สิทธิมนุษยชน Human Right 2023
สิ ทธิมนุษยชน คือ สิ ทธิและเสรีภาพขั้นพื้นฐานที่เป็ นของ พวกเราทุกคน ไม่ว่าเราจะเป็ นใคร หรืออยู่ที่ไหนบนโลกใบนี้ ไม่ว่าคุณจะมีความเชื่ออะไร หรือใช้ชีวิตแบบไหนก็ตาม สิ ทธิมนุษยชนไม่สามารถถูกพรากไปได้ แต่บางครั้งสิ ทธิ มนุษยชนอาจถูกจำกัด เช่น ถ้าคุณทำผิดกฎหมาย หรือ กระทำการที่อาจเป็ นอันตรายต่อความมั่นคงของชาติ ทั้งนี้ สิ ทธิมนุษยชนนั้นตั้งอยู่บนพื้นฐานของคุณค่าความเป็ น มนุษย์ เช่น ความมีศั กดิ์ศรี ความยุติธรรม ความเท่าเทียม ความเคารพ และความเป็ นอิสระ นอกจากนี้สิ ทธิมนุษยชน นั้นไม่ได้เป็ นเพียงแค่แนวคิดที่เป็ นนามธรรมเท่านั้น เพราะ สิ ทธิมนุษยชนคือแนวคิดที่ได้รับการนิยาม และได้รับการ คุ้ มครองตามกฎหมาย
1.สิ ทธิมนษุยชนมีความสำคัญในฐานะที่เป็ นแนวความคิดเรื่องสิ ทธิมนษุ ยชนความสำคัญของสิ ทธิมนษุ ยชน อารยะธรรมโลก(World Civilization) ของมนุษย์ 2.สิ ทธิมนษุยชนยังมีความสำคัญในแง่ของการเป็ น หลักประกันของความเป็ นมนษุย์สิ ทธิและเสรีภาพและ สภาวะ โลกปั จจุบัน 3.สิ ทธิมนษุยชนยังได้ถูกนําไปใช้ในทางการเมืองเศรษฐกิจ ระหว่ างประเทศ 1.สิ ทธิมนษุยชน สิ ทธิเสรีภาพที่จำเป็ นขั้นพื้นฐานที่ คนทุกคนพึงได้รับอย่างเสมอภาคและเป็ นธรรมใน ฐานะที่เกิดมาเป็ นมนษุย์ 2.สิ ทธิธรรมชาติ สิ ทธิที่ติดตัวมาแต่กำเนิดคือมีสิ ทธิ ในชีวิตสิ ทธิในทรัพย์สิ นไม่สามารถยกเลิกหรือ สญู หายไปโดยวิธีใด ๆ ก็ตาม
ปฏิญญาสากลว่าด้วยสิ ทธิมนุษยชน ปฎิ ญญานี้ คื ออะไร? ปฏิญญาสากลว่าด้วยสิ ทธิมนุษยชน (Universal Declaration of Human Rights หรือ UDHR) คือ เอกสารที่ทั่วโลกตกลงใช้ร่วมกัน เป็ นแนวทางไปสู่ เสรีภาพและความเท่าเทียม โดยการปกป้ องสิ ทธิ มนุษยชนของทุกคนในทุกแห่งหน นับเป็ นครั้งแรกในประวัติศาสตร์ ที่นานาประเทศเห็นพ้องกันว่าสิ ทธิและเสรีภาพเป็ นสิ่ งที่ต้องได้รับ การปกป้ องเพื่อให้มนุษย์สามารถมีชีวิตอยู่ได้อย่างเสรี เท่าเทียม และมีศั กดิ์ศรี ปฏิญญา 30 ข้อ มีอะไรบ้าง? 1 ทุกคนเกิดมาเท่าเทียม มนุษย์ย์ทั้งปวงเกิดมามีอิสระและเสมอ ภาคกันในศั กดิ์ศรี และสิ ทธิ ต่างในตนมีเหตุผลและมโนธรรม และควรปฏิ บั ติ ต่ อกั นด้ วยจิ ตวิ ญญาณแห่ งภราดรภาพ 2 ไม่แบ่งแยก ทุกคนย่อมมีสิ ทธิและอิสรภาพทั้งปวงตามที่กำหนดไว้ในปฏิญญานี้ โดย ปราศจากการแบ่งแยกไม่ว่าชนิดใดอาทิ เชื้อชาติ ผิว เพศ ภาษา ศาสนา ความคิดเห็น ทางการเมืองหรือทางอื่น พื้นเพทางชาติหรือสั งคม ทรัพย์สิ น กำเนิดหรือสถานะอื่น นอกเหนือจากนี้ จะไม่มีการแบ่งแยกใด บนพื้นฐานของสถานะทางการเมืองทากฎหมาย หรือทางการระหว่างประเทศของประเทศหรือดินแดนที่บุคคลสั งกัด ไม่ว่าดินแดนนี้จะเป็ น เอกราช อยู่ในความพิทักษ์ มิได้ปกครองตนเองหรืออยู่ภายใต้การจำกัดอธิปไตยอื่นใด
3 สิ ทธิในการมีชีวิต ทุกคนมีสิ ทธิในการมีชีวิต เสรีภาพ และ ความมั่ นคงแห่ งบุ คคล 4 ไม่ตกเป็ นทาส บุคคลใดจะตกอยู่ในความเป็ นทาสหรือสภาวะจำยอมไม่ได้ ทั้งนี้ห้าม ความเป็ นทาสและการค้าทาสทุกรูปแบบ 5 ไม่ถูกทรมาน บุคคลใดจะถูกกระทำการทรมาน หรือการปฏิบัติ หรือการ ลงโทษที่โหดร้ายไร้มนุษยธรรม หรือย่ำยีศั กดิ์ศรีไม่ได้ 6 ได้รับการคุ้มครองทางกฏมาย ทุกคนมีสิ ทธิที่จะได้รับการยอมรับทุกแห่งหน ว่าเป็ นบุคคลตามกฎหมาย 7 เท่าเทียมกันตามกฏหมาย ทุกคนเสมอภาคกันตามกฎหมายและมีสิ ทธิที่จะได้รับความ คุ้มครองของกฎหมายอย่างเท่าเทียมกันโดยปราศจากการเลือกปฏิบัติใด ทุกคนมี สิ ทธิที่จะได้รับความคุ้มครองเท่าเทียมกันจากการเลือกปฏิบัติใด อันเป็ นการล่วงละเมิดปฏิญญานี้ และจากการยุยงให้มีการเลือกปฏิบัติดังกล่าว 8 สิ ทธิที่จะได้รับการคุ้มครองตามกฏหมาย ทุกคนมีสิ ทธิที่จะได้รับการเยียวยาอันมี ประสิ ทธิผลจากศาลที่มีอำนาจแห่งรัฐต่อการกระทำอันล่วงละเมิดสิ ทธิขั้นพื้นฐาน ซึ่ งตนได้ รั บตามรั ฐธรรมนู ญหรื อกฎหมาย
9 ไม่ถูกคุมขังโดยพลการ บุคคลใดจะถูกจับกุม กักขัง หรือ เนรเทศตามอำเภอใจไม่ ได้ 10 ได้รับการพิจารณาอย่างเป็ นธรรม ทกุ คนย่อมมีสิ ทธิในความเสมอภาคอย่างเต็มที่ ในการได้รับการพิจารณาคดีที่เป็ นธรรมและเปิ ดเผยจากศาลที่อิสระและไม่ลำเอียง ในการพิจารณากำหนดสิ ทธิและหน้าที่ของตนและข้อกล่าวหาอาญาใดต่อตน 11 เป็ นผู้บริสุ ทธิ์จนกว่าศาลจะตัดสิ น ทุกคนที่ถูกกล่าวหาว่ากระทำผิดทางอาญา มีสิ ทธิที่จะได้รับการสั นนิษฐานไว้ก่อนว่า บริสุ ทธิ์จนกว่าจะพิสู จน์ได้ว่ามีความผิดตามกฎหมาย ในการพิจารณาคดีที่เปิ ดเผยซึ่ง ตนได้รับหลักประกันที่จำเป็ นทั้งปวงสำหรับการต่อสู้ คดี บุคคลใดจะถูกตัดสิ นว่ามีความผิดทางอาญาใดอันเนื่องจากการกระทำหรือละเว้นใด อันมิได้ถือว่าเป็ นความผิดทางอาญาตามกฎหมายแห่งชาติหรือกฎหมายระหว่าง ประเทศ ในขณะที่ได้กระทำการนั้นไม่ได้และจะกำหนดโทษหนักกว่าที่บังคับใช้ในขณะที่ ได้ กระทำความผิ ดทางอาญานั้ นไม่ ได้ 12 สิ ทธิความเป็ นส่ วนตัว บุคคลใดจะถูกแทรกแซงตามอำเภอใจในความเป็ นส่ วนตัว ครอบครัว ที่อยู่อาศั ยหรือการสื่ อสาร หรือจะถูกลบหลู่เกียรติยศ และชื่อเสี ยงไม่ได้ ทุกคนมีสิ ทธิที่จะได้รับการคุ้มครองของกฎหมายจากการแทรกแซงสิ ทธิหรือการ ลบหลู่ ดั งกล่ าวนั้ น
13 เสรี ภาพในการเดิ นทาง ทุกคนมีสิ ทธิในอิสรภาพแห่งการเคลื่อนย้ายและการอยู่อาศั ยภายใน พรมแดนของแต่ ละรั ฐ ทุกคนมีสิ ทธิที่จะออกนอกประเทศใด รวมทั้งประเทศของตนเองด้วย และ สิ ทธิที่จะกลับสู่ ประเทศตน 14 สิ ทธิที่จะลี้ภัย ทุกคนมีสิ ทธิที่จะแสวงหาและได้ที่ลี้ภัยในประเทศอื่นจากการประหัตประหาร สิ ทธินี้จะยกขึ้นกล่าวอ้างกับกรณีที่การดำเนินคดีที่เกิดขึ้นโดยแท้ จากความ ผิ ดที่ มิ ใช่ ทางการเมื องหรื อจากการกระทำอั นขั ดต่ อวั ตถุ ประสงค์ และหลั ก การของสหประชาชาติ ไม่ ได้ 15 สิ ทธิที่จะมีสั ญชาติ ทุกคนมีสิ ทธิในสั ญชาติหนึ่ ง บุคคลใดจะถูกเพิกถอนสั ญชาติของตนตามอำเภอใจ หรือถูกปฏิเสธสิ ทธิที่ จะเปลี่ยนสั ญชาติของตนไม่ได้ 16 เสรี ภาพในการแต่ งงาน บรรดาชายและหญิงที่มีอายุครบบริบูรณ์แล้ว มีสิ ทธิที่จะทำการสมรสและก่อร่างสร้างครอบครัว โดยปราศจากการจำกัดใด อันเนื่องจากเชื้อชาติ สั ญชาติหรือศาสนา ต่างย่อมมีสิ ทธิเท่าเทียมกัน ในการสมรส ระหว่างการสมรสและขาดจากการสมรส การสมรสจะกระทำกันโดยความยินยอมอย่างอิสระ และเต็มที่ของผู้ที่จะเป็ นคู่สมรสเท่านั้น ครอบครัวเป็ นหน่วยธรรมชาติและพื้นฐานของสั งคม และย่อมมีสิ ทธิที่จะได้รับความคุ้มครองจาก สั งคมและรัฐ
17 สิ ทธิในการครอบครองทรัพย์สิ น ทุกคนมีสิ ทธิที่จะเป็ นเจ้าของทรัพย์สิ นโดยตนเอง และโดยร่วมกับผู้อื่น บุคคลใดจะถูกเอาทรัพย์สิ นไปจากตนตามอำเภอใจไม่ได้ 18 เสรีภาพในการนับถือศาสนา ทุกคนมีสิ ทธิในอิสรภาพแห่งความคิด มโนธรรม และ ศาสนา ทั้งนี้ สิ ทธินี้รวมถึงอิสรภาพในการเปลี่ยนศาสนาหรือความเชื่อ และอิสรภาพ ในการแสดงออกทางศาสนาหรือความเชื่อถือ ของตนในการสอน การปฏิบัติ การ สั กการบูชา และการประกอบพิธีกรรม ไม่ว่าจะโดยลำพัง หรือในชุมชนร่วมกับผู้อื่น และในที่สาธารณะหรือส่ วนบุคคล 19 เสรีภาพในการแสดงออก ทุกคนมีสิ ทธิในอิสรภาพแห่งความเห็นและการ แสดงออกรวมทั้ งอิ สรภาพในอั นที่ จะถื อเอาความเห็ นโดยปราศจากