ ษา 32 - เอกสารหลักฐานการศกึ ษา 34 - หลักสตู รและแผนการเรยี น โรงเรยี นนิคมวทิ ยา ตอนที่ 4 การบรกิ ารของโรงเรยี น 35 - แผนผังบริเวณโรงเรยี น 35 - ระเบยี บการใชอ้ าคารสถานที่ 36 - ระเบียบการใช้หอ้ งพยาบาล 37 - งานประกนั อบุ ตั ิเหตใุ นโรงเรียน 38 - ระเบียบการใชห้ อ้ งสมุดและห้องสืบค้น 40 - ทนุ การศกึ ษา 41 - ธนาคารโรงเรียน 42 - ร้านคา้ สวสั ดกิ าร 42 - การซื้ออุปกรณ์การเรยี นและชดุ พลศึกษา ตอนที่ 5 แนวปฏิบตั ดิ า้ นกิจการนักเรยี น 43 - ระเบยี บโรงเรียนนคิ มวิทยา ว่าด้วยแนวปฏบิ ัติดา้ นกิจการนักเรียน 44 - การแตง่ กาย 47 - แบบปักเสอ้ื นักเรียน 48 - ทรงผม 49 - การปฏบิ ตั ิตนของนกั เรียน 51 - การตัดคะแนนความประพฤต ิ 53 - ตวั อย่างการเขียนใบลาครขู องนักเรยี น 54 - เกณฑก์ ารตดั คะแนนความประพฤต ิ 55 - เกณฑก์ ารเพ่ิมคะแนนความประพฤติ 56 - แผนผังบรเิ วณโรงเรยี น 57 - เพลงมารช์ นว. Nikhomwittaya School 7

ตอนท่ี 1 ข้อมูลจำ�เพาะของโรงเรยี น ที่อย ู่ 185 หมู่ 2 ต.นิคมพฒั นา อ.นิคมพัฒนา จ.ระยอง 21180 โทรศพั ท์ 038-636110 โทรสาร 038-636210 เวบ็ ไซต์ http://www.nikhomwit.ac.th ผบู้ รหิ าร นายปิยบตุ ร เอมโอฐ เอกลักษณ์โรงเรยี น : โรงเรียนสงิ่ แวดลอ้ ม อตั ลกั ษณ์โรงเรยี น : นกั เรยี นเปน็ นกั อนรุ ักษ์ส่ิงแวดลอ้ ม ตราสญั ลกั ษณ์ของโรงเรียน ประกอบด้วย คบเพลงิ โล่และคน คบเพลิง หมายถงึ สติปัญญา โลแ่ ละคน 9 คน หมายถงึ ความสามคั คี มนี �ำ้ ใจ อนั น�ำ ไปสคู่ วามเจรญิ กา้ วหนา้ วิสัยทศั น์ พฒั นาคณุ ภาพการศึกษา ก้าวหน้าทางเทคโนโลยี นำ�รอ่ งพ้นื ท่นี วัตกรรมทางการศึกษา ตามหลกั ปรชั ญาของ เศรษฐกจิ พอเพียง พนั ธกิจ 1. พฒั นาหลักสูตรฐานสมรรถนะและน�ำ ส่กู ารปฏิบตั ิอย่างเต็มรูปแบบ 2. จดั กจิ กรรมส่งเสริมใหผ้ ู้เรยี นมีความรู้ ทกั ษะ สมรรถนะของผเู้ รียนในศตวรรษที่ 21 และสอดคล้องกับบริบท พืน้ ท่นี วตั กรรมทางการศึกษาจังหวดั ระยอง 3. จดั กิจกรรมสง่ เสรมิ ให้นกั เรยี นมคี ณุ ธรรม จริยธรรมและคา่ นยิ มทพี่ งึ ประสงค์ ด�ำ เนินชีวติ ตามแนวทางปรชั ญา ของเศรษฐกิจพอเพยี ง 4. จดั กิจกรรมสง่ เสรมิ และพฒั นาสมรรถนะทางด้านเทคโนโลยีดิจทิ ัลเพ่อื การเรียนการสอนและการปฏบิ ัตงิ านให้ กับครูและบุคลากรทางการศกึ ษา 5. สนับสนนุ ส่งเสรมิ การผลติ ส่อื นวัตกรรมทางการศึกษา 6. จดั กจิ กรรมส่งเสริมและพฒั นาครแู ละบุคลากรให้มคี วามรู้ เจตคติ และทักษะในการปฏิบัตงิ านอย่างต่อเนือ่ ง 7. จัดสภาพแวดล้อมภายในโรงเรียนใหม้ ีความปลอดภยั และเป็นแหลง่ เรยี นรู้ส�ำ หรับนักเรียน 8. พฒั นาระบบบรหิ ารจดั การสถานศกึ ษาดว้ ยระบบคณุ ภาพและสง่ เสรมิ ใหม้ กี ารใชเ้ ทคโนโลยดี จิ ทิ ลั ในการปฏบิ ตั งิ าน 8  คมู่ อื นกั เรียนโรงเรยี นนคิ มวทิ ยา

เปา้ ประสงค์ 1. โรงเรียนพัฒนาหลกั สูตรฐานสมรรถนะท่มี คี ณุ ภาพและน�ำ สกู่ ารปฏิบัตอิ ยา่ งเต็มรปู แบบ 2. นกั เรยี นมคี วามรู้ ทกั ษะ และสมรรถนะของผเู้ รยี นในศตวรรษที่ 21 และสอดคล้องกบั บรบิ ทพ้นื ทน่ี วัตกรรม ทางการศกึ ษาจังหวดั ระยอง 3. นกั เรยี นมีคุณธรรม จรยิ ธรรม และค่านยิ มทพี่ งึ ประสงค์ ด�ำ เนินชีวิตตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง 4. ครูและบุคลากรทางการมที ักษะและความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยีดิจทิ ลั ในการเรยี นการสอนและการ ปฏบิ ตั งิ าน 5. ครูผลติ และพฒั นาสอ่ื นวัตกรรมสำ�หรับใช้ในการจดั กิจกรรมการเรยี นการสอน 6. ครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษาได้รับการพัฒนาความรู้ เจตคติและทักษะปฏิบัตอิ ยา่ งต่อเนื่อง 7. โรงเรียนมีระบบบริหารการจัดการความปลอดภยั ทมี่ ีคุณภาพโดยการมสี ่วนรว่ มของทกุ ภาคสว่ น 8. โรงเรียนจัดสภาพแวดลอ้ ม อาคาร สถานท่ี ใหม้ ีความร่มร่ืน สวยงาม และเอื้อต่อการเรียนรู้ 9. โรงเรียนมีระบบบรหิ ารจดั การทม่ี ีคณุ ภาพและน�ำ เทคโนโลยดี จิ ิทัลมาใช้ในการปฏบิ ตั ิงาน 10. โรงเรยี นมีเครอื ขา่ ยรว่ มพัฒนาคุณภาพการศึกษา ค�ำ ขวญั และคตพิ จนป์ ระจ�ำ โรงเรียน ปัญญา สามคั คี มนี ำ�้ ใจ ปรัชญาและคตธิ รรมประจำ�โรงเรยี น ปญญฺ า โลกสมฺ ิ ํ ปชโฺ ชโต ปญั ญาคอื แสงสว่างแห่งโลก สีประจำ�โรงเรียน สฟี ้า หมายถึง ความสงบสุข สดใส สีเขียว หมายถงึ สง่ิ แวดลอ้ มที่รม่ ร่นื ตน้ ไม้ประจ�ำ โรงเรียน : ต้นสพุ รรณิการ์ ดอกไมป้ ระจ�ำ โรงเรยี น : ดอกสพุ รรณิการ์ (ฝา้ ยค�ำ ) Nikhomwittaya School 9

ประวัติโรงเรยี นนคิ มวทิ ยา โรงเรียนนคิ มวทิ ยา ได้กำ�เนิดขึน้ โดยการริเรม่ิ ของ กำ�นนั เชาว์ ชมุ เกษยี ร ก�ำ นนั ต�ำ บลพนานคิ ม ท่ีต้องการให้มีโรงเรียนระดับมัธยมศึกษาขึ้นในพื้นท่ีของตำ�บลมาบข่าและตำ�บลพนานิคม  แต่เมื่อมีการ ส�ำ รวจพืน้ ทแ่ี ลว้ พน้ื ทที่ เี่ หมาะสมจะจดั ตัง้ โรงเรยี นมัธยมศกึ ษาขน้ึ น้นั เป็นพน้ื ที่ของตำ�บลมาบขา่ (ต�ำ บล นคิ มพัฒนาในปัจจบุ นั ) ซง่ึ มลี ักษณะเป็นศูนยก์ ลาง ทีม่ คี วามเหมาะสมกับการตง้ั โรงเรยี นมากกวา่ จึงได้ มกี ารประชมุ ชาวบา้ นในเขตพื้นทข่ี ึน้ และได้มคี วามเห็นตรงกันว่าจะจดั ตั้งโรงเรียนมัธยมศกึ ษาแห่งนี้ โดย ได้จดั ตงั้ คณะกรรมการก่อตงั้ ซึง่ มี กำ�นันแอด๊ ศักดเิ์ จรญิ ก�ำ นันต�ำ บลมาบข่า เป็นประธาน เพอ่ื ดำ�เนนิ การก่อตั้งต่อไป โรงเรยี นนคิ มวทิ ยาไดด้ ำ�เนนิ การกอ่ ต้ังโดยมี ศึกษา สุวรรณพรหมณา เปน็ ที่ปรึกษาใน การกอ่ ตง้ั โรงเรยี นนิคมวทิ ยา จึงไดถ้ อื กำ�เนิดข้นึ เป็นโรงเรยี นมัธยมศึกษาประจ�ำ ตำ�บล สังกดั กองการศึกษา กรมสามญั ศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ ตั้งอยู่ หม่ทู ี่ 2 ต�ำ บลมาบขา่ (ปจั จบุ ันคอื ต.นคิ มพฒั นา) อำ�เภอ บ้านค่าย (ปัจจุบันคอื อ�ำ เภอนิคมพัฒนา) จังหวัดระยอง โดยรับนักเรียนแบบสหศกึ ษา ในระดบั ช้นั มัธยมศกึ ษาตอนตน้ ได้ท�ำ การเปิดสอน เมอื่ วันที่ 2 มถิ นุ ายน พ.ศ. 2520 จำ�นวน 2 ห้องเรียน มีนักเรยี น ชาย 38 คน นักเรียนหญิง 32 คน รวมท้ังหมด 70 คน โดยได้อาศยั อาคารเรียนของโรงเรยี นนิคมฯ 1 เป็นการช่ัวคราวและทางจงั หวดั ได้แตง่ ต้ังนายเสกล แสงพงษช์ ยั ผู้ชว่ ยอาจารยใ์ หญโ่ รงเรียนบ้านค่าย ใหม้ าปฏบิ ตั หิ นา้ ท่ี ครใู หญ่โรงเรียนนคิ มวทิ ยา ต่อมา คุณสินธ์ ุ คณุ ประไพ กลุ ศริ ิ ผ้จู ัดการร้านเลศิ สิน เจ้าของและผ้จู ดั การบริษัทเพยี รเกียรติ และบริษัทเพียรเกยี รตอิ ตุ สาหกรรม จ�ำ กดั ได้บรจิ าคเงนิ จำ�นวน 250,000 บาท (สองแสนห้าหม่นื บาท ถว้ น) สร้างอาคารหลังแรกคอื อาคารเพียรเกยี รติ ซงึ่ มีขนาดกว้าง 8 เมตร ยาว 72 เมตร จำ�นวน 9 ห้องเรยี น และไดบ้ ริจาคเงนิ 35,558 บาท (สามหม่นื หา้ พันห้ารอ้ ยห้าสบิ แปดบาทถ้วน) เพือ่ ทำ�การติด ตัง้ ไฟฟา้ จากที่ทำ�การนคิ มสร้างตนเอง จังหวัดระยอง มายังโรงเรียน ทางโรงเรียนจงึ ไดย้ ้ายจากโรงเรียน นิคมฯ 1 มาทำ�การสอนท่ีอาคารเพียรเกยี รต ิ เมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม พ.ศ. 2521 ซ่งึ เป็นอาคารเรยี น หลงั แรกของโรงเรยี นนคิ มวทิ ยา 10  คู่มือนกั เรยี นโรงเรยี นนิคมวทิ ยา

ปี พ.ศ. 2521 กรมสามญั ศกึ ษา ไดใ้ ห้งบประมาณก่อสร้างอาคารช่ัวคราว จ�ำ นวน 2 หอ้ งเรียน เปน็ เงิน 60,000 บาท (หกหม่ืนบาทถว้ น) และในปเี ดียวกนั ไดร้ บั เพมิ่ เตมิ อาคารชวั่ คราวอกี 6 ห้องเรยี น ท�ำ ใหน้ ักเรียนมีทีเ่ รียนอยา่ งเพยี งพอ ปีงบประมาณ 2523 ไดร้ ับเงินงบประมาณก่อสร้างอาคารเรยี นแบบ 216 ต. คร่งึ หลงั ในราคา 1,850,000 บาท (หนึ่งล้านแปดแสนหา้ หมน่ื บาทถว้ น) ซ่งึ กค็ อื อาคาร 1 ในปจั จบุ นั และได้รับงบประมาณ ก่อสรา้ งโรงฝกึ งานมาตรฐานอีก 1 หลัง ในราคา 260,000 บาท (สองแสนหกหมืน่ บาทถ้วน) ปี พ.ศ.2523 ได้รับงบประมาณก่อสรา้ งอาคารเรยี นแบบ 106 ต. หน่งึ หลังจ�ำ นวน 7 หอ้ งเรียน ในวงเงิน 1,200,000 บาท (หนึ่งล้านสองแสนบาทถว้ น) ซ่งึ ก็คอื อาคาร 3 ในปจั จุบนั ปี พ.ศ.2523 ไดร้ ับงบประมาณกอ่ สร้างอาคารเรยี นแบบ 106 ต. หนึง่ หลังจำ�นวน 7 ห้องเรยี น ใน วงเงนิ 1,200,000 บาท (หน่ึงล้านสองแสนบาทถว้ น) ปีงบประมาณ 2523 ไดร้ บั เงนิ งบประมาณกอ่ สร้างอาคารเรียนแบบ 216 ต. คร่ึงหลงั ในราคา 1,850,000 บาท (หน่ึงลา้ นแปดแสนหา้ หมนื่ บาทถ้วน) และไดร้ ับงบประมาณกอ่ สรา้ งโรงฝึกงานมาตรฐาน อกี 1 หลัง ในราคา 260,000 บาท (สองแสนหกหม่ืนบาทถว้ น) ปี พ.ศ.2525 กรมชลประทาน ได้ดำ�เนินการกอ่ สร้างอา่ งเกบ็ น้�ำ แบบฝายน้�ำ ล้น ตามโครงการ พระราชดำ�ริ ในเน้อื ทต่ี ิดกับโรงเรียนนคิ มวทิ ยา ซึ่งท�ำ ใหโ้ รงเรียนสามารถใชน้ ำ�้ จากฝายมาทำ�การเกษตร ได้เปน็ อยา่ งดี และในปเี ดยี วกันน้ี กระทรวงมหาดไทย โดยโครงการสร้างงานในชนบท (กสช.)  ได้ ก่อสร้างประปาและต่อเติมสนามบาสเกตบอลให้แก่โรงเรียนเป็นผลสำ�เร็จ  และทางโรงเรียนได้รับรางวัล พระราชทาน โรงเรียนดเี ดน่ ระดับมัธยมศกึ ษาขนาดเล็ก ประจำ�เขตการศึกษา 12 ปี พ.ศ.2527 สำ�นักงานโครงการพเิ ศษ กรมสามัญศึกษา ได้คดั เลอื กโรงเรียนให้เขา้ โครงการ มธั ยม เพื่อพฒั นาชนบท (มพช.) ไดอ้ นมุ ัติเงิน 4,000,000 บาทเศษ ให้โรงเรยี นตอ่ เติมอาคารเรยี นแบบ 216 ต. ใหเ้ สรจ็ สมบรู ณ์ ก่อสรา้ งโรงฝกึ งานเพิ่มอกี 2 หลัง จัดทำ�ห้องสมุด ห้องวทิ ยาศาสตร์ ห้องศิลปะ ฯลฯ ปรับปรงุ บรเิ วณสถานท่ี ถนน ระบบไฟฟ้า นำ�้ ประปา ปี พ.ศ.2532 ได้รับงบประมาณจากงบพฒั นาชมุ ชน จาก ส.ส.(อยั การ) สมศักด ิ์ ชาญด้วยกิจ จดั ซื้อเครอ่ื งดนตรสี ำ�หรบั ดรุ ยิ างค์ เปน็ เงิน 50,000 บาท ปี พ.ศ.2533 ไดร้ ับงบประมาณหมวดคา่ ทีด่ นิ และส่ิงกอ่ สรา้ งจากงบพัฒนาชุมชนของ ส.ส.(อัยการ) สมศักดิ์ ชาญด้วยกิจ สรา้ งหอประชุม เป็นเงนิ 1,600,000 บาท (หน่ึงลา้ นหกแสนบาทถ้วน) และงบ ประมาณจากกรมสามญั ศกึ ษา สร้างหอ้ งนำ้� ห้องส้วม 1 หลัง ปี 2539 ไดร้ บั งบประมาณกอ่ สร้างอาคารเรยี นแบบ 318 ล/พเิ ศษ หรืออาคาร 2 ในปัจจุบนั เป็น อาคารเรยี น 4 ช้ันใตถ้ นุ โลง่ เปน็ เงิน 10,503,288 บาท ปี 2552 อบจ.จงั หวัดระยองได้กอ่ สร้างอาคาร 4 เป็นอาคารเรียน 4 ช้ัน ปจั จบุ ันโรงเรียนนคิ มวทิ ยามเี นือ้ ทกี่ ว่า 70 ไร่ มีอาคารเรียน 4 หลงั โรงฝึกงาน 3 หลัง อาคารดนตรี ไทย 1 หลัง หอประชุม 1 หลัง และพื้นท่ีเพาะปลกู การเกษตรตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง จากงบประมาณท่ีได้รับจัดสรรในปีต่างๆ  ต้ังแต่เปิดโรงเรียนเป็นต้นมา  ทำ�ให้โรงเรียนนิคมวิทยามีวัสดุ ครภุ ัณฑ์ อาคารสถานท่ี อย่างเพยี งพอไวบ้ รกิ ารทางการศึกษาใหแ้ กบ่ ุตรหลานของทา่ นได้อยา่ งเต็มที่ Nikhomwittaya School 11

เกียรตปิ ระวตั โิ รงเรยี นนคิ มวิทยา พ.ศ. 2552 - ได้รบั การรับรองให้เปน็ โรงเรยี นดีใกลบ้ ้านรนุ่ ท่ี 2 - ไดร้ ับการรับรองโรงเรียนมาตรฐานระบบตา้ นยาเสพตดิ (QAD) ขั้น 3 พ.ศ. 2553 - ไดร้ ับรางวัลมาตรฐานระบบต้านยาเสพติด (QAD) รกั ษาสภาพขั้น 3 - ได้รบั รางวัลเหรียญทองหอ้ งสมดุ ดเี ด่นจากส�ำ นกั งานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาระยอง เขต 1 พ.ศ. 2554 - ได้รบั เกียรตบิ ัตรรับรองมาตรฐานโรงเรยี นส่งเสรมิ สขุ ภาพระดับทองของกระทรวงสาธารณสขุ - ได้รับโลป่ ระกาศเกียรตคิ ณุ เป็นโรงเรยี นเครอื ข่ายลดโลกรอ้ นด้วยวิถพี อเพยี งจากสำ�นักงาน คณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พนื้ ฐานร่วมกบั สถาบันส่ิงแวดลอ้ มไทยและบรษิ ัทผลติ ไฟฟ้าเอ็กโก้ พ.ศ. 2556 - ไดร้ บั รางวลั สถานศกึ ษาพระราชทาน ประจำ�ปกี ารศกึ ษา 2556 ประเภท โรงเรียนมัธยมศกึ ษา ขนาดกลาง พ.ศ. 2557 - โรงเรยี นสงิ่ แวดล้อมดีเดน่ - รางวัลโรงเรียนต้นแบบอาเซียน - ไดร้ ับการคดั เลอื กเปน็ โรงเรียนสุจริต - รางวลั ตน้ แบบสภาดีเดน่ พ.ศ. 2558 - ไดร้ บั รางวลั เสมา ป.ป.ส. ระดบั ดเี ดน่ โครงการสถานศกึ ษาปอ้ งกนั ยาเสพตดิ ดเี ดน่ ประจ�ำ ปี 2556 พ.ศ. 2559 - ไดร้ บั รางวลั ระดบั ดี ประเภทโรงเรยี นขนาดใหญ่ ระดบั เขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษา โครงการสถานศกึ ษา สขี าว ปลอดยาเสพตดิ และอบายมขุ ประจ�ำ ปกี ารศกึ ษา 2559 - ไดร้ บั รางวลั เหรยี ญเงนิ ระดบั เขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษา โครงการสง่ เสรมิ การจดั การขยะในสถานศกึ ษา สงั กดั ส�ำ นกั งานเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษาเขต 18 ประจ�ำ ปกี ารศกึ ษา 2559 - ไดร้ บั คดั เลอื กเปน็ สถานศกึ ษาดเี ดน่ ทางวฒั นธรรมดา้ นดนตรไี ทยและดนตรพี น้ื บา้ น (ประเภทมธั ยม) ประจ�ำ ปี 2559 พ.ศ. 2560 - รางวลั เสมา ป.ป.ส ประเภทผลงานดเี ดน่ ระดบั เงนิ “สถานศกึ ษาสขี าวปลอดยาเสพตดิ และอบายมขุ ” - รางวลั ชนะเลศิ การแขง่ ขนั ฟตุ บอล SCG Chemicals FA CUP 2017 12  คู่มือนกั เรียนโรงเรียนนิคมวทิ ยา

โครงสร้างการบริหารงานโรงเรยี นนิคมวิทยา ปกี ารศึกษา 2565 ผู้อำ�นวยการโรงเรียน สมาคมศษิ ย์เก่า ครู ผ้ปู กครอง คณะกรรมการสถานศึกษาขัน้ พน้ื ฐาน คณะกรรมการเครือข่ายผ้ปู กครอง รองผอู้ �ำ นวยการ รองผอู้ �ำ นวยการ รองผ้อู �ำ นวยการ รองผู้อ�ำ นวยการ กลมุ่ บรหิ ารวชิ าการ กลมุ่ บรหิ ารงบประมาณ กลมุ่ บรหิ ารงานบคุ คล กลมุ่ บรหิ ารท่วั ไป ผชู้ ่วยผอู้ ำ�นวยการ ผ้ชู ว่ ยรองผู้อำ�นวยการ ผชู้ ว่ ยรองผูอ้ ำ�นวยการ ผ้ชู ว่ ยผอู้ ำ�นวยการ กลุ่มบรหิ ารวชิ าการ กลมุ่ บรหิ ารงบประมาณ กลมุ่ บริหารงานบุคคล กล่มุ บรหิ ารทัว่ ไป กลมุ่ งานธุรการ แผนงานและ กลุ่มงานธรุ การ แผนงานและ กลมุ่ งานธรุ การ แผนงานและ กล่มุ งานธุรการ แผนงานและสารสนเทศ สารสนเทศ สารสนเทศ สารสนเทศ 1. งานธุรการและสำ�นักงาน 1. งานธุรการและส�ำ นกั งาน 1. งานธรุ การและสำ�นักงาน 1. งานธุรการและสำ�นักงาน 2. งานแผนและจดั การข้อมูลสารสนเทศ 2. งานแผนและสารสนเทศ 2. งานแผนและสารสนเทศ 2. งานแผนและสารสนเทศ 3. สำ�นกั งานผู้อำ�นวยการ กลมุ่ งานพฒั นางานวชิ าการ กลมุ่ งานนโยบายและแผนงาน กลุ่มงานวางแผนอตั ราก�ำ ลงั กลมุ่ งานพฒั นาอาคารสถานทแ่ี ละสิ่ง 1. งานพฒั นาหลกั สตู รสถานศกึ ษา 1. งานการวเิ คราะห์และพัฒนา สรรหาและบรรจุแตง่ ตั้ง แวดลอ้ ม 2. งานพฒั นากระบวนการเรยี นรู้ นโยบายทางการศกึ ษา 1. งานวางแผนอัตราก�ำ ลัง 1. งานอาคารสถานท่แี ละภมู ิทศั น์ 3. งานวจิ ยั เพอ่ื พฒั นาคณุ ภาพการ 2. งานวิเคราะห์ความเหมาะสมการ 2. งานจัดทำ�ระบบและจดั ท�ำ 2. งานบา้ นพกั ครู ศกึ ษา เสนอของบประมาณ ทะเบยี บประวัติ 3. งานสงิ่ แวดล้อม 4. งานพฒั นาสอ่ื นวตั กรรมและ 3. งานจดั สรรงบประมาณภายใน กลุม่ งานส่งเสรมิ ประสทิ ธภิ าพการ กลมุ่ งานชมุ ชนสัมพนั ธ์ เทคโนโลยกี ารศกึ ษา สถานศึกษา ปฏบิ ตั ริ าชการ และภาคเี ครือข่าย 5. งานพฒั นาระบบประกนั คณุ ภาพ 4. งานเบกิ จา่ ยและการอนุมัติงบ 1. งานการประเมนิ ผลการปฏบิ ัติ 1. งานชุมชนสัมพันธแ์ ละภาคีเครอื ขา่ ย ภายในและภายนอกสถานศกึ ษา ประมาณ งานเลอื่ นเงินเดอื น และบำ�เหน็จ 2. งานคณะกรรมการสถานศกึ ษาขนั้ พ้นื ฐาน 6. งาน EIS 5. งานขอโอนและการขอเปลย่ี นแปลง ความชอบ 3. งานสมาคมศษิ ย์เก่าผปู้ กครองและครู 7. งานขบั เคลอ่ื นกระบวนการ PLC งบประมาณ 2. งานการลา กลมุ่ งานสง่ เสริม สนับสนุนและพฒั นา ในสถานศกึ ษา 6. งานตรวจสอบติดตามและ 3. งานเครือ่ งราชอิสริยาภรณ์ องคก์ ร 8. งานประสานความรว่ มมอื ในการ รายงานการใชผ้ ลผลติ จาก 4. งานสง่ เสริมการประเมิน 1. งานโภชนาการและน้�ำ ดม่ื พฒั นาวชิ าการกบั สถานศกึ ษาอน่ื งบประมาณ วทิ ยฐานะ 2. งานส่งเสรมิ อนามยั และการประกนั 9. งานโรงเรยี นมาตรฐานสากล 7. งานประเมินผลการใช้เงิน 5. งานส่งเสริมยกยอ่ งเชดิ ชูเกียรติ อบุ ัติเหตุ 10. งานโรงเรยี นสจุ รติ 8. งานควบคุมภายในหน่วยงาน 6. งานสง่ เสรมิ มาตรฐานวชิ าชีพ 3. งานประชาสัมพนั ธแ์ ละสื่อสารองคก์ ร 11. งานโรงเรยี นคณุ ภาพวทิ ยาศาสตร์ 9. งานนเิ ทศตดิ ตามและประเมนิ ผล และจรรยาบรรณวชิ าชพี และ 4. งานโสตทศั นูกรณ์และเทคโนโลยเี พอื่ คณติ ศาสตรแ์ ละเทคโนโลยตี าม กล่มุ การเงนิ พัสดแุ ละสินทรพั ย์ ใบขออนุญาตประกอบวิชาชีพ การศกึ ษา มาตรฐาน สสวท. 1. งานระดมทรพั ยากรและระดมทุน 7. งานประกันสังคม 5. งานปฏคิ ม 12. งานโรงเรยี นคณุ ธรรม สพฐ เพ่อื การศกึ ษา 8. งานสง่ เสรมิ คณุ ธรรม จริยธรรม 6. งานคอมพวิ เตอรแ์ ละระบบเครอื ข่าย กลุ่มงานส่งเสริมการศึกษา 2. งานบรหิ ารการเงิน ส�ำ หรับขา้ ราชครแู ละบคุ ลากร 7. งานกองทุนสวัสดกิ ารโรงเรียน 1. งานพัฒนาแหลง่ เรยี นรู้ 3. งานบรหิ ารการบญั ชี ทางการศึกษา 8. งานรา้ นคา้ สวสั ดิการโรงเรียน 2. งานนิเทศการศึกษา 4. งานตรวจสอบหลกั ฐานการรบั – 9. งานพฒั นาข้าราชการครแู ละ 9. งานพาหนะ 3. งานกจิ กรรมพัฒนาผูเ้ รียน จ่ายเงินประจำ�โรงเรยี น บคุ ลากรทางการศกึ ษา 10. งาน DMC 4. งานทุนการศึกษา 5. งานรายงานทางการเงินและงบ 10. งานรัฐพธิ ี กลุ่มงานกจิ การนักเรยี น 5. งานหอ้ งสมุด การเงนิ 11. งานสง่ เสรมิ สวสั ดกิ ารครูและ 1. งานส่งเสริมกิจการนกั เรยี น 6. งานเศรษฐกจิ พอเพียง 6. งานจัดท�ำ และการจดั หาแบบ บุคลากรทางการศกึ ษา 2. งานจัดระบบดูแลช่วยเหลือนักเรยี น 7. งานการส่งเสริมและสนับสนุน พิมพบ์ ัญชี ทะเบยี น และรายงาน 12. งานคุณธรรมและความโปรง่ ใสใน 3. งานส่งเสรมิ คุณธรรมจริยธรรม และ งานวชิ าการแกบ่ ุคคล ครอบครวั 7. งานเบิกจ่ายค่ารักษา พยาบาล การดำ�เนนิ งานของหน่วยงาน โรงเรียนวถิ ีพุทธ องคก์ ร หนว่ ยงาน ชุมชน และการศกึ ษาบุตร ภาครัฐ (ITA) 4. งานสง่ เสริมประชาธิปไตยในโรงเรยี น และสถาบันอ่ืนทจี่ ดั การศึกษา 8. งานธนาคารโรงเรยี น 13. งานวนิ ัยและการลงโทษ 5. งานสถานศกึ ษาปลอดยาเสพติดและ กลมุ่ งานทะเบียน 9. งานจดั ท�ำ ระบบฐานขอ้ มลู สนิ ทรพั ย์ 14. งานสงั่ พกั ราชการและส่ังใหอ้ อก อบายมขุ ในสถานศึกษา 1. งานวัดผล ประเมินผล และ ทางการศกึ ษา จากราชการ 6. งานบัตรและสารสนเทศนักเรยี น การเทยี บโอนผลการเรียน 10. งานจัดหาพัสดุ 15. การอทุ ธรณแ์ ละการร้องทุกข์ 7. งานระดบั ชั้น 2. งานทะเบยี นและเทยี บโอนผล 11. งานจดั ซื้อจดั จา้ งดว้ ยเงนิ งบ 8. งานวนิ ยั จราจรและรกั ษาความปลอดภัย การเรียน ประมาณ/งานจดั ซอื้ จดั จา้ งด้วย 9. งานกิจกรรมนกั เรยี น 3. งานจัดท�ำ สำ�มะโนผู้เรยี น เงนิ นอกงบประมาณ 10. งานสายตรวจและการส่งเสรมิ ความ 4. งานรบั นักเรยี น 12. งานกำ�หนดรูปแบบรายงาน ประพฤตนิ กั เรียน 13. การควบคุมบำ�รงุ รกั ษา และ 11. งานสถานศึกษาปลอดภัย MOE Safety จำ�หนา่ ยพสั ดุ Center

14  ค่มู ือนกั เรยี นโรงเรียนนคิ มวทิ ยา

Nikhomwittaya School 15

นายปยิ บุตร เอมโอฐ ผอู้ �ำ นวยการโรงเรยี นนคิ มวิทยา นางสาวมณฑา เจริญประโยชน์ นายณัฐศักด์ิ ศริ สิ มบรู ณ์เวช วา่ ท่ี ร.ต.หญิงฐาณติ า สว่างฉาย นางสาวมณวี รรณ ์ แสงลับ รองผ้อู �ำ นวยการโรงเรยี น รองผอู้ ำ�นวยการโรงเรยี น รองผอู้ �ำ นวยการโรงเรยี น รองผู้อ�ำ นวยการโรงเรยี น กลมุ่ บริหารวชิ าการ กลุม่ บริหารท่วั ไป กลุ่มบรหิ ารงบประมาณ กลมุ่ บริหารงานบคุ คล นายภญิ ญงค์ รัตนมงคล นายสมศักด์ิ โสพัง นางกชพร อินทรพ์ ญา นางสาวบุษกร ตองอ่อน ผู้ช่วยผู้อำ�นวยการกลมุ่ บริหารทั่วไป ผู้ชว่ ยผู้อำ�นวยการกลุ่มบรหิ ารวชิ าการ ผชู้ ว่ ยรองผูอ้ �ำ นวยการ ผชู้ ่วยรองผู้อำ�นวยการ กลุม่ บรหิ ารงานบุคคล กลมุ่ บริหารงบประมาณ 16  คมู่ อื นักเรียนโรงเรยี นนคิ มวทิ ยา

กลมุ่ สาระการเรียนรภู้ าษาไทย นางปทั มา เจริญสขุ หวั หนา้ กลุ่มสาระการเรยี นรภู้ าษาไทย นางภัทรา ขวัญทองห้าว นางสาวณชั พร บุบผาชาติ นางสาวศรินทพิ ย์ รกั ชาติ ครูช�ำ นาญการพิเศษ ครชู �ำ นาญการ ครชู �ำ นาญการ นางสาววรรณวิภา เงนิ ทอง นางสาวญาดา กลนิ่ ประทมุ นางสาวรพีพรรณ นาราษฏร์ ครู คศ.1 ครู คศ.1 ครู คศ.1 นางสาวจรรยากร ทะวงษา นางสาวเบญจวรรณ์ ผลทิพย์ ครผู ้ชู ว่ ย ครผู ูช้ ่วย Nikhomwittaya School 17

กลุม่ สาระการเรียนรูค้ ณติ ศาสตร์ นางบศุ รนิ ทร์ คำ�มฤทธ์ิ หวั หน้ากลมุ่ สาระการเรยี นรคู้ ณติ ศาสตร์ นางปทั มา คงกระจา่ ง นางพรทพิ ย ์ โสพัง นางสาวจริ นนั ท์ พ่ึงกล่นั ครูชำ�นาญการพเิ ศษ ครูชำ�นาญการพเิ ศษ ครชู ำ�นาญการ นางสาวนาฏสุคนธ์ ดำ�รงเกียรติสกลุ นางสาวกนกวรรณ ช่ืนใจจิตต์ นางสาววนดิ า ชัยลา ครูชำ�นาญการ ครูชำ�นาญการ ครู คศ.1 นายอนุกูล บุญประกอบ นางสาวจันทร์จริ า คงสิม นายสภุ ัทร นวลจริง ครู คศ.1 ครู คศ.1 ครูผู้ช่วย 18  คู่มือนกั เรยี นโรงเรียนนิคมวทิ ยา

กลุม่ สาระการเรยี นร้วู ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี นายปยิ ะ มีนา หวั หนา้ กลุม่ สาระการเรียนรูว้ ทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี นายสมศักดิ์ โสพงั นางพรนพิ า สง่ามง่ั คัง่ นายธรี ะวุฒิ ไชยสมบตั ิ นางสาวพัฐนนั ท์ วงษร์ ักษา นายธรรมรัตน์ ธรรมขนั ธ์ นางพนิดา วงษ์แสงค�ำ ครูชำ�นาญการพิเศษ ครชู �ำ นาญการพิเศษ ครชู ำ�นาญการ ครชู �ำ นาญการ ครูชำ�นาญการ ครชู ำ�นาญการ นายปรวิ รรษ วงคแ์ สงค�ำ นางสาวสภุ าวดี โสตะ นางสาวกาญจนาภรณ์ ไต่วัลย์ นายศรายทุ ธ เมอื งค�ำ นายพงศธร สขุ ศรี นางสาวเกษร มเี หมือน ครชู ำ�นาญการ ครู คศ.1 ครู คศ.1 ครู คศ.1 ครู คศ.1 ครู คศ.1 นางสาวเพลินจนั ทร์ สรุ ะสิทธ์ิ นางสาวจนั ทร์เพ็ญ ใจอารี นางสาวเอมอร สทิ ธิ นายทินกร ก้ฉู นิ ชัย นายเอกพจน์ นามสะกัน ครู คศ.1 ครู คศ.1 ครู คศ.1 ครผู ู้ชว่ ย ครอู ตั ราจา้ ง Nikhomwittaya School 19

กลมุ่ สาระการเรยี นร้สู ังคมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม นางสกุ ฤตาพร วดั วัง หัวหน้ากลมุ่ สาระการเรยี นรสู้ งั คมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม นางสาวภาวณิ ี ไชยขนั ธุ์ นางนฤมล บตุ รสาลี นางสาวกัญญาภคั พศั ศรษ์ ครู คศ.1 ครู คศ.1 ครู คศ.1 วา่ ทร่ี .ต.หญงิ ภทั รวดี สกุลมา นายจริ ศักดิ์ อนุ่ แก้ว นายเรวัฒน์ มะศักด์ิ ครู คศ.1 ครู คศ.1 ครู คศ.1 ว่าท่ีร.ต.สทุ ธภิ ัทร ศรีสุข นายชชั วาลย์ งานดี นางสาวศิรภิ รณ์ สขุ วารี ครู คศ.1 ครู คศ.1 ครผู ู้ชว่ ย 20  คมู่ อื นกั เรียนโรงเรียนนคิ มวิทยา

กล่มุ สาระการเรยี นรสู้ ขุ ศกึ ษาและพลศกึ ษา นายวชริ ะ ไพโรจนก์ จิ ตระกูล หัวหน้ากลมุ่ สาระการเรียนร้สู ขุ ศึกษาและพลศึกษา นายภิญญงค ์ รัตนมงคล นางสาววสิ นีย์ จารัตน์ นายปรัญชัย ไชยมนตรี ครชู ำ�นาญการพิเศษ ครู คศ.1 ครู คศ.1 นายศวิ าวุฒ ิ ไชยบุตร นายศุภสิทธ์ ิ พรวจิ ิตร ครู คศ.1 ครูผู้ชว่ ย Nikhomwittaya School 21

กลุ่มสาระการเรยี นรูศ้ ลิ ปะ นางสาวนฤมล ณรงคว์ ชิ ัย หวั หน้ากลมุ่ สาระการเรยี นรศู้ ิลปะ นางนงนภสั ไชยชนะ นายปรีชาพล ทองภู่ นางณภทั รารัตน ์ ทองภู่ ครูชำ�นาญการพเิ ศษ ครูช�ำ นาญการ ครูชำ�นาญการ นางสาวยพุ นิ ค�ำ ชนื่ นางสาวอรพิน ศรีหะ ครู คศ.1 ครู คศ.1 22  คู่มอื นักเรยี นโรงเรยี นนิคมวทิ ยา

กลมุ่ สาระการเรียนรู้การงานอาชีพ นายพงษศ์ กั ด ์ิ แดงตุ้ย หวั หนา้ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้การงานอาชีพ นางสาวนิภาภรณ ์ พชิ ิต นางกลุ วด ี วทิ ยานกุ รณ์ นางธัญวรตั น์ บญุ สอน ครูชำ�นาญการพเิ ศษ ครู คศ.1 ครู คศ.1 นายสาธิต สารทอง นางสาวสุนทราภรณ์ ภมุ รินทร์ นายอ�ำ นวย สมพงค์ ครู คศ.1 ครอู ตั ราจา้ ง ครอู ัตราจ้าง Nikhomwittaya School 23

กลมุ่ สาระการเรยี นร้ภู าษาต่างประเทศ นางสาวกาญจนา ศานติศิลากลุ หวั หน้ากล่มุ สาระการเรยี นร้ภู าษาต่างประเทศ นางสาวบุษกร ตองออ่ น นางปรวรรณ คล้ายแตง นางกชพร อนิ ทรพ์ ญา นางสาวฐิตพิ ร ใบทอง ครชู ำ�นาญการ ครูช�ำ นาญการ ครชู �ำ นาญการ ครู คศ.1 นางสาวสิรตา แดงทอง นางสาวมณฑยา มาลาวัลย์ นายโฆษิต ไลไธสง นางสาวนาถนารา สารนอก ครู คศ.1 ครู คศ.1 ครู คศ.1 ครูผูช้ ่วย นางสาวณฐั กฤตา เขม็ จนั ทร์ Mr.Michael O’neil นายฐาปกรณ์ เอีย่ มศิริ ครูผู้ช่วย ครตู ่างชาติ ครอู ัตราจา้ ง 24  คู่มอื นักเรยี นโรงเรียนนิคมวิทยา

กจิ กรรพฒั นาผู้เรียน นางสาวนชิ ชมิ า ทนศริ ิ หวั หนา้ กล่มุ กิจกรรมพฒั นาผู้เรยี น ว่าทร่ี .ต.หญงิ อรฤดี ทองสง่ โสม นางสาวนรู ยี ะฮ ์ ปะดกุ า นางสาวณัฐสิมา แกมรัมย์ ครู คศ.1 ครู คศ.1 ครูผ้ชู ว่ ย Nikhomwittaya School 25

เจ้าหน้าท่ธี รุ การ นางเกล็ดนท ี ซาสนั เทยี ะ นางสาวฉววี รรณ กันธยิ า เจ้าหน้าที่ธุรการ เจ้าหนา้ ที่ธุรการ นกั การ-ลูกจา้ งช่วั คราว นายอ�ำ นวย จันทศรี นายอนนั ต์ บวั เผอ่ื น นายเล็ก วิชาเงนิ นางดวงพร ตองออ่ น นกั การ นกั การ พนกั งานขบั รถ แม่บา้ น นางประนอม เนตรศรี นางกชกร มากคช นางสาวลำ�ใย เฉดิ จินดา แม่บ้าน แม่บ้าน แมบ่ ้าน 26  คมู่ ือนกั เรยี นโรงเรยี นนิคมวิทยา

ตอนท่ี 3 การวดั ผลประเมินผลตามหลกั สูตรสถานศึกษา 1. การประเมินผลการเรยี นในดา้ นตา่ งๆ ประกอบดว้ ย 1.1 การประเมินผลการเรียนสาระการเรียนร้รู ายวิชา ตามมาตรฐานการเรียนรู้และตวั ชี้วัด ซงึ่ สถานศึกษาวเิ คราะห์จากมาตรฐานการเรยี นร้ชู ว่ งชั้น การประเมนิ ผลการเรยี นร้รู ายวิชา ให้ตดั สนิ ผลการ ประเมนิ เปน็ ระดบั ผลการเรยี น 8 ระดับ ดงั ต่อไปนี้ “ 4 ” หมายถึง ผลการเรยี นดีเยย่ี ม “ 3.5 ” หมายถงึ ผลการเรยี นดีมาก “ 3 ” หมายถึง ผลการเรยี นดี “ 2.5 ” หมายถึง ผลการเรยี นคอ่ นขา้ งดี “ 2 ” หมายถงึ ผลการเรยี นปานกลาง “ 1.5 ” หมายถึง ผลการเรียนพอใช้ “ 1 ” หมายถึง ผลการเรียนผ่านเกณฑข์ ั้นต�ำ่ “ 0 ” หมายถึง ผลการเรียนตำ่�กวา่ เกณฑ์ 1.2 การประเมนิ คณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ เป็นการประเมนิ พฒั นาทางดา้ นคุณธรรม จริยธรรม คา่ นยิ ม และคุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ของผเู้ รียน ตามคุณลกั ษณะทสี่ ถานศึกษากำ�หนด การประเมนิ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ จะประเมนิ เป็นรายคุณลกั ษณะทุกภาคเรยี น และตดั สินผลการประเมินเป็น 4 ระดบั ดังตอ่ ไปนี้ “ดีเยี่ยม” หมายถงึ ผู้เรียนปฏบิ ัตติ นตามคุณลักษณะจนเป็นนสิ ัยและน�ำ ไปใช้ในชีวติ ประจ�ำ วัน เพ่ือประโยชน์สขุ ของตนเองและสังคม โดยพจิ ารณาจากผลการประเมนิ ระดับดเี ยย่ี ม จ�ำ นวน 5-8 คณุ ลักษณะและไม่มีคุณลักษณะใดได้ผลการประเมินต�ำ่ กวา่ ระดบั ดี “ด”ี หมายถงึ ผเู้ รยี นมีคณุ ลกั ษณะในการปฏบิ ตั ิตามกฎเกณฑ์เพอื่ ให้เปน็ การยอมรบั ของ สงั คม โดยพิจารณาจาก 1) ได้ผลการประเมินระดบั ดีเย่ยี ม จ�ำ นวน 1–4 คณุ ลกั ษณะ และไมม่ คี ณุ ลักษณะใดไดผ้ ลการ ประเมินต่�ำ กวา่ ระดับดี หรอื 2) ไดผ้ ลการประเมินระดบั ดเี ย่ียม จ�ำ นวน 4 คณุ ลักษณะ และไม่มคี ณุ ลักษณะใดไดผ้ ลการ ประเมนิ ตำ�่ กวา่ ระดับผ่าน หรอื 3) ได้ผลการประเมนิ ระดับดี จ�ำ นวน 5–8 คุณลักษณะ และไม่มคี ณุ ลักษณะใดไดผ้ ลการ ประเมนิ ต่ำ�กว่าระดับผา่ น “ผา่ น” หมายถงึ ผ้เู รียนรับรูแ้ ละปฏบิ ัตติ ามกฎเกณฑ์และเงือ่ นไขที่สถานศกึ ษาก�ำ หนด โดย พิจารณาจาก 1) ได้ผลการประเมนิ ระดบั ผ่าน จำ�นวน 5–8 คุณลกั ษณะ และไม่มคี ุณลกั ษณะใดได้ผลการ ประเมนิ ตำ�่ กวา่ ระดับผ่าน หรือ Nikhomwittaya School 27

2) ไดผ้ ลการประเมนิ ระดบั ดี จำ�นวน 4 คุณลกั ษณะ และไม่มคี ุณลักษณะใดได้ผลการประเมนิ ต่ำ�กวา่ ระดบั ผ่าน “ ไม่ผา่ น ” หมายถงึ ผเู้ รียนรบั รู้และปฏบิ ตั ไิ ดไ้ มค่ รบตามกฎเกณฑแ์ ละเงอ่ื นไขทสี่ ถานศกึ ษา กำ�หนด โดยพจิ าณาจากผลการประเมินระดับไม่ผา่ น ตั้งแต่ 1 คณุ ลักษณะ 1.3 การประเมินความสามารถ อา่ น คิด วเิ คราะห์ และเขียน ผ่านชว่ งชน้ั เป็นการประเมินทกั ษะ การคดิ และการถ่ายทอดความคิดด้วยทกั ษะการอ่าน การคดิ วิเคราะห์ และเขยี น ตามเงอื่ นไขและวิธีการ ท่สี ถานศกึ ษากำ�หนดและตัดสนิ ผลการประเมนิ เปน็ 4 ระดบั ดังตอ่ ไปนี้ “ ดเี ย่ียม ” หมายถึง มผี ลงานที่แสดงถงึ ความสามารถในการอา่ น คิดวเิ คราะห์ และเขียนทีม่ ี คณุ ภาพดีเลศิ อยู่เสมอ “ ดี ” หมายถึง มีผลงานท่ีแสดงถงึ ความสามารถในการอ่าน คดิ วเิ คราะห์ และเขียนท่มี ี คณุ ภาพเป็นทยี่ อมรบั “ ผ่าน ” หมายถึง มีผลงานที่แสดงถึงความสามารถในการอ่าน คิดวเิ คราะห์ และเขยี นท่มี ี คุณภาพเปน็ ท่ียอมรบั แต่ยงั มีขอ้ บกพร่องบางประการ “ ไม่ผา่ น ” หมายถึง ไมม่ ผี ลงานทแ่ี สดงถงึ ความสามารถในการอ่าน คดิ วเิ คราะห์ และเขยี น หรอื ถา้ มีผลงาน ผลงานนนั้ ยังมขี ้อบกพรอ่ งที่ตอ้ งได้รับการปรบั ปรุงแกไ้ ขหลายประการ 1.4 การประเมินการรว่ มกจิ กรรมพฒั นาผเู้ รียน เป็นการประเมินความสามารถและพัฒนาการของ ผเู้ รยี น ในการเขา้ รว่ มกิจกรรมพัฒนาผเู้ รียน ในแต่ละภาคเรยี น ตามเกณฑข์ องแต่ละกจิ กรรมและตดั สนิ ผลการประเมนิ เปน็ 2 ระดับ ดงั นี้ “ ผ ” หมายถงึ ผู้เรียนมเี วลาเขา้ รว่ มกิจกรรมพัฒนาผู้เรยี นปฏิบตั กิ ิจกรรมและมผี ลงานตาม เกณฑท์ สี่ ถานศึกษากำ�หนด “ มผ ” หมายถึง ผู้เรยี นมเี วลาเข้ารว่ มกิจกรรมพฒั นาผู้เรยี นปฏบิ ตั ิกจิ กรรมและมผี ลงานไม่ เป็นไปตามเกณฑท์ ่สี ถานศกึ ษากำ�หนด 2. การตัดสินผลการเรียนผา่ นชว่ งชัน้ เปน็ การน�ำ ผลการประเมินในขอ้ 1.1 ถึง 1.4 มาประมวลสรุปเพือ่ ตดั สินใหผ้ เู้ รยี นผา่ นช่วงช้ันตา่ ง ๆ ตามเกณฑก์ ารตัดสินผลการเรยี นแต่ละช่วงชั้น 3. การประเมินผลการเรยี นที่มีเงอื่ นไขในแตล่ ะรายวิชา การประเมนิ ผลการเรียนที่มีเง่อื นไขในแตล่ ะรายวิชา เปน็ ดงั น้ี “ มส ” หมายถงึ ไม่มีสทิ ธิ์เขา้ รับการประเมินผลปลายภาคเรียน “ ร ” หมายถึง รอการตัดสนิ หรือยังตัดสนิ ไมไ่ ด้ 28  คมู่ ือนักเรยี นโรงเรียนนคิ มวทิ ยา

4. การตดั สนิ ผลการเรียน ให้ถือปฏบิ ตั ิดงั นี้ 4.1 พจิ ารณาตดั สินวา่ ผเู้ รียนผา่ นเกณฑ์การประเมินรายวชิ าตามกลมุ่ สาระการเรียนร้ทู ั้ง 8 กลุ่ม และไดร้ บั ผลการเรยี น 1 ถึง 4 4.2 การตดั สินพจิ ารณาวา่ ผเู้ รยี นจะนบั จ�ำ นวนชัว่ โมง/จำ�นวนหน่วยกติ จะตอ้ งไดร้ ับผลการเรียน 1 ถึง 4 4.3 ได้รับการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียนเป็นรายภาคและนำ�ไปตัดสินการผ่าน ชว่ งช้นั โดยถา้ ผ่านเกณฑท์ สี่ ถานศึกษาก�ำ หนดให้ได้ผลการประเมนิ ตามขอ้ 1.2 4.4 ได้รบั การประเมนิ การอ่าน คดิ วเิ คราะห์ และเขียน เปน็ รายภาคและน�ำ ไปตัดสินการผา่ นชว่ ง ช้นั โดยผ่านเกณฑก์ ารประเมนิ ใหไ้ ด้ระดับผลการประเมนิ ตามขอ้ 1.3 4.5 ไดร้ บั การตดั สนิ การเขา้ รว่ มกจิ กรรมพฒั นาผเู้ รยี นเปน็ รายภาคและรายชว่ งชน้ั โดยถา้ ผา่ นเกณฑ์ การประเมินให้ไดผ้ ลการประเมินเปน็ “ ผ ” และถา้ ไมผ่ ่านเกณฑ์ ใหผ้ ลการประเมนิ ได้ “ มผ ” 4.6 วดั ผลปลายภาคเฉพาะผู้ท่ีมเี วลาเรยี นตลอดภาคเรียน ไมน่ อ้ ยกวา่ รอ้ ยละ 80 ของเวลาเรียนใน รายวิชาน้นั ให้อยู่ในดุลพนิ ิจของคณะอนกุ รรมการกลมุ่ สาระการเรียนรู้ เสนอผ่านคณะกรรมการบรหิ าร หลักสตู รและวชิ าการเห็นชอบ และเสนอผู้บริหารสถานศึกษาอนมุ ตั ิ 4.7 ผู้เรียนที่มเี วลาเรียนไม่ถงึ ร้อยละ 80 ของเวลาเรยี นในรายวิชาน้นั และไม่ไดร้ ับการผ่อนผนั ให้ เขา้ รบั การวัดผลปลายภาคให้ได้ผลการเรยี น “ มส ” 4.8 ผเู้ รยี นทม่ี ีผลการเรยี นตำ�่ กวา่ เกณฑท์ ่สี ถานศกึ ษากำ�หนด ให้ไดร้ ะดับผลการเรยี น “ 0 ” ใน ครงั้ น้นั 4.9 ผ้เู รียนทที่ ุจริตในการสอบหรือทุจรติ ในงานที่มอบหมายใหท้ �ำ ในรายวชิ าใด ครงั้ ใด กต็ าม ให้ได้ คะแนน “ 0 ” ในครัง้ นัน้ 4.10 ผู้เรยี นทไ่ี ม่ได้เข้ารบั การประเมนิ ผลระหวา่ งเรียน หรือปลายภาค ไมไ่ ดส้ ง่ งานที่ไดร้ บั มอบ หมายให้ทำ� หรือมเี หตุสุดวสิ ัยที่ทำ�ให้ประเมนิ ผลการเรียนไมไ่ ด้ ให้ไดผ้ ลการเรยี น “ ร ” กรณที ผ่ี เู้ รียน ได้ผลการเรียน “ ร ” เพราะไม่ส่งงานนน้ั จะตอ้ งได้รบั ความเห็นชอบจากคณะอนกุ รรมการกลมุ่ สาระการ เรยี นรู้ 5. การเปล่ียนผลการเรยี น ให้ถอื ปฏิบัติดังน้ี 5.1 การเปลี่ยนระดับผลการเรยี นจาก “ 0 ” ให้ครผู สู้ อนดำ�เนนิ การพฒั นาผ้เู รียน โดยจดั สอน ซ่อมเสรมิ ปรับปรงุ แกไ้ ขผูเ้ รียนในผลการเรยี นรู้ท่ีคาดหวงั ไม่ผ่านเกณฑ์ขน้ั ต่�ำ แล้วประเมนิ ด้วยวิธีการ ที่มีประสิทธิภาพ  จนผู้เรียนสามารถผ่านเกณฑ์การประเมินและให้ระดับผลการเรียนใหม่  ให้ได้ระดับ ผลการเรียนไม่เกนิ “ 1 ” ตามเง่ือนไขที่สถานศึกษาก�ำ หนด ทง้ั น้ี ให้สอบแกต้ วั ไดไ้ ม่เกนิ 2 คร้ัง ถ้าผู้ เรียนไม่ดำ�เนนิ การสอบแกต้ ัวตามระยะเวลาทส่ี ถานศึกษาก�ำ หนด ให้อย่ใู นดลุ ยพนิ จิ ของสถานศึกษาท่ีจะ พิจารณาขยายเวลาออกไปอีก 1 ภาคเรยี น สำ�หรับภาคเรยี นที่ 2 ตอ้ งดำ�เนินการใหเ้ สร็จส้นิ ภายในปีการ ศึกษานัน้ ถา้ สอบแกต้ วั 2 ครงั้ แลว้ ยงั ได้ระดบั ผลการเรียน “ 0 ” อกี ให้สถานศกึ ษาแตง่ ต้งั คณะกรรมการ ด�ำ เนินการเกี่ยวกบั การเปล่ยี นผลการเรียนของผูเ้ รียน โดยปฏบิ ตั ดิ งั นี้ (1) ถ้าเปน็ รายวิชาพน้ื ฐาน ให้เรียนซ้�ำ รายวิชานั้น (2) ถ้าเป็นรายวชิ าเพิ่มเตมิ ให้อยูใ่ นดุลยพนิ จิ ของสถานศกึ ษา ใหเ้ รยี นซ�ำ้ หรอื เปลี่ยนรายวชิ าใหม่ Nikhomwittaya School 29

5.2 การเปล่ยี นผลการเรยี นจาก “ ร ” ให้ผู้เรียนด�ำ เนินการแก้ไข “ ร “ ตามสาเหตุ เมื่อผ้เู รียน แก้ไขปัญหาเสรจ็ แล้วใหไ้ ด้ระดับผลการเรียนตามปกติ (ต้งั แต่ 0-4 ) ถ้าผู้เรยี นไม่ดำ�เนินการแก้ไข “ ร ” กรณีทส่ี ง่ งานไม่ครบ แตม่ ผี ลการประเมนิ ระหวา่ งเรยี นและ ปลายภาคให้ผู้สอนนำ�ข้อมลู ทม่ี ีอยู่ตดั สินผลการเรียน ยกเว้นมีเหตุสดุ วิสัย ใหอ้ ยู่ในดุลยพินจิ ของสถาน ศึกษาท่ีจะขยายเวลาการแก้ “ ร ” ออกไปอกี ไมเ่ กิน 1 ภาคเรยี น ส�ำ หรบั ภาคเรยี นที่ 2 ต้องดำ�เนนิ การให้ เสร็จสน้ิ ภายในปีการศกึ ษาน้ัน เม่อื พน้ ก�ำ หนดนแี้ ลว้ ให้เรยี นซ้ำ� หากผลการเรียนเปน็ “ 0 ” ให้ด�ำ เนนิ การ แกไ้ ขตามหลักเกณฑ์ 5.3 การเปลยี่ นผลการเรียน “ มส ” มี 2 กรณี 1) กรณีผเู้ รียนได้ผลการเรียน “ มส ” เพราะมเี วลาเรียนไม่ถึงร้อยละ 80 แต่มเี วลาเรยี นไม่ น้อยกวา่ รอ้ ยละ 60 ของเวลาเรยี นในรายวชิ าน้ัน ใหค้ รูผู้สอนจัดให้เรียนเพิ่มเติมโดยใชช้ ่ัวโมงสอนซอ่ ม เสรมิ หรือมอบหมายงานให้ท�ำ จนมีเวลาเรยี นครบตามท่ีก�ำ หนดไวส้ ำ�หรบั วชิ านนั้ แลว้ จงึ ให้วัดผลปลาย ภาคเปน็ กรณีพเิ ศษ ผลการแก้ “ มส ” ให้ไดร้ ะดบั ผลการเรียนไมเ่ กิน “ 1 ” การแก้ “ มส ” กรณีนีใ้ ห้ กระทำ�ใหเ้ สร็จสน้ิ ภายในปีการศึกษานั้น ถ้าผูเ้ รียนไมม่ าด�ำ เนินการแก้ “ มส ” ตามระยะเวลาทกี่ �ำ หนดไว้ นี้ใหเ้ รยี นซ้�ำ ยกเวน้ มีเหตสุ ุดวิสยั ใหอ้ ยใู่ นดุลยพินิจของสถานศกึ ษาที่จะขยายเวลาการแก้ “ มส ” ออก ไปอกี ไมเ่ กนิ 1 ภาคเรียน 2) กรณผี ู้เรียนไดผ้ ลการเรียน “ มส ” เพราะมเี วลานอ้ ยกวา่ ร้อยละ 60 ของเวลาทั้งหมด ให้ สถานศกึ ษาด�ำ เนนิ การดังนี้ (1) ถ้าเป็นรายวชิ าพน้ื ฐาน ใหเ้ รยี นซ�ำ้ รายวชิ านนั้ (2) ถ้าเป็นรายวชิ าเพิม่ เติม ให้อยูใ่ นดลุ ยพนิ จิ ของสถานศึกษา ใหเ้ รียนซ้ำ�หรือเปล่ียน รายวิชาใหม่ 5.4 การเปลย่ี นผล “มผ” กรณที ่ีผเู้ รียนได้ผล “มผ” สถานศึกษาตอ้ งจดั ซอ่ มเสริมให้ผเู้ รยี นท�ำ กจิ กรรมในส่วนท่ีผู้เรยี นไมไ่ ดเ้ ขา้ ร่วมหรอื ไมไ่ ด้ทำ�จนครบถว้ น แลว้ จงึ เปล่ียนผลจาก “มผ” เป็น “ผ” ได้ ทง้ั น้ี ดำ�เนนิ การให้เสร็จส้ินภายในภาคเรยี นนั้น ๆ ยกเว้นมเี หตุสดุ วิสัยใหอ้ ยู่ในดุลยพินิจของสถานศึกษา ท่ีจะพิจารณาขยายเวลาออกไปอีกไมเ่ กนิ 1 ภาคเรียน สำ�หรับภาคเรียนที่ 2 ต้องดำ�เนนิ การใหเ้ สร็จส้ิน ภายในปกี ารศึกษานน้ั 6. การเรียนซ�ำ้ รายวิชา ผู้เรยี นท่ไี ด้รบั การสอนซอ่ มเสริมและสอบแก้ตวั แลว้ 2 ครั้งแล้วไมผ่ า่ นเกณฑ์การประเมนิ ให้เรยี น ซ�ำ้ รายวิชาน้นั ท้ังน้ี ให้อยใู่ นดุลยพินิจของสถานศึกษาในการจดั ใหเ้ รยี นซ�้ำ ในชว่ งใดช่วงหน่งึ ทีส่ ถาน ศึกษาเห็นวา่ เหมาะสม เชน่ พกั กลางวนั วนั หยุด ชัว่ โมงวา่ งหลงั เลกิ เรียน ภาคฤดูร้อน เปน็ ตน้ ในกรณภี าคเรียนที่ 2 หากผ้เู รียนยงั มีผลการเรยี น “๐” “ร” “มส” ใหด้ �ำ เนินการใหเ้ สรจ็ สน้ิ ก่อน เปิดเรียนปีการศึกษาถัดไป  สถานศึกษาอาจเปิดการเรียนการสอนในภาคฤดูร้อนเพ่ือแก้ไขผลการเรียน ของผเู้ รียนได้ ทัง้ นห้ี ากสถานศกึ ษาใดไม่สามารถด�ำ เนินการเปดิ สอนภาคฤดรู อ้ นได้ ใหส้ ำ�นักงานเขต พื้นที่การศึกษา/ต้นสังกัดเป็นผู้พิจารณาประสานงานให้มีการดำ�เนินการเรียนการสอนในภาคฤดูร้อนเพ่ือ แก้ไขผลการเรียนของผเู้ รยี น 30  ค่มู อื นักเรียนโรงเรยี นนิคมวิทยา

7. การเลื่อนช้ัน เมอ่ื ส้นิ ปีการศึกษา ผู้เรยี นจะไดร้ ับการเลอื่ นชั้น เมื่อมีคณุ สมบัติตามเกณฑ์ ดงั ตอ่ ไปน้ี 7.1 รายวิชาพื้นฐานและรายวิชาเพ่ิมเติมได้รับการตัดสินผลการเรียนผ่านตามเกณฑ์ที่สถานศึกษา ก�ำ หนด 7.2 ผู้เรียนต้องได้รับการประเมินและมีผลการประเมินผ่านตามเกณฑ์ที่สถานศึกษากำ�หนดในการ อ่าน คดิ วเิ คราะห์ และเขียน คุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ และกจิ กรรมพฒั นาผู้เรยี น 7.3 ระดบั ผลการเรยี นเฉล่ียในปีการศกึ ษานน้ั ควรไดไ้ ม่ต่ำ�กวา่ 1.00 ท้ังนี้ รายวิชาใดท่ีไม่ผ่าน เกณฑก์ ารประเมิน สถานศึกษาสามารถซอ่ มเสริมผเู้ รียนใหไ้ ดร้ ับการแก้ไขในภาคเรียนถดั ไป ทงั้ น้ีส�ำ หรบั ภาคเรียนท่ี 2 ต้องดำ�เนินการให้เสร็จสิน้ ภายในปกี ารศกึ ษานน้ั 8. การสอนซอ่ มเสรมิ หลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขัน้ พน้ื ฐาน พุทธศักราช 2551 ก�ำ หนดให้สถานศกึ ษาจัดสอนซ่อม เสริมเพื่อพฒั นาการเรียนรขู้ องผเู้ รยี นเตม็ ตามศักยภาพ การสอนซ่อมเสรมิ เปน็ การสอนเพื่อแกไ้ ขข้อบกพร่อง กรณที ่ผี เู้ รยี นมีความรู้ ทักษะ กระบวนการ หรือเจตคต/ิ คุณลกั ษณะ ไมเ่ ปน็ ไปตามเกณฑ์ท่สี ถานศึกษากำ�หนด สถานศกึ ษาต้องจัดสอนซอ่ มเสริม เปน็ กรณีพเิ ศษนอกเหนือไปจากการสอนตามปกติ เพอื่ พัฒนาให้ผเู้ รยี นสามารถบรรลุตามมาตรฐานการ เรียนรู้/ตวั ช้ีวัดท่ีกำ�หนดไว้ เปน็ การให้โอกาสแก่ผูเ้ รยี นได้เรียนรู้และพัฒนา โดยจดั กิจกรรมการเรียนรู้ที่ หลากหลายและตอบสนองความแตกต่างระหว่างบคุ คล การสอนซอ่ มเสริมสามารถด�ำ เนินการไดใ้ นกรณี ดงั ตอ่ ไปนี้ 1) ผเู้ รยี นมีความรู้/ทักษะพ้ืนฐานไม่เพยี งพอทจี่ ะศกึ ษาในแต่ละรายวิชานัน้ ควรจดั การสอนซอ่ ม เสรมิ ปรบั ความรู้/ทกั ษะพืน้ ฐาน 2) ผูเ้ รยี นไมส่ ามารถแสดงความรู้ ทกั ษะ กระบวนการ หรือเจตคติ/คุณลกั ษณะท่กี �ำ หนดไวต้ าม มาตรฐานการเรยี นรู/้ ตวั ช้ีวัดในการประเมินผลระหวา่ งเรียน 3) ผเู้ รียนท่ีไดร้ ะดับผลการเรยี น “๐” ใหจ้ ดั การสอนซ่อมเสริมก่อนสอบแก้ตวั 4) กรณีผู้เรียนมีผลการเรียนไมผ่ า่ น สามารถจดั สอนซอ่ มเสรมิ ในภาคฤดูรอ้ นเพื่อแก้ไขผลการ เรยี น ท้งั น้ี ให้อยใู่ นดลุ ยพนิ จิ ของสถานศกึ ษา 9. การเรียนซำ�้ ชน้ั ผู้เรียนที่ไม่ผ่านรายวิชาจำ�นวนมากและมีแนวโน้มว่าจะเป็นปัญหาต่อการเรียนในระดับชั้นท่ีสูงขึ้น สถานศึกษาอาจตั้งคณะกรรมการพจิ ารณาใหเ้ รียนซ�้ำ ช้ันได้ ทง้ั นี้ ให้ค�ำ นงึ ถงึ วฒุ ิภาวะและความร้คู วาม สามารถของผเู้ รยี นเป็นส�ำ คญั การเรียนซ้ำ�ชนั้ มี 2 ลักษณะ คือ 1) ผเู้ รยี นมีระดับผลการเรยี นเฉลีย่ ในปกี ารศกึ ษานั้นตำ่�กว่า 1.00 และมแี นวโน้มวา่ จะเป็นปญั หา ตอ่ การเรียนในระดบั ช้นั ท่ีสงู ขึน้ 2) ผู้เรยี นมีผลการเรยี น 0 , ร และ มส เกนิ ครงึ่ หนงึ่ ของรายวิชาท่ลี งทะเบียนเรยี นในปกี ารศึกษา น้นั Nikhomwittaya School 31

ทั้งน้ ี หากเกิดลักษณะใดลักษณะหนึง่ หรือท้ัง 2 ลกั ษณะ ใหส้ ถานศกึ ษาแตง่ ตงั้ คณะกรรมการ พิจารณา หากเหน็ ว่าไม่มีเหตุผลอนั สมควรก็ให้ซ้ำ�ชัน้ โดยยกเลกิ ผลการเรยี นเดิมและใหใ้ ช้ผลการเรยี น ใหมแ่ ทน หากพิจารณาแลว้ ไมต่ อ้ งเรยี นซำ้�ช้นั ใหอ้ ยใู่ นดลุ ยพินจิ ของสถานศกึ ษาในการแกไ้ ขผลการเรียน 10. เกณฑก์ ารตดั สินผลการเรียนผา่ นชว่ งชั้นและจบหลักสตู รสถานศกึ ษา 10.1 เกณฑ์การจบหลกั สูตรระดบั มัธยมศึกษาตอนต้น 1) ผเู้ รียนเรียนรายวชิ าพ้ืนฐานและเพ่มิ เติมไม่เกิน 81 หนว่ ยกติ โดยเป็นรายวชิ าพืน้ ฐาน 66 หน่วยกติ และรายวิชาเพิม่ เติมไมเ่ กนิ 15 หน่วยกติ 2) ผู้เรยี นต้องไดห้ นว่ ยกิตตลอดหลกั สูตรไมน่ อ้ ยกว่า 77 หน่วยกิต โดยเปน็ รายวิชาพ้ืนฐาน 66 หนว่ ยกิต และรายวิชาเพิ่มเติมไม่นอ้ ยกว่า 11 หนว่ ยกติ 3) ผู้เรียนมีผลการประเมินการอ่าน คดิ วเิ คราะห์ และเขียนในระดับผ่านเกณฑก์ ารประเมิน 4) ผเู้ รยี นมผี ลการประเมนิ คณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงคใ์ นระดับผา่ นเกณฑก์ ารประเมิน 5) ผู้เรียนเขา้ รว่ มกิจกรรมพฒั นาผู้เรียนและมผี ลการประเมนิ ผา่ นเกณฑก์ ารประเมนิ 10.2 เกณฑก์ ารจบหลกั สตู รระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย 1) ผเู้ รียนเรยี นรายวชิ าพน้ื ฐานและเพม่ิ เตมิ ไม่นอ้ ยกว่า 81 หนว่ ยกิต โดยเปน็ รายวิชาพื้นฐาน 41 หนว่ ยกิต และรายวิชาเพมิ่ เติมไมน่ อ้ ยกว่า 40 หนว่ ยกติ 2) ผ้เู รยี นตอ้ งได้หน่วยกติ ตลอดหลกั สูตรไมน่ อ้ ยกว่า 77 หนว่ ยกติ โดยเป็นรายวิชาพนื้ ฐาน 41 หนว่ ยกิต และรายวชิ าเพิ่มเติมไมน่ ้อยกวา่ 36 หน่วยกิต 3) ผเู้ รยี นมีผลการประเมนิ การอา่ น คดิ วเิ คราะห์ และเขียนในระดบั ผ่านเกณฑ์การประเมนิ 4) ผู้เรียนมีผลการประเมนิ คณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์ในระดับผา่ นเกณฑ์การประเมนิ 5) ผูเ้ รียนเข้าร่วมกิจกรรมพฒั นาผูเ้ รียนและมผี ลการประเมนิ ผา่ นเกณฑก์ ารประเมนิ การตดั สนิ ผลการเรยี นการผา่ นชว่ งชน้ั (จบการศกึ ษาภาคบงั คบั และจบหลกั สตู รการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน) ผ้เู รียนต้องผา่ นเกณฑม์ าตรฐานครบท้งั 4 เกณฑ์ ซ่ึงสะสมมาจากการประเมินผลการเรยี นปลายภาค ถา้ ผู้เรียนไม่ผา่ นช่วงชนั้ ใหด้ �ำ เนินการสอนซอ่ มเสริม แลว้ ท�ำ การประเมนิ ผลจนผเู้ รียนสามารถผ่าน เกณฑก์ ารประเมินทีส่ ถานศกึ ษากำ�หนด 11. เอกสารหลักฐานการศึกษา ให้สถานศกึ ษาจดั ให้มเี อกสารการประเมนิ ผลการ เรียนต่างๆ ดงั นี้ 11.1 ระเบยี นแสดงผลการเรยี น (Transcript) (ปพ.1) เป็นเอกสารบันทกึ ผลการเรียนของผูเ้ รียน ตามสาระการเรยี นรกู้ ลมุ่ วชิ าและกจิ กรรมตา่ ง ๆ ทไ่ี ดเ้ รยี นในแตล่ ะชว่ งชน้ั ของหลกั สตู รการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน เพ่อื ใหเ้ ป็นหลกั ฐานแสดงสถานภาพและความสำ�เรจ็ ในการศึกษาของผู้เรียนแต่ละคน ใชเ้ ปน็ หลกั ฐานใน การสมคั รเขา้ ศึกษาต่อ สมัครทำ�งานหรอื ด�ำ เนนิ การในเรือ่ งอน่ื ทเ่ี ก่ียวขอ้ ง 11.2 หลักฐานแสดงวฒุ ิการศกึ ษา (ใบประกาศนียบตั ร) (ปพ.2) เป็นเอกสารท่สี ถานศึกษาออกให้ กบั ผ้สู �ำ เรจ็ การศกึ ษาและรับรองวฒุ กิ ารศกึ ษาของผู้เรียน ใหผ้ ู้เรยี นนำ�ไปใช้เป็นหลักฐานแสดงระดบั วุฒิ การศกึ ษาของตน 32  คู่มือนกั เรยี นโรงเรยี นนคิ มวทิ ยา

11.3 แบบรายงานผูส้ ำ�เร็จการศกึ ษา (ปพ.3) เปน็ แบบรายงานรายชอื่ และข้อมลู ของผูส้ ำ�เรจ็ การ ศกึ ษาภาคบงั คบั ตามหลกั สตู รการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน เพอ่ื ใชเ้ ปน็ หลกั ฐานส�ำ หรบั ตรวจสอบยนื ยนั และรบั รอง ความส�ำ เรจ็ และวฒุ กิ ารศกึ ษาของผสู้ �ำ เรจ็ การศกึ ษาแตล่ ะคน ตอ่ เขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษาและกระทรวงศกึ ษาธกิ าร 11.4 แบบแสดงผลการพัฒนาคุณลักษณะอนั พึงประสงค์ (ปพ.4) เปน็ เอกสารรายงานพัฒนาการ ด้านคณุ ลกั ษณะของผู้เรียนเกีย่ วกับคณุ ธรรม จรยิ ธรรม ค่านิยม และคณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงคท์ ีส่ ถาน ศกึ ษาก�ำ หนดขน้ึ เพอ่ื พฒั นาผเู้ รยี นเปน็ พเิ ศษ เพอ่ื การแกป้ ญั หาหรอื สรา้ งเอกลกั ษณใ์ หผ้ เู้ รยี นตามวสิ ยั ทศั น์ ของสถานศึกษา เปน็ การรายงานผลการประเมินท่แี สดงถงึ สภาพหรือระดบั คณุ ธรรม จรยิ ธรรม ค่านิยม หรือคณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ของผ้เู รียนในแต่ละชว่ งชั้น สถานศกึ ษาต้องจดั ทำ�เอกสารนี้ให้ผเู้ รยี นทกุ ๆ คน ควบคูก่ ับระเบียนแสดงผลการเรียนของผูเ้ รยี นเพอ่ื นำ�ไปใชเ้ ปน็ หลกั ฐานแสดงคุณลกั ษณะของผูเ้ รียน เพอ่ื ประกอบในการสมัครศกึ ษาตอ่ หรอื สมคั รทำ�งาน 11.5 แบบแสดงผลการพฒั นาคุณภาพของผ้เู รียน (ปพ.5) เป็นเอกสารส�ำ หรบั ผู้สอนใช้บนั ทึกเวลา เรยี น ข้อมลู ผลการวดั และประเมนิ ผลการเรียน ข้อมูลการพฒั นาคุณลักษณะอนั พึงประสงค์ของผเู้ รียน แตล่ ะคนท่ีเรียนในห้องเรยี นกลมุ่ เดียวกนั เพือ่ ใชเ้ ปน็ ขอ้ มูลในการจัดกจิ กรรมการเรยี นการสอน ปรบั ปรุง แกไ้ ข สง่ เสรมิ และตดั สนิ ผลการเรียนของผเู้ รียน รวมท้งั ใช้เป็นหลกั ฐานส�ำ หรบั ตรวจสอบยืนยนั สภาพ การเรยี น การมสี ว่ นรว่ มในกจิ กรรมต่างๆ และผลสมั ฤทธขิ์ องผู้เรยี นแตล่ ะคน 11.6 แบบรายงานผลการพัฒนาคุณภาพผเู้ รียนรายบคุ คล (ปพ.6) เปน็ เอกสารสำ�หรับบันทกึ ขอ้ มูล เก่ยี วกบั ผลการเรียน พฒั นาการในด้านต่างๆ และข้อมูลอ่ืนๆ ของผู้เรียน 11.7 ใบรับรองผลการศึกษา (ปพ.7) เป็นเอกสารที่สถานศกึ ษาออกให้ผู้เรยี นเปน็ การเฉพาะกิจเพื่อ รบั รองสถานภาพทางการศกึ ษาของผู้เรียนเปน็ การชัว่ คราว ทง้ั กรณีผเู้ รียนยงั ไม่สำ�เร็จการศกึ ษาและ สำ�เรจ็ การศึกษาแลว้ 11.8 ระเบยี นสะสม (ปพ.8) เปน็ เอกสารสำ�หรบั บันทกึ ข้อมูลเก่ียวกับพฒั นาการและผลงานดา้ น ต่างๆ ของผเู้ รยี นท้งั ท่สี ถานศึกษาและทบี่ า้ น เพ่ือประโยชนใ์ นการแนะแนวผเู้ รยี นในทุกๆ ดา้ น 11.9 สมดุ บนั ทกึ ผลการเรียน (ปพ.9) เป็นสมุดบันทกึ ผลการเรียนรทู้ ี่สถานศกึ ษาจัดท�ำ ขนึ้ เพ่ือ บนั ทึกรายการรายวิชาต่างๆ ทผ่ี ูเ้ รียนจะต้องเรียนในแตล่ ะชว่ งช้ัน ตามโครงสรา้ งหลกั สตู รของสถาน ศกึ ษา พรอ้ มด้วยผลการประเมนิ ผลการเรียนของแตล่ ะรายวชิ า และสถานศกึ ษา ออกให้ผู้เรยี นส�ำ หรบั ใช้ศึกษาและนำ�ไปแสดงให้บุคคลหรือหน่วยงานที่สนใจได้ทราบโครงสร้างหลักสูตรและรายละเอียดของ รายวชิ าตา่ งๆ ของสถานศึกษา พร้อมดว้ ยผลการเรยี นของผู้เรยี นจากการเรยี นแต่ละรายวิชา กรณีที่ผู้ เรียนย้ายสถานศึกษาข้อมูลในสมุดบันทึกผลการเรียนรู้จะเป็นประโยชน์ในการนำ�ไปใช้เป็นข้อมูลในการ เทยี บโอนผลการเรียนจากสถานศึกษาเดิมไปเป็นผลการเรยี นตามหลักสตู รของสถานศึกษาใหม่ Nikhomwittaya School 33

หลกั สูตรและแผนการเรยี น โรงเรยี นนคิ มวทิ ยา ปัจจบุ ันโรงเรียนนิคมวทิ ยา กำ�หนดให้ใช้หลกั สตู รสถานศึกษา พทุ ธศักราช 2561 ซึง่ อิงตาม หลักสตู รแกนกลางการศึกษา 2551 (ฉบับปรบั ปรงุ 2560) ระดบั ชน้ั มธั ยมศึกษาตอนตน้ ปัจจบุ นั โรงเรยี นนคิ มวิทยา ก�ำ หนดใหใ้ ชห้ ลกั สตู รสถานศึกษา พทุ ธศกั ราช 2561 ซ่ึงองิ ตาม หลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษา 2551 (ฉบบั ปรบั ปรงุ 2560) ในชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 1 ถงึ ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 3 1. แผนการเรียนวิทยาศาสตร์ – คณิตศาสตร์ (EIS) 2. แผนการเรยี นเทคโนโลยี – คอมพิวเตอร์ 3. แผนการเรียน ศิลปะ ดนตรี นาฏศลิ ป์ 4. แผนการเรียนทั่วไป ระดับชน้ั มธั ยมศึกษาตอนปลาย ปัจจบุ นั โรงเรยี นนิคมวทิ ยา ก�ำ หนดให้ใชห้ ลกั สูตรสถานศึกษา พุทธศกั ราช 2561 ซ่ึงองิ ตาม หลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษา 2551 (ฉบบั ปรบั ปรงุ 2560) ในชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 4 ถงึ ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 6 1. แผนการเรียนวทิ ยาศาสตร์ – คณิตศาสตร์ (EIS) 2. แผนการเรียนคณติ ศาสตร์ – ภาษาองั กฤษ 3. แผนการเรียนวิทยาศาสตร์ – เทคโนโลยี 4. แผนการเรยี นภาษาองั กฤษ – ภาษาจนี 5. แผนการเรียนภาษาองั กฤษ – ภาษาญปี่ ุน่ จดุ ม่งุ หมายของหลกั สูตร หลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาโรงเรยี นนคิ มวทิ ยา  เปน็ หลกั สตู รทม่ี กี ารจดั กจิ กรรมการเรยี นการสอน ที่เน้นผ้เู รียนเป็นสำ�คญั มีจดุ มุ่งหมายใหน้ กั เรยี นมคี ณุ ลกั ษณะดงั นี้ 1. มคี วามรแู้ ละรกั การศึกษาค้นควา้ 2. มีคณุ ธรรม จรยิ ธรรมในด้านความรับผิดชอบ ตรงตอ่ เวลา ซอ่ื สตั ย์ ประหยดั 3. มีความเป็นผนู้ �ำ เหน็ คณุ ค่าตนเองและผูอ้ น่ื 4. รกั ความเปน็ ไทยมีจติ สำ�นึกท่ีดตี อ่ ชุมชนและประเทศชาติ 5. มที ักษะการคดิ การแก้ปัญหาและการตัดสนิ ใจ 6. มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยี และมที กั ษะในการแสวงหาความรู้ 7. มคี วามสามารถในการส่อื สารสิ่งท่ไี ด้เรียนรู้ 8. มีสุขภาพและบุคลกิ ภาพทดี่ ี 9. สามารถอย่รู ว่ มและทำ�งานกบั ผอู้ ืน่ ไดอ้ ยา่ งมคี วามสขุ สมรรถนะส�ำ คัญของผเู้ รียน หลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาโรงเรยี นนคิ มวทิ ยา ม่งุ เน้นการพฒั นา สมรรถนะสำ�คัญของผู้เรยี นใน ดา้ นต่างๆ ดังน้ี 1. ความสามารถในการส่อื สาร 2. ความสามารถในการคดิ 3. ความสามารถในการแก้ปญั หา 4. ความสามารถในการใช้ทกั ษะชวี ติ 5. ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี 34  คมู่ อื นกั เรียนโรงเรยี นนิคมวทิ ยา

ตอนที่ 4 การบริการของโรงเรยี น 1. แผนผังบรเิ วณโรงเรยี น 2. ระเบียบการใช้อาคารสถานท ี่ 2.1 การใชอ้ าคารเรียน นกั เรยี นจะตอ้ งปฏิบตั ติ นในการใช้อาคารเรยี นและสถานทข่ี องโรงเรยี น ดังน้ี 1) ห้ามขีดเขยี นทำ�ลายฝาผนงั โตะ๊ เก้าอ้ี และอปุ กรณอ์ ื่น ๆ ทุกชนิดในโรงเรยี น 2) ห้ามนักเรียนเลน่ กฬี าทุกชนดิ บนอาคารเรียนใหน้ กั เรียน เล่นกฬี าในทีท่ โ่ี รงเรียนจดั ใหเ้ ท่าน้ัน 3) หา้ มนกั เรยี นน�ำ อาหารและเครอ่ื งดม่ื ทกุ ชนดิ ขน้ึ ไปรบั ประทานบนอาคารเรยี น  (ยกเวน้ น�ำ้ เปลา่ ) 4) หา้ มใชห้ อ้ งเรยี นในวนั หยุดโดยไม่ไดร้ บั อนญุ าต 5) นักเรยี นตอ้ งชว่ ยกนั รักษาความสะอาดของหอ้ งเรียน และท�ำ เวรใหส้ ะอาด จดั โตะ๊ เรยี นใหเ้ ป็น ระเบยี บ 6) นกั เรียนต้องชว่ ยกันรักษาความสะอาดของบริเวณโรงเรียน ท้ิงขยะหรือส่ิงของอืน่ ๆ ลงในถัง ขยะ 2.2 การใชห้ ้องสุขา พฤติกรรมการใช้สว้ มอยา่ งถกู ต้อง ควรปฏิบตั ิ ดังนี้ 1) น่งั บนโถส้วม เพื่อป้องกันการเกิดอบุ ตั เิ หตุ และรักษาความสะอาด ลดการปนเป้ือนเช้อื จาก อจุ จาระ เปน็ การรักษาอายุการใชง้ านของสุขภัณฑ์ และบ่งบอกถึง วัฒนธรรมการใช้สว้ มทีด่ ี 2) ไม่ทงิ้ วัสดุอ่ืนใด นอกจากกระดาษช�ำ ระลงในโถสว้ ม เพราะวัสดุอาจไปอุดตนั ทอ่ หรือมผี ลตอ่ ระบบเก็บกกั สง่ิ ปฏิกลู ทำ�ให้เต็มเรว็ Nikhomwittaya School 35

3) ราดน้ำ�หรอื กดชกั โครกทุกครัง้ หลงั การใชส้ ้วม เพ่อื สขุ อนามยั ทดี่ ี เพราะอุจจาระหรอื ปัสสาวะ ของมนุษย์ มีเช้อื โรคปนเปื้อนจำ�นวนมาก เป็นแหล่งอาหารและแพร่กระจายของพาหะน�ำ โรค เช่น แมลงวนั อกี ท้งั บ่งบอกถึงสุขวทิ ยาส่วนบคุ คลในการใชส้ ้วม 4) ลา้ งมือทุกครั้ง หลงั การใช้สว้ ม โดยเฉพาะหลังการขบั ถ่าย เน่ืองจากอาจเกิดการปนเปอื้ นจาก อจุ จาระ ซง่ึ สามารถแพร่กระจายเชื้อโรคได้ เชน่ อจุ จาระร่วง ดงั นั้น สว้ มจะต้องได้รบั การดูแลรกั ษาความ สะอาดอยู่เสมอ เพอ่ื ไม่ให้มีกล่ินเหมน็ ไม่เปน็ แหลง่ แพร่กระจายเชอ้ื โรค และมีน้ำ�ใช้เพียงพอ เพอื่ ใช้ ท�ำ ความสะอาดหลังการขับถ่าย มีการดูแลรกั ษาสขุ ภณั ฑ์ ภาชนะเกบ็ กกั น้�ำ และอุปกรณ์ต่างๆ ให้พร้อม ใชง้ านอยเู่ สมอ ไมท่ ำ�ลายวสั ดุ อปุ กรณห์ รอื การขีดเขยี นที่ฝาผนงั 2.3 การใชโ้ รงอาหาร 1) โรงอาหารเปิดบริการ เช้า 06.30-07.40 น. ทกุ ระดบั ชนั้ กลางวัน 11.10-12.00 น. ระดับชั้น ม. ตน้ 12.00-12.50 น. ระดบั ชนั้ ม. ปลาย 2) นักเรียนต้องเขา้ แถวซือ้ อาหารทุกคร้งั 3) หา้ มน�ำ อาหารทกุ ชนดิ ออกนอกโรงอาหาร (กรณสี นิ คา้ จากรา้ นสวสั ดกิ ารใหป้ ฏบิ ตั ติ ามมาตรการ ทีโ่ รงเรียนกำ�หนด 4) ห้ามน�ำ ภาชนะทุกชนิดออกนอกโรงอาหาร (ฝ่าฝืนจะถูกปรับ) 5) หา้ มตดิ ป้ายทุกชนิดในบริเวณโรงอาหารก่อนได้รับอนญุ าต 6) ห้ามใช้เครอ่ื งไฟฟ้าทกุ ชนิดในโรงอาหารกอ่ นไดร้ ับอนุญาต 7) ไม่อนญุ าตใหร้ ับประทานอาหารนอกเวลาทก่ี ำ�หนด ยกเวน้ กรณีเจบ็ ปว่ ยฉุกเฉินใหแ้ นบใบรับ รองอาการเจ็บปว่ ยจากห้องพยาบาล 8) ไมเ่ ล่นและสง่ เสียงดังบรเิ วณโรงอาหาร 9) ช่วยกนั รักษาความสะอาดในโรงอาหาร 10) ไม่ให้ภาชนะ อุปกรณ์ และสง่ิ ต่างๆ บริเวณโรงอาหารเสยี หาย 3. ระเบียบการใชห้ ้องพยาบาล ระเบยี บและข้อปฏิบัติในการใช้หอ้ งพยาบาล มารยาทการใชห้ ้องพยาบาล 1. ถอดรองเทา้ ก่อนเข้าห้อง และจดั วางให้เรียบร้อย 2. รักษาความสะอาดของสถานท่ีและอุปกรณท์ ่ีใช้ 3. ไม่น�ำ อาหารและเคร่อื งดื่มมารบั ประทานในหอ้ ง 4. พูดจาสุภาพ มสี มั มาคารวะ ไม่สง่ เสยี งดงั รบกวนผูป้ ่วย กรณปี ระสงคจ์ ะขอรบั ยา 1. ถ้านกั เรียนเจบ็ ปว่ ยในช่ัวโมงเรียนใหข้ ออนุญาตครปู ระจ�ำ วชิ าทกุ ครั้ง 36  คมู่ อื นักเรยี นโรงเรียนนิคมวิทยา

2. แจ้งอาการเจบ็ ปว่ ยใหเ้ จา้ หนา้ ทพี่ ยาบาลทราบ 3. ถ้านกั เรียนมีโรคประจำ�ตวั หรอื แพ้ยา ต้องแจง้ ใหเ้ จ้าหน้าทพี่ ยาบาลทราบก่อน 4. หา้ มหยิบยารับประทานเอง 5. ลงบนั ทกึ ในสมดุ บนั ทกึ การใชบ้ ริการทุกคร้ัง กรณปี ระสงค์ขอเขา้ นอนพกั 1. ขออนญุ าตจากครูประจำ�ช้ันหรอื ประจ�ำ วิชาก่อนมานอนพัก 2. เจา้ หนา้ ทพี่ ยาบาลสอบถามอาการ และเปน็ ผอู้ นุญาตใหน้ อนพกั 3. ผูป้ ่วยลุกจากเตยี ง เกบ็ ที่นอนให้เรียบรอ้ ยทกุ ครง้ั 4. กรณที นี่ ักเรยี นไม่สบายหรอื ประสบอบุ ตั เิ หตุร้ายแรง หอ้ งพยาบาลจะน�ำ ส่งโรงพยาบาลและ แจง้ ให้ผูป้ กครองทราบ กรณีประสงค์จะท�ำ แผล 1. แผลเก่า ให้ท�ำ ในเวลาคาบพกั เทา่ นั้น 2. แผลใหม่ ท�ำ แผลไดต้ ลอดเวลาท่เี ปดิ บรกิ าร 3. ลงบนั ทกึ ในสมดุ บนั ทกึ การใช้บรกิ ารทุกคร้งั 4. งานประกนั อุบตั ิเหตุในโรงเรยี น การรับบริการโครงการสวสั ดกิ ารนักเรียนดา้ นประกนั อุบัติเหตุ โรงเรียนนคิ มวทิ ยาจัดให้มกี ารประกนั ภยั อบุ ัตเิ หตุส่วนบุคคลหม ู่ นกั เรยี นผทู้ ำ�ประกนั เสียค่าเบย้ี ประกันคนละ 260 บาทต่อปี มีรายละเอยี ดการได้รับสทิ ธ์ิ ดังนี้ 1. ให้ความคุ้มครองอบุ ัติเหตุตลอด 24 ช่วั โมง ทีเ่ กดิ ขนึ้ ทั้งในและนอกโรงเรยี น 2. ในกรณีดงั ต่อไปนี้ - อบุ ัตเิ หตุบนถนน ในแม่นำ้� บนเคร่ืองบิน - การประกอบกจิ กรรมต่างๆ เช่น จากการเล่นกีฬา การปฏิบตั งิ านในโรงเรยี น - การทดลองวิทยาศาสตร์ การทำ�กิจกรรมลูกเสอื เนตรนารี - การเดนิ ทางไปทัศนศึกษา - การถูกแมลงมพี ิษกัดตอ่ ย สนุ ขั กดั 3. เมอ่ื นกั เรยี นประสบอบุ ัติเหตุ สามารถเขา้ รบั การรกั ษาไดท้ ันทใี นสถานพยาบาลทั่วไป ทมี่ ี แพทย์แผนปจั จุบนั โดยใหเ้ ข้ารับการรกั ษาภายใน 24 ชวั่ โมง หรือโดยรวดเร็วเทา่ ที่สามารถทำ�ได้ 4. การให้ความคุ้มครอง การรกั ษาพยาบาลตอ่ อบุ ัตเิ หตแุ ตล่ ะคร้งั ไมเ่ กินคนละ 10,000 บาท (หน่งึ หมื่นบาทถว้ น) กรณเี สียชวี ติ บริษัทประกนั จา่ ยใหค้ นละ 100,000 บาท (หนึง่ แสนบาทถ้วน) 5. เอกสารท่ีต้องใชใ้ นการเบกิ คา่ รักษาพยาบาล 1. ใบเสร็จรบั เงินฉบบั จริงเท่าน้นั 2. ใบรับรองแพทย์ที่ระบุวา่ เป็น อบุ ตั เิ หตุ อะไร - ตดิ ตอ่ ห้องพยาบาลโรงเรียน โดยโรงเรยี นจะประสานกบั บรษิ ัทฯต่อไป หรือสามารถตดิ ตอ่ ที่สำ�นกั งานบรษิ ัทโดยตรง Nikhomwittaya School 37

ข้อยกเว้นประกนั ไม่จา่ ยคา่ สินไหมทดแทน 1. เจ็บปว่ ยธรรมดาท่ีไม่ได้เกิดจากอุบัตเิ หตุ 2. ปวดเมื่อย ปวดคอ ปวดหลัง กลา้ มเน้อื อักเสบ เอ็นอกั เสบ เป็นการเลน่ กฬี าหกั โหม 3. การเลน่ เครอ่ื งผาดโผน เลน่ สเกต็ สกี กระโดดรม่ เลน่ ประทดั พลุ ดอกไมไ้ ฟ วตั ถรุ ะเบดิ ปนื ลม 4. การทะเลาะววิ าท ภยั สงคราม ภยั จลาจล อบุ ตั เิ หตจุ ากการกระท�ำ ทอ่ี ยภู่ ายใตฤ้ ทธส์ิ รุ า ยาเสพตดิ การฆา่ ตัวตาย ทำ�ร้ายตัวเอง การก่ออาชญากรรม 5. อบุ ัตเิ หตทุ ่ีรกั ษาเกีย่ วกบั ฟัน เชน่ การรักษารากฟนั ใสเ่ ดือยฟัน ครอบฟัน ถอนฟนั อดุ ฟนั ขูด หินปูน ตอ่ เตมิ ฟนั บน่ิ ซอ่ มฟนั ปลอม ฯลฯ 6. การรกั ษาทางเวชกรรมหรือศลั ยกรรม การผ่าตดั หรือตกแต่ง 7. ค่าทำ�บตั ร คา่ บ�ำ รุง ค่าบรกิ ารอนื่ ๆ ค่าเบด็ เตล็ด คา่ ใช้จา่ ยตา่ งๆ ที่ไมเ่ กีย่ วขอ้ งกับการรกั ษา เช่น คา่ อาหาร ค่าไฟ ค่านติ เิ วช คา่ เวชทะเบียน ค่าปรึกษาแพทย์ คา่ รถพยาบาล ค่าไม้เทา้ ฯลฯ 5. ระเบยี บการใชห้ อ้ งสมดุ และห้องสบื ค้น ห้องสมุดเฉลิมพระเกยี รติกาญจนาภิเษก โรงเรยี นนคิ มวทิ ยา ห้องสมดุ หมายถงึ แหลง่ ท่รี วบรวมเอกสาร สงิ่ พมิ พ์ และสื่อการสอนที่มคี ุณภาพตรงกบั ความ ตอ้ งการและมบี ริการท่ีดีเพ่อื โอกาสแก่นักเรยี นไดเ้ ลือกศกึ ษาค้นคว้าตามความถนัด ความสามารถและ ความสนใจ โดยใชส้ อ่ื และบริการต่างๆ ทม่ี ีอยใู่ นห้องสมุดใหเ้ กิดประโยชน์อยา่ งคุ้มคา่ ทต่ี ้ัง อาคาร 1 ชั้นลา่ ง ด้านทศิ ตะวนั ออก พน้ื ท่ี 369 ตารางเมตร ขนาด 2 ห้อง บรรณารักษ ์ (หัวหน้างานหอ้ งสมุด) 1 คน ผชู้ ่วยบรรณารกั ษ ์ 3 คน เจา้ หนา้ ที่ห้องสมดุ หมวดวิชาต่างๆ 6 คน นกั การ 1 คน เวลาเปิดท�ำ การ วันจนั ทร์–ศุกร ์ เวลา 7.30 น.– 16.30 น. เว้นวันเสาร–์ อาทิตย์ และวันหยุดราชการอืน่ ๆ การสมัครเปน็ สมาชกิ หอ้ งสมุด 1. เปดิ รบั สมาชิกใหม่ทุกตน้ ปกี ารศกึ ษา เฉพาะนกั เรยี นชั้น ม.1 และ ม.4 และชัน้ อน่ื ทเี่ ขา้ เรยี น ใหม่ 2. ใหน้ ักเรียนใหม่ทุกคนสมคั รเปน็ สมาชกิ หอ้ งสมุด โดยเสยี ค่าสมคั รคนละ 5 บาท 3. ถา้ ทำ�บตั รหายจะตอ้ งเสียคา่ ทำ�บตั รใหม่เปน็ เงิน 10 บาท 4. การเป็นสมาชกิ จะสนิ้ สุดเมอื่ นักเรียนจบปกี ารศึกษา ชั้นม. 3 หรอื ม. 6 หรือ ลาออก 38  คูม่ อื นกั เรยี นโรงเรยี นนิคมวิทยา

ระเบยี บและขอ้ ปฏิบตั ิในการใชห้ อ้ งสมุด 1. แตง่ กายสภุ าพเรยี บร้อย 2. ไม่นำ�กระเป๋าหรือสง่ิ ของใดๆ เขา้ มาในห้องสมดุ ยกเวน้ ของมคี ่า เช่น เงนิ นาฬิกา เป็นต้น 3. ไมส่ ่งเสียงดังในหอ้ งสมดุ 4. ไมน่ �ำ อาหารและเครื่องดื่มเข้ามาในหอ้ งสมดุ 5. ไมท่ ิง้ ขยะหรอื เศษกระดาษลงบนพื้นห้องสมดุ 6. ก่อนออกจากห้องสมดุ เลอ่ื นเก้าอเ้ี ขา้ ท ่ี ปดิ พัดลม ปิดไฟใหเ้ รียบร้อย 7. ให้เจา้ หน้าทตี่ รวจหนงั สอื หรือส่งิ ของก่อนออกจากหอ้ งสมดุ 8. ปฏิบตั ิตามกฎระเบียบของหอ้ งสมุดอย่างเครง่ ครัด ระเบียบการยืมและคนื หนังสอื 1. ผเู้ ป็นเจา้ ของบตั รสมาชกิ ห้องสมุดเท่านน้ั จงึ จะใชบ้ ตั รยมื หนังสอื ได้ 2. นกั เรียนจะยมื หนังสอื ได้ไม่เกินคนละ 3 เล่ม 3. หนงั สอื 1 เล่มยมื ได้ไมเ่ กิน 7 วนั 4. สง่ หนังสือเกนิ กำ�หนด เสยี คา่ ปรับวันละ 1 บาท/ เลม่ 5. ทำ�หนงั สอื ช�ำ รดุ จะตอ้ งเสียค่าปรับตามความเหมาะสม 6. ทำ�หนังสอื หายจะต้องซื้อมาใชค้ นื และคา่ ลงทะเบียน 10 บาท หรือใช้เปน็ เงิน จ�ำ นวนเท่ากบั ราคาหนงั สอื และค่าลงทะเบยี น 10 บาท แหลง่ ขอ้ มลู ตา่ งๆ ในหอ้ งสมดุ 1. มุมเฉลิมพระเกียรติกาญจนาภเิ ษก เป็นสัญลกั ษณ์ของห้องสมุด เพื่อเฉลิมพระเกยี รติ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั 2. มมุ พระราชนิพนธ์ รวบรวมงานพระราชนพิ นธ์ของทุกพระองค์ในรัชกาลปัจจุบนั 3. มุมวฒั นธรรม (พิพธิ ภณั ฑข์ องเกา่ ) รวบรวมสอื่ เครอ่ื งมอื เครอ่ื งใช้ในบ้านของไทย 4. มมุ หนงั สืออ้างองิ รวบรวมหนงั สอื ท่ีมคี ณุ ค่า เป็นประโยชนต์ ่อการศึกษาคน้ คว้า 5. มมุ พักผ่อน ให้บรกิ ารหนงั สอื เอกสาร ส่งิ พมิ พ์ เพอ่ื ความบนั เทงิ ของผูอ้ ่าน 6. เคาน์เตอรบ์ ริการยมื – คนื หนังสือ รวมทัง้ บรกิ ารตอบคำ�ถามและช่วยการคน้ คว้า 7. ปา้ ยนิเทศ ใหค้ วามร้แู กผ่ ู้ใชห้ ้องสมุด มุมหนังสอื ลงทะเบยี นใหม ่ แสดงหนงั สือทีจ่ ัดหามา ใหมพ่ รอ้ มนำ�ออกใหบ้ รกิ ารแก่ผ้อู า่ น ห้องสบื คน้ (Resource Center) หอ้ งสบื คน้ เป็นส่วนหนงึ่ ของแหลง่ เรียนร้ภู ายในโรงเรียนนิคมวิทยา เปดิ ให้บริการอินเตอรเ์ นต็ พิมพ์งานและบรกิ ารสบื คน้ ตา่ งๆ จ�ำ นวน 18 เครื่อง เวลาเปดิ ทำ�การ วันจันทร–์ ศกุ ร์ เวลา 7.30 น.– 16.30 น. เวน้ วันเสาร์–อาทิตย์ และวนั หยดุ ราชการอืน่ ๆ Nikhomwittaya School 39

ข้อปฏิบตั ิในการใชห้ ้องสบื คน้ 1. ลงชือ่ ในสมดุ บันทึกการใชห้ ้องสืบค้นทกุ คร้ัง 2. วางกระเปา๋ และส่งิ ของไวท้ ่ชี ัน้ วางของห้องสมดุ 3. แตง่ กายเรยี บรอ้ ยถูกตอ้ งตามระเบยี บของโรงเรียน 4. ไม่น�ำ อาหารและเคร่ืองดม่ื เข้ามาในบรเิ วณห้องสืบค้น ไม่เลน่ เกมสห์ รอื การพนนั โดยใชเ้ ครอ่ื ง คอมพวิ เตอร์ของหอ้ งสมุด 6. ทนุ การศกึ ษา 6.1 การขอทุนกองทนุ เงนิ ใหก้ ูย้ มื เพ่ือการศกึ ษา คณุ สมบตั ิของนักเรยี น 1) เป็นนกั เรยี นช้ันมัธยมศกึ ษาปีท่ี 4-6 2) มีสัญชาตไิ ทย 3) รายไดค้ รอบครวั รวมกันไม่เกนิ 200,000 บาท ตอ่ ปี 4) มคี ะแนนเฉลีย่ สะสมไม่นอ้ ยกว่า 2.00 ขนั้ ตอนการขอก้ยู มื เงินฯ กยศ. นกั เรียนที่มีความประสงคจ์ ะขอกยู้ มื เงินกองทนุ ให้กู้ยืมเพือ่ การศกึ ษา (กยศ.) ต้องด�ำ เนนิ การขอกู้ ยมื ผ่านระบบ e-studentloan.or.th โดยปฏบิ ตั ิตามข้ันตอน ดังน ้ี 1) ลงทะเบยี นขอรหัสผา่ นเพือ่ เขา้ ระบบ e-studentloan.or.th (สำ�หรบั นักเรยี นทีย่ งั ไม่เคย ลงทะเบียน) 2) ย่ืนแบบค�ำ ขอกู้ในระบบ ผทู้ มี่ ีรหสั ผา่ นแลว้ สามารถเข้าระบบไปกรอกแบบคำ�ขอกใู้ นระบบ e-studentloan.or.th ระบเุ ลือกความประสงค์ขอกู้ค่าเลา่ เรียน/คา่ ครองชพี 3) รอสถานศึกษาสัมภาษณเ์ พอื่ คดั เลอื กผู้มีสิทธ์ิกูย้ ืมเงินฯ 4) ผกู้ ยู้ มื ท่ีผ่านการคดั เลือก ใหเ้ ปดิ บัญชอี อมทรพั ย์กับธนาคารกรงุ ไทยสาขาใดก็ได้ และทำ� สัญญาผา่ นระบบพร้อมส่งเอกสารจำ�นวน 2 ชดุ 5) ลงลายมอื ชอ่ื แบบยนื ยนั ค่าเลา่ เรียน/คา่ ครองชพี เมอื่ สถานศกึ ษาตรวจสอบความถกู ต้องของ สญั ญาเป็นท่เี รยี บร้อยแล้ว เอกสาร/หลกั ฐานประกอบการขอกูย้ ืมเงนิ กองทนุ ฯ (กยศ.) 1) แบบคำ�ขอกู้ยมื 2) สำ�เนาทะเบียนบา้ นและสำ�เนาบัตรประจำ�ประชาชนของนกั เรียนและบิดามารดา 3) ส�ำ เนาหน้าสมุดบญั ชี 4) หลักฐานการเปล่ียนชื่อ-สกลุ และเอกสารอ่นื ๆ การขอทุนปจั จยั พน้ื ฐานนกั เรยี นยากจน คณุ สมบตั ิของนักเรยี น 1) เป็นนักเรยี นชัน้ มัธยมศกึ ษาปที ่ี 1-3 2) รายไดค้ รอบครัวรวมกนั ไม่เกนิ 40,000 บาท ต่อปี 40  คมู่ ือนักเรียนโรงเรียนนิคมวิทยา

3) มีความประพฤตดิ ี ต้ังใจเรียน ขน้ั ตอนการขอทุนปจั จัยพนื้ ฐานนักเรียนยากจน 1) สพม.ชลบุรี ระยอง แจง้ ผลการพิจารณาจดั สรรจ�ำ นวนนกั เรียนรบั ทนุ ปัจจัยพื้นฐานนักเรียน ยากจนให้สถานศึกษา 2) สถานศึกษาแต่งตัง้ คณะกรรมการพจิ ารณานักเรยี น โดยมีครูท่ปี รึกษาเป็นผพู้ จิ ารณาคดั เลือก นักเรยี นรับทุนปัจจยั พ้นื ฐานฯ และประกาศรายชอ่ื นักเรียนที่ไดร้ ับทนุ ฯ 3) นกั เรยี นทไ่ี ดร้ ับการพจิ ารณารับทนุ ฯ ลงลายมือชื่อรับทราบ การขอทุนการศึกษาประจ�ำ ปี คุณสมบัติของนักเรยี น 1) เปน็ นักเรยี นชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 1-6 2) ครอบครวั มรี ายไดน้ อ้ ย 3) มีผลการเรียนดี มคี วามประพฤตดิ ี และมีจิตสาธารณะ ขน้ั ตอนการขอทนุ การศกึ ษาประจำ�ปี 1) นักเรียนกรอกแบบคำ�ขอรบั ทนุ ที่หอ้ งบรหิ ารทว่ั ไป 2) คณะกรรมการพจิ ารณาคดั เลอื กนกั เรยี นรับทนุ การศึกษา 3) ประกาศรายชือ่ นักเรยี นท่ไี ดร้ ับทนุ การศกึ ษา 4) นักเรียนรับทุนการศึกษา 7. ธนาคารโรงเรยี น วธิ ีการเปดิ บญั ชี ลูกค้าธนาคาร ไดแ้ ก่ นักเรยี น ครู บคุ ลากร ภายในโรงเรียน การฝาก การเปิดบัญชีคร้ังแรก 20 บาท และคร้งั ต่อไปไมต่ ำ�่ กว่า 1 บาท การถอน การถอนเงินถา้ มากกว่า 1,000 ต้องแจ้งลว่ งหนา้ อยา่ งน้อย 1 วัน การถอนเงิน สามารถถอนไดไ้ ม่เกนิ รอ้ ยละ 50 ของยอดบัญชเี งินฝาก การปดิ บญั ชี สิน้ ปกี ารศึกษาส�ำ หรบั นกั เรียนระดับมธั ยมศึกษาปีท่ี 3 และปีที่ 6 เวลาท�ำ การ - ทกุ วนั จนั ทร–์ ศุกร ์ เวลา 07.00-07.30 น. (ฝาก-ถอน ได้ทกุ ระดับช้นั ) - วันจนั ทร์ และวนั อังคาร เวลา 12.00-12.30 น. (ฝาก-ถอน ได้ส�ำ หรับระดับชนั้ ม.ปลาย ) - วันพธุ –วนั ศกุ ร์ เวลา 11.10-11.30 น. (ฝาก-ถอน ได้ส�ำ หรับระดบั ชนั้ ม.ต้น ) การจ่ายดอกเบยี้ ก�ำ หนดการจา่ ยดอกเบ้ยี ปีละ 0.50 % โดยจะจ่ายให้ภายในเดือน มนี าคม ของ ทุกปี ข้อมูลอ่ืนๆ ท่ีนักเรยี นควรรู้ เพื่อความมน่ั คงในอนาคต และเป็นการปฏบิ ตั ิตนตามปรชั ญาของ เศรษฐกจิ พอเพียง นักเรยี นทกุ คนควรมสี มดุ บนั ทกึ รายรับ-รายจา่ ยของตวั เอง Nikhomwittaya School 41

8. รา้ นค้าสวสั ดิการ โรงเรยี นนคิ มวิทยามรี ้านค้าบริการจ�ำ หน่ายสนิ ค้าและเครอื่ งดม่ื อยู่ 2 จดุ คอื 8.1 รา้ นขายน้ำ�ปนั่ อนญุ าตให้นกั เรียนซอ้ื เฉพาะช่วงเวลาพัก ใหร้ บั ประทานในบรเิ วณที่ก�ำ หนด ห้ามน�ำ ขึ้นไปรับประทานบนอาคารเรียน 8.2 ร้านจ�ำ หนา่ ยขนมและอปุ กรณ์การเรียน อนญุ าตให้นกั เรยี นซ้ือไดเ้ ฉพาะชว่ งเวลาพกั ดังน้ี ช่วงเชา้ กอ่ นเวลา 07.45 น. และ 08.10–08.35 น. พักกลางวนั ม.ต้น 11.30–11.50 น. พักกลางวนั ม.ปลาย 12.00–12.40 น. หลังเลกิ เรียน ต้งั แต่ 15.20 น. เป็นต้นไป ยกเว้นนำ�้ เปล่าท่ีอนุโลมให้ซื้อได้แตต่ ้องไม่กระทบกับการเรยี น เพื่อเป็นการส่งเสริมให้นักเรียนเข้าเรียนตรงเวลาจึงให้ร้านสวัสดิการทุกร้านงดจำ�หน่ายสินค้าทุก ชนดิ ต้ังแต่เวลา 8.35 น.–9.00 น. 9. การซอ้ื อุปกรณ์การเรียนและชดุ พลศึกษา โรงเรยี นไดจ้ ดั บรกิ ารจ�ำ หนา่ ยอุปกรณ์การเรยี น ได้แก่ สมุด, กระดาษรายงาน, กระเป๋าเป้, กระเป๋า สมั ภาระแบบถือ, ชุดพลศกึ ษา, ถุงเท้านกั เรียน ตามเวลาท่ีประกาศหนา้ หอ้ งบรหิ ารท่ัวไป คอื ชว่ งเชา้ จ�ำ หน่ายเวลา 08.10–08.30 น. ช่วงพักกลางวนั ม.1 และ ม.2 11.30–11.50 น. ชว่ งพกั กลางวนั ม.3 และ ม.ปลาย 12.20–12.40 น. จะไมจ่ ำ�หนา่ ยนอกช่วงเวลาท่ีก�ำ หนด ขอให้นักเรยี นวางแผนการซื้อใหด้ ี หากมาแล้วไม่พบครใู ห้ นักเรยี นตดิ ตอ่ คณุ จารุวรรณ ทหี่ น้าหอ้ งผอู้ �ำ นวยการ 42  คมู่ ือนกั เรยี นโรงเรยี นนิคมวทิ ยา

ระเบียบโรงเรยี นนคิ มวทิ ยา วา่ ด้วย แนวทางการปฏบิ ตั ิตนและความประพฤตขิ องนักเรียน พ.ศ. 2565 เพ่ือเปน็ การวางแนวทางการปฏบิ ัติตนและความประพฤติของนักเรียนโรงเรียนนิคมวทิ ยา อ�ำ เภอ นคิ มพัฒนา จงั หวดั ระยอง ให้เป็นไปด้วยความเรยี บรอ้ ย ชัดเจน และมีประสทิ ธิภาพ และโดยท่เี ปน็ การ สมควรแกไ้ ขระเบยี บโรงเรียนนคิ มวิทยา ว่าด้วยแนวปฏิบัตดิ ้านกจิ การนักเรยี น พ.ศ. 2559 เพอ่ื กำ�หนด แนวทางการปฏิบัตติ นของนักเรยี นให้เปน็ ปัจจบุ ัน รวมท้ังควบคมุ ความประพฤติของนักเรยี นให้อย่ใู น ระเบยี บวนิ ยั และมีคุณธรรม จริยธรรมยิ่งข้ึน อาศยั อำ�นาจตามความในมาตรา 64 และมาตรา 65 แห่งพระราชบญั ญตั ิคุ้มครองเด็ก พ.ศ.2546, อำ�นาจตามความในข้อแห่งกฎกระทรวงกำ�หนดความประพฤติของนักเรียนและนักศึกษา  พ.ศ.2548, อำ�นาจ ตามระเบียบกระทรวงศึกษาธกิ ารว่าด้วยเครอื่ งแบบนกั เรียน พ.ศ. 2551 และระเบียบกระทรวง ศึกษาธิการ วา่ ดว้ ยการไวท้ รงผมของนักเรยี น พ.ศ.2563 บญั ญัตใิ หก้ ระท�ำ ไดโ้ ดยอาศัยอำ�นาจตามบญั ญัติ แหง่ กฎหมาย โรงเรียนนิคมวิทยา จึงได้ยกเลิกระเบยี บโรงเรยี นนิคมวิทยา ว่าด้วยแนวทางการปฏิบัติดา้ น กิจการนกั เรียน พุทธศักราช 2559 และใหใ้ ชร้ ะเบยี บฉบับน้ี เพ่อื เป็นแนวทางการปฏิบัติต่อไป ดังน้ี หมวดที่ 1 ขอ้ ความทัว่ ไป ขอ้ 1 ระเบียบนีเ้ รยี กว่า “ระเบยี บโรงเรียนนิคมวิทยา วา่ ดว้ ยแนวทางการปฏิบตั ติ นและความ ประพฤติของนกั เรยี น พ.ศ. 2565” ขอ้ 2 ระเบียบนใี้ หม ีผลบงั คบั ใชตงั้ แตว่ ันท่ี 9 พฤษภาคม 2565 เปน็ ตน้ ไป ขอ้ 3 ในระเบยี บนี้ “โรงเรียน” หมายถงึ โรงเรียนนคิ มวิทยา “ผอู้ ำ�นวยการ” หมายถงึ ผู้อำ�นวยการโรงเรยี นนคิ มวทิ ยา “รองผูอ้ ำ�นวยการ” หมายถึง รองผู้อ�ำ นวยการทไี่ ดร้ ับแตง่ ตั้งให้ปฏิบตั ิหน้าทีด่ ูแล กล่มุ งานกิจการนกั เรียน “คร”ู หมายถึง ครูทีป่ ฏบิ ัตหิ น้าที่ปจั จุบันในโรงเรยี นนคิ มวทิ ยา “หัวหน้ากลุ่มงานกิจการนกั เรยี น” หมายถึง ครทู ่ีไดร้ ับการแตง่ ตัง้ ตามคำ�ส่ังของ โรงเรียนให้ปฏิบัติหน้าท่ีหัวหน้ากลุ่มงานกิจการนักเรียน “ครูทปี่ รกึ ษา” หมายถงึ ครูท่ีได้รบั การแต่งต้ังตามคำ�สั่งโรงเรยี นให้ปฏิบัติ หนา้ ทีค่ รทู ปี่ รึกษา “นกั เรียน” หมายถึง นักเรียนทก่ี �ำ ลงั ศึกษาอยู่ ณ โรงเรียนนิคมวิทยา “ผ้ปู กครอง” หมายถงึ ผทู้ ่ีได้ลงชื่อเป็นผู้ปกครองนักเรียนในเอกสารมอบตัว นักเรียนที่ใหไ้ ว้กบั โรงเรยี นนคิ มวทิ ยา “คณะกรรมการ” หมายถึง คณะกรรมการกลมุ่ สง เสรมิ กจิ การนกั เรียนโรงเรยี น นคิ มวิทยา Nikhomwittaya School 43

หมวดที่ 2 การแตง่ กายของนกั เรียน ขอ้ 4 การแตง่ กาย นักเรียนตอ้ งแต่งกายโดยใช้เครอ่ื งแบบทถ่ี กู ต้องตามระเบยี บของกระทรวง ศึกษาธกิ าร และระเบียบขอ้ บังคับอน่ื ๆท่เี กี่ยวขอ้ ง ดังตอ่ ไปนี้ 4.1 ระดับชั้นมธั ยมศกึ ษาตอนต้น นกั เรยี นชาย 1) เส้ือ เป็นเส้อื เชิ้ตคอตงั้ เน้อื ผ้าสีขาวเกล้ยี ง ไม่บางเกินควร ผ่าอกตลอด สาบเสอื้ กวา้ ง 4 เซนตเิ มตร ใชก้ ระดุมสขี าวกลมแบน เสน้ ผ่าศนู ย์กลางไม่เกนิ 1 เซนติเมตร แขนพบั เข้าดา้ นใน ไม่ผ่า ยาว เพยี งศอก แผน่ ปกไม่ตดิ กระดุม ไมม่ ีจีบหลงั มกี ระเป๋าท่อี กด้านซา้ ยขนาด 8 – 10 เซนตเิ มตร และลกึ 10 – 15 เซนตเิ มตร หรือขนาดพอเหมาะกบั ตวั เสอื้ 2) กางเกง ใชก้ างเกงสีกากี มจี บี ดา้ นหนา้ เปน็ จบี กลบั 2 จบี มหี ขู นาด 0.8 เซนติเมตร จำ�นวน 7 หู ขาสน้ั เพยี งเหนอื เข่าจากกลางสะบา้ เขา่ ขน้ึ ไปประมาณ 3 – 5 เซนติเมตร เมือ่ ยืนตรง สว่ นความ กว้างของกางเกงให้ห่างจากขากางเกงตัง้ แต่ 8 – 10 เซนตเิ มตร ปลายขากางเกงพบั เข้าดา้ นในกวา้ ง 5 เซนตเิ มตร มกี ระเปา๋ ตามแนวตะเขบ็ ขา้ งละใบ ไม่มกี ระเป๋าหลัง ห้ามใช้ผ้ายีนส์ ผา้ เวสปอยส์ สวมทับชาย เสอ้ื ให้เห็นเข็มขดั 3) เข็มขัด เปน็ หนังสีน้�ำ ตาล หัวเขม็ ขดั เปน็ หัวเขม็ ขัดลกู เสอื หรอื เป็นโลหะรปู สีเ่ หลีย่ มผืนผา้ มุมมนสีทอง ชนดิ หัวกลดั สอดไว้ในหกู างเกงให้เรียบร้อย 4) รองเทา้ ใหใ้ ชร้ องเทา้ หุ้มส้นชนดิ ผกู เชอื กเป็นผา้ ใบสนี ้�ำ ตาล ไม่มลี วดลาย เชือกและขอบ ยางเปน็ สีเดียวกันกบั ผ้าใบรองเทา้ มรี ูร้อยเชือกตาไก่ ไม่ห้มุ ข้อ สน้ สงู ไมเ่ กนิ 3 เซนตเิ มตร 5) ถงุ เทา้ ใหใ้ ช้ถงุ เท้าสีน้ำ�ตาลยาวคร่งึ นอ่ ง ไมม่ ลี วดลาย ห้ามใชช้ นิดขนสตั ว์หรือลูกฟูกและ ห้ามพับเวลาสวมใส่ นักเรียนหญงิ 1) เสื้อทรงกะลาสี ผ้าขาวเกลี้ยงไม่บางเกนิ ควร มปี กกะลาสี ขนาด 10 เซนติเมตร สาบเส้อื ตลบเขา้ ดา้ นใน สว่ นบนขอบใหญแ่ ละไมเ่ หน็ ตะเข็บดา้ นใน รอยต่อแขนพอดไี หล่ แขนยาวเหนือขอ้ ศอก เล็กน้อย ปลายแขนมี 6 จีบ ขอบแขนประกอบดว้ ยผา้ 2 ชั้น กวา้ ง 3 เซนติเมตร ชายขอบเสื้อด้านลา่ ง มีรอยพับใหญไ่ ม่เกิน 3 เซนติเมตร ขนาดของตัวเสื้อกวา้ งพอเหมาะกบั ตัวไมเ่ ข้ารปู รมิ ขอบล่างดา้ นขวา ตดิ กระเป๋าขนาดกว้าง 5 – 9 เซนตเิ มตร ยาว 7 – 10 เซนติเมตร 1 กระเป๋า ใช้ผา้ ผูกคอสีกรมทา่ ชาย สามเหลี่ยมทรงกะลาสี กวา้ ง 7 – 8 เซนติเมตร มดั เง่อื นกะลาสี และสวมเส้อื ซบั ในสขี าว 2) กระโปรง ใชผ้ า้ สีกรมทา่ ไม่มีลวดลาย ขอบเอวกระโปรงไม่มหี ู ด้านหน้าและด้านหลงั พบั เป็นจีบ ขา้ งละ 3 จบี หันจีบออกดา้ นนอก เยบ็ ทบั จีบขอบข้างลงมา 6 – 10 เซนติเมตร จีบลึก 2.5 เซนติเมตร ถึงชายกระโปรง ตอ้ งเปน็ ลักษณะกระโปรงบาน ความยาวของกระโปรงยาวคลมุ เข่าวดั จาก กลางสะบา้ หัวเข่าลงมาประมาณ 10 เซนติเมตร 3) รองเท้า เป็นรองเทา้ หนงั สดี �ำ ไม่มลี วดลาย ชนดิ หุ้มส้นหุม้ ปลายเท้า หวั มน มสี ายรัดหลัง เท้า สน้ สูงไม่เกิน 3 เซนติเมตร 4) ถุงเทา้ ให้ใชถ้ งุ เท้าสีขาว ไม่มีลวดลาย เวลาสวมพับปลายให้พอเหมาะ ยาวเหนอื ตาตมุ่ ไม่ ตำ่�กว่า 4 เซนติเมตร หา้ มใชถ้ ุงเทา้ ไนลอนบางหรอื ลูกฟูก 44  คูม่ ือนกั เรียนโรงเรียนนิคมวทิ ยา

4.2 ระดบั ชัน้ มธั ยมศึกษาตอนปลาย นกั เรียนชาย 1) เสอ้ื เปน็ เสือ้ เชิต้ คอตงั้ เน้ือผ้าสีขาวเกล้ียง ไมบ่ างเกินควร ผา่ อกตลอด สาบเส้ือกวา้ ง 4 เซนตเิ มตร ใชก้ ระดุมสีขาวกลมแบน เสน้ ผา่ ศนู ยก์ ลางไมเ่ กิน 1 เซนติเมตร แขนพบั เข้าดา้ นใน ไม่ผ่า ยาว เพียงศอก แผน่ ปกไมต่ ดิ กระดุม ไม่มีจบี หลงั มีกระเป๋าทีอ่ กดา้ นซ้ายขนาด 8 – 10 เซนติเมตร และลกึ 10 – 15 เซนติเมตร หรือขนาดพอเหมาะกบั ตวั เสอื้ 2) กางเกง ใช้กางเกงสีด�ำ มีจีบดา้ นหนา้ เป็นจบี กลับ 2 จบี มีหขู นาด 0.8 เซนตเิ มตร จ�ำ นวน 7 หู ขาส้ันเพียงเหนอื เขา่ จากกลางสะบา้ เขา่ ขน้ึ ไปประมาณ 3 – 5 เซนติเมตร เมือ่ ยืนตรง สว่ นความ กวา้ งของกางเกงใหห้ ่างจากขากางเกงตัง้ แต่ 8 – 10 เซนติเมตร ปลายขากางเกงพับเข้าดา้ นในกว้าง 5 เซนติเมตร มีกระเปา๋ ตามแนวตะเขบ็ ข้างละใบ ไม่มีกระเป๋าหลงั หา้ มใชผ้ า้ ยีนส์ ผ้าเวสปอยส์ สวมทับชาย เสอื้ ให้เห็นเข็มขดั 3) เข็มขัด เปน็ หนังสดี �ำ หัวเขม็ ขดั เป็นโลหะรปู สี่เหลี่ยมผนื ผ้ามุมมนสที อง ชนดิ หวั กลัด สอด ไวใ้ นหกู างเกงให้เรยี บรอ้ ย 4) รองเทา้ ใหใ้ ช้รองเท้าหุ้มสน้ ชนดิ ผูกเชอื กเปน็ ผ้าใบสดี �ำ ไม่มลี วดลาย เชอื กและขอบยาง เปน็ สเี ดยี วกนั กบั ผา้ ใบรองเทา้ มีรูร้อยเชอื กตาไก่ ไม่หมุ้ ขอ้ ส้นสงู ไมเ่ กิน 3 เซนตเิ มตร 5) ถงุ เทา้ ให้ใช้ถุงเท้าสขี าวยาวครึ่งนอ่ ง ไมม่ ีลวดลาย ห้ามใชช้ นดิ ขนสตั ว์หรือลูกฟกู และ ห้ามพับเวลาสวมใส่ นกั เรยี นหญิง 1) เสอื้ ใชผ้ ้าขาวเกล้ียง ไมบ่ างจนเกนิ ควร ปกเชติ้ สาบพบั เขา้ ดา้ นใน ไมเ่ ดินเส้น แขนจับจบี 6 จีบ จบี กลางใหญ่ประมาณ 4 เซนตเิ มตร ปลายขอบแขนใหญป่ ระมาณ 3 เซนตเิ มตร ความยาวเพยี ง เหนอื ศอก ตน้ แขนและปลายแขนจบี เลก็ นอ้ ย ตดั หลวมพอเหมาะ ไม่รัดรูป สวมเข้าข้างในประโปรง 2) กระโปรง ใช้ผ้าสกี รมท่า ไม่มีลวดลาย ขอบเอวกระโปรงไม่มีหู ด้านหนา้ และดา้ นหลงั พบั เป็นจีบ ขา้ งละ 3 จีบ หันจบี ออกดา้ นนอก เย็บทับจบี ขอบขา้ งลงมา 6 – 10 เซนติเมตร จีบลกึ 2.5 เซนติเมตร ถึงชายกระโปรง ตอ้ งเปน็ ลักษณะกระโปรงบาน ความยาวของกระโปรงยาวคลมุ เขา่ วดั จาก กลางสะบ้าหัวเขา่ ลงมาประมาณ 10 เซนตเิ มตร 3) เขม็ ขัด เปน็ เขม็ ขดั หนังสดี �ำ กวา้ งประมาณ 3 เซนตเิ มตร หัวเขม็ ขดั เปน็ รูปส่เี หล่ยี มผืนผ้า สดี �ำ ชนดิ หัวกลดั คาดเขม็ ขัดให้พอดีเอว ทบั ชายเสอ้ื ให้เห็นเขม็ ขดั (หา้ มใชต้ ัวหนีบหรอื ของตกแตง่ ปลาย เข็มขัด) 4) รองเท้า เป็นรองเท้าหนงั สีด�ำ ไม่มีลวดลาย ชนิดหมุ้ ส้นห้มุ ปลายเทา้ หัวมน มีสายรดั หลัง เทา้ ส้นสูงไมเ่ กิน 3 เซนติเมตร 5) ถงุ เทา้ ให้ใช้ถงุ เท้าสีขาว ไมม่ ลี วดลาย เวลาสวมพบั ปลายใหพ้ อเหมาะ ยาวเหนือตาตุม่ ไม่ต่ำ�กวา่ 4 เซนติเมตร หา้ มใชถ้ ุงเท้าไนลอนบางหรอื ลูกฟกู Nikhomwittaya School 45

4.3 ชดุ พลศกึ ษา นักเรียนชายชน้ั มธั ยมศึกษาตอนต้น 1) เสอื้ พลศกึ ษา เป็นเสอ้ื โปโลสีเขยี วของโรงเรียน 2) กางเกงวอรม์ ใช้กางเกงวอรม์ ตามแบบท่ีโรงเรยี นก�ำ หนดเทา่ นน้ั 3) รองเท้าและถงุ เท้าชดุ พลศกึ ษาใหใ้ ช้แบบเดียวกบั ชดุ นกั เรยี น นักเรยี นหญงิ ชั้นมธั ยมศกึ ษาตอนตน้ 1) เสื้อพลศกึ ษา เป็นเสอ้ื โปโลสีเขียวของโรงเรยี น ใส่เส้ือซับในสขี าว 2) กางเกงวอร์ม ใชก้ างเกงวอร์มตามแบบท่ีโรงเรียนกำ�หนดเท่านั้น 3) รองเทา้ ใหใ้ ช้รองเท้าหุ้มส้นชนิดผกู เชือกเปน็ ผา้ ใบสขี าว ไม่มีลวดลาย เชอื กและขอบยาง เป็นสเี ดียวกนั กับผ้าใบรองเท้า มรี รู อ้ ยเชอื กตาไก่ ไม่ห้มุ ข้อ ส้นสงู ไมเ่ กิน 3 เซนตเิ มตร 4) ถุงเท้า ใชแ้ บบเดียวกบั ชุดนกั เรียน นกั เรียนชายชั้นมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย 1) เสื้อพลศึกษา เป็นเสื้อโปโลสฟี ้าของโรงเรียน 2) กางเกงวอรม์ ใชก้ างเกงวอร์มตามแบบท่ีโรงเรยี นก�ำ หนดเท่านั้น 3) รองเทา้ และถงุ เท้าชดุ พลศกึ ษาใหใ้ ชแ้ บบเดยี วกับชดุ นกั เรยี น นกั เรยี นหญิงชนั้ มธั ยมศึกษาตอนปลาย 1) เส้อื พลศกึ ษา เป็นเสอ้ื โปโลสฟี ้าของโรงเรยี น ใส่เสอื้ ซับในสขี าว 2) กางเกงวอรม์ ใชก้ างเกงวอรม์ ตามแบบที่โรงเรยี นก�ำ หนดเท่านนั้ 3) รองเทา้ ให้ใช้รองเทา้ หมุ้ สน้ ชนดิ ผูกเชือกเปน็ ผา้ ใบสขี าว ไมม่ ีลวดลาย เชอื กและขอบยาง เปน็ สเี ดียวกนั กบั ผ้าใบรองเทา้ มรี รู อ้ ยเชือกตาไก่ ไมห่ ุม้ ขอ้ สน้ สงู ไม่เกนิ 3 เซนติเมตร 4.4 การปกั เครอ่ื งหมาย ใหป้ ักด้วยไหมสีน�้ำ เงิน ชุดนักเรยี น 1) ใหป้ กั เครื่องหมาย น.ว. ทีอ่ กเสอ้ื ด้านขวา เหนือราวนมเต็มตวั อกั ษรตามแบบทกี่ ำ�หนด 2) ปักเลขประจำ�ตวั ดา้ นล่าง น.ว. 3) ปกั ชอ่ื – นามสกุล บนกระเปา๋ ดา้ นซา้ ยมือ 4) ปกั ดาวเหนอื ช่ือ – สกุล ตรงกลาง ตามแบบทก่ี �ำ หนด ชดุ พลศกึ ษา ปักชื่อทอี่ กเสอ้ื ด้านขวา ปกั ดาวเหนือช่อื – สกุล ตรงกลาง ตามแบบท่ีก�ำ หนด 46  คูม่ อื นกั เรยี นโรงเรียนนคิ มวิทยา

แบบปกั เสอ้ื นกั เรียน (ช่ือย่อโรงเรยี น ขนาด 1 เซนติเมตรสนี ำ้�เงนิ ) น.ว. ๑๒๓๔๕ (เลขประจ�ำ ตวั นกั เรียน เลขไทย ขนาด 1 เซนติเมตร ใต้ น.ว.)  รกั เรียน เพียรศกึ ษา (ชื่อ–นามสกลุ ภาษาไทย ขนาด 0.5 เซนติเมตรปักดาวสีนำ�้ เงินตรงกลางเหนอื ชือ่ ) ม.1 และ ม.4 ปกั  ม.2 และ ม.5 ปกั  ม.3 และ ม.6 ปัก  Nikhomwittaya School 47

4.5 เครื่องแบบลูกเสอื – เนตรนารี เปน็ ไปตามกฎกระทรวงหรือทโ่ี รงเรียนกำ�หนด 4.6 เคร่ืองแบบนกั ศกึ ษาวชิ าทหาร เป็นไปตามกฎกระทรวงกลาโหม 4.7 โบว์ผูกผม ใหใ้ ช้ตามแบบทโ่ี รงเรยี นก�ำ หนด 4.8 กระเป๋าหนังสอื ใช้กระเป๋านักเรียนธรรมดา หรอื กระเป๋าเป้ตามแบบท่โี รงเรยี นก�ำ หนดเทา่ น้นั สำ�หรับกระเป๋า เสรมิ อนุญาตให้ใช้เฉพาะของโรงเรียนเทา่ นั้น 4.9 บัตรประจำ�ตวั นักเรียน นักเรียนทุกคนต้องมีบัตรประจำ�ตัวนักเรียนที่โรงเรียนออกให้นอกเหนือจากบัตรประจำ�ตัว ประชาชน นกั เรียนจะขอมบี ตั รใหม่ได้ในกรณีตอ่ ไปน้ี 1) นักเรียนเขา้ ใหม่ทกุ ระดับชัน้ 2) เปลยี่ นชอ่ื ตวั ชื่อสกลุ 3) บตั รหายหรอื ชำ�รุด 4.10 ระเบียบการแตง่ กายอน่ื ๆ ใหอ้ ย่ใู นดุลยพินจิ ของคณะกรรมการกจิ การนักเรยี น หมวดที่ 3 ทรงผมนกั เรียน ขอ้ 5 นักเรยี นตอ้ งปฏบิ ตั ิตนเก่ียวกับการไวท้ รงผม ดงั น้ี (1) นักเรยี นชาย จะไว้ผมส้ันหรือผมยาวก็ได้ กรณไี ว้ผมยาวด้านข้าง ด้านหลงั ตอ้ งยาว ไม่เลยตีนผม ดา้ นหน้าและกลางศีรษะให้เป็นไปตามเหมาะสมและมีความเรยี บรอ้ ย (2) นักเรียนหญงิ นักเรยี นหญงิ จะไว้ผมสั้นหรอื ยาวก็ได้ กรณไี ว้ผมยาวใหเ้ ปน็ ไปตามความ เหมาะสมและรวบใหเ้ รยี บร้อย ข้อ 6 นักเรียนตอ้ งห้ามปฏิบัตติ น ดงั นี ้ (1) ดัดผม (2) ยอ้ มสีผมให้ผดิ ไปจากเดมิ (3) ไว้หนวดหรอื เครา (4) การกระท�ำ อื่นใดซ่ึงไมเ่ หมาะสมกับสภาพการเป็นนกั เรียน เชน่ การตัดแตง่ ทรงผม เปน็ รูปทรงสัญลกั ษณห์ รอื เป็นลวดลาย 48  คมู่ ือนกั เรียนโรงเรียนนคิ มวทิ ยา

หมวดท่ี 4 เครือ่ งประดับ การเจาะหู การไวเ้ ล็บ การสัก การแต่งหน้า ข้อ 7 หา้ มนักเรยี นสวมใสเ่ คร่ืองประดับทุกชนิดมาโรงเรยี น ยกเว้นนาฬิกาแบบสุภาพ หากคล้อง พระให้ใช้สร้อยเงนิ หรอื สแตนเลส ขนาดเล็กลายสุภาพ เมือ่ สวมใส่ต้องมคี วามยาวสร้อยอยภู่ ายในเสอื้ นกั เรียนอยา่ งมดิ ชดิ และทางโรงเรียนจะไมร่ บั ผดิ ชอบกรณีเกิดการสูญหาย ข้อ 8 การเจาะหู การไวเ้ ลบ็ การสกั การแต่งหนา้ (1) ห้ามนกั เรยี นหญิงเจาะหูเกินข้างละ 1 รู ถ้าใส่ต่างหใู ห้เปน็ ต่างหหู ่วงเลก็ หา้ มใสต่ า่ งหู แฟชั่น (2) นกั เรยี นชายห้ามเจาะหอู ย่างเดด็ ขาด (3) ห้ามไว้เล็บ ทาเล็บ (4) หา้ มสักตามร่างกาย หรอื เจาะอวัยวะอน่ื ๆ (5) หา้ มแต่งหน้า หมวดท่ี 5 การปฏิบัติตนของนักเรยี น ขอ้ 9 การมาโรงเรียน 9.1 นักเรยี นจะตอ้ งพกบัตรประจ�ำ ตวั นักเรยี นมาโรงเรียนเสมอ และสแกนบตั รนักเรียนที่ เครือ่ งสแกนในการเขา้ และออกโรงเรียน 9.2 นักเรยี นทมี่ าสายหลังกจิ กรรมหน้าเสาธง จะต้องขอใบอนุญาตเขา้ ชั้นเรยี นและใหค้ รู ฝา่ ยกิจการนักเรยี นลงชอ่ื อนุญาตให้เข้าเรยี น ขอ้ 10 การท�ำ ความสะอาดเขตพน้ื ทท่ี ร่ี บั ผดิ ชอบ เมอ่ื มาถงึ โรงเรยี นแลว้ ใหน้ กั เรยี นแตล่ ะหอ้ งเรยี น ท�ำ ความสะอาดเขตพืน้ ท่รี ับผิดชอบตามท่ีไดร้ บั มอบหมายให้สะอาด เรยี บรอ้ ย ขอ้ 11 การใช้โทรศัพท์มอื ถือในโรงเรยี น 11.1 ไม่มสี ่ือลามกอนาจารในโทรศัพท์มือถอื และอปุ กรณ์อ่นื ใด หรือมีการด/ู เสพ สื่อลามก อนาจาร 11.2 ในการใชส้ ่ือออนไลน์ตอ้ งมวี าจาท่ีเหมาะสม ไม่ขดั ตอ่ ศลี ธรรม หรอื ลบหลูด่ หู มน่ิ ครู อาจารย์ และสถาบันการศึกษา 11.3 ไมใ่ ชโ้ ทรศพั ทเ์ พือ่ การอ่ืนใดนอกเหนือจากการเรยี นรู้ โดยต้องไดร้ ับอนญุ าตจากครผู ู้ สอนและครูทปี่ รึกษา ขอ้ 12 การพนันและสงิ่ เสพติด 12.1 ห้ามเลน่ การพนันทกุ ชนิดทั้งในและนอกสถานศึกษาสถานศกึ ษา 12.2 หา้ มสูบบุหร/่ี บหุ ร่ไี ฟฟา้ ดม่ื สรุ า เคร่อื งด่มื ที่มแี อลกอฮอล์ หรือสิง่ เสพตดิ ทุกชนิด ท้งั ในและนอกสถานศกึ ษา 12.3 หา้ มจ�ำ หน่ายสงิ่ เสพติด หรือมีสงิ่ เสพตดิ ไวใ้ นครอบครอง ทั้งในและนอกสถานศกึ ษา Nikhomwittaya School 49

ข้อ 13 กิจกรรมหนา้ เสาธง 13.1 เมื่อไดย้ นิ สญั ญาณเพลงมารช์ ของโรงเรยี น ใหน้ กั เรียนทุกคนรบี มาเขา้ แถวบริเวณ หนา้ เสาธง หากพืน้ สนามไมเ่ ปียกให้นักเรยี นน่ังลงเปน็ แถวตามหอ้ งใหเ้ รยี บร้อยกอ่ นเพลงมาร์ชจบ นกั เรยี นท่ียังไมไ่ ดน้ ่งั ในแถวหลงั เพลงมารช์ จบ จะตอ้ งไปเข้าแถวพิเศษบริเวณดา้ นขา้ งสนาม 13.2 ในระหว่างปฏบิ ัตกิ ิจกรรมหนา้ เสาธง นักเรยี นจะตอ้ งต้งั ใจและใหค้ วามเคารพต่อ สถาบันชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย์ นักเรียนท่ีเล่นหรอื คยุ ระหว่างปฏบิ ัติกจิ กรรม จะต้องไปเข้าแถว พเิ ศษบริเวณดา้ นข้างสนาม ข้อ 14 การขออนุญาตออกนอกบรเิ วณโรงเรียน เมือ่ นักเรียนสแกนบัตรเข้าโรงเรยี นแลว้ ห้ามนักเรียนออกนอกโรงเรยี นโดยพลการ หาก ตอ้ งการออกนอกโรงเรยี นใหด้ ำ�เนนิ การ ดงั น้ี 14.1 กรณปี กติ ใหน้ ักเรยี นขอใบอนญุ าตออกนอกโรงเรยี นจากห้องกจิ การนักเรียน (หอ้ ง ปกครอง) แล้วให้ครปู ระจ�ำ วิชาหรอื ครทู ป่ี รกึ ษาหรือหวั หนา้ ระดับ ลงช่ืออนญุ าต แลว้ ส่งใหค้ รฝู ่ายปกครอง อนญุ าต หลงั จากนน้ั ใหน้ �ำ ไปยน่ื ให้ เจ้าหน้าท่รี ักษาความปลอดภยั 14.2 กรณเี รง่ ด่วนหรอื ไม่พบครูฝ่ายปกครอง ใหค้ รผู สู้ อนหรอื ครูทปี่ รกึ ษา เขยี นขอ้ ความ ขออนญุ าต โดยระบุช่อื นามสกุลผู้อนุญาต พร้อมลงชือ่ และโทรแจง้ เจ้าหนา้ ท่ีรกั ษาความปลอดภยั เพื่อ น�ำ ไปยน่ื ไว้เปน็ หลกั ฐาน ข้อ 15 การลา นกั เรียนทไ่ี มส่ ามารถมาโรงเรียนได้จากการป่วยหรอื มกี จิ ธรุ ะ ให้นกั เรียนเขยี น ใบลา โดยมผี ปู้ กครองลงชอื่ รบั รอง ในกรณีเร่งดว่ นให้แจง้ ครทู ป่ี รึกษาโดยวิธีการท่ีเหมาะสม โดยใบลาจะ ใชเ้ ป็นหลกั ฐานสำ�คญั ในการคดิ เวลาเรียนและการคดิ คะแนนความประพฤติ ขอ้ 16 การปฏิบตั ิตนระหว่างอยใู่ นโรงเรยี น 16.1 ตอ้ งเข้าเรียนตามเวลาทกี่ ำ�หนด ต้งั ใจเรยี น รกั ษากริ ยิ า วาจามารยาทใหเ้ รียบร้อย 16.2 รักษาความสะอาดของหอ้ งเรียนและอาคารเรียน ไมข่ ีดเขียนโต๊ะเรียนหรือสถานท่ี อื่นๆ 16.3 รกั ษาทรัพย์สินและอปุ กรณ์การเรยี นต่างๆ หากเกิดการช�ำ รุดเสียหายให้แจง้ ครผู ู้ สอนหรือครหู ัวหน้าอาคารทราบทนั ที 16.4 ไม่น�ำ อาหาร เครื่องดื่มขึ้นบนอาคารเรยี น ยกเว้นน�้ำ เปลา่ ขอ้ 17 การรับประทานอาหารกลางวัน 17.1 เมื่อซอ้ื อาหารแล้วนักเรยี นต้องรบั ประทานอาหารภายในโรงอาหารเท่านน้ั ห้ามนำ� อาหารหรือภาชนะใสอ่ าหารออกนอกโรงอาหาร 17.2 เมื่อรับประทานอาหารเรยี บรอ้ ยแล้ว ให้นำ�ภาชนะไปเกบ็ ไว้ท่ี ที่โรงเรยี นกำ�หนด และ ทิง้ วสั ดหุ อ่ หุม้ อาหารในถงั ขยะ 17.3 มีมารยาทในการรับประทานอาหารและปฏิบตั ิตามวฒั นธรรมอันดงี าม เช่น การเข้า คิว ไมย่ ้ือแย่ง ไมส่ ่งเสียงดัง มมู มามหรือไมเ่ ดินรบั ประทานอาหาร เปน็ ตน้ ขอ้ 18 การใช้ยานพาหนะ 18.1 ห้ามนักเรยี นน�ำ รถจกั รยานยนต์และรถจักรยาน มาขบั ขภี่ ายในโรงเรียน 50  คมู่ อื นกั เรยี นโรงเรียนนิคมวทิ ยา


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook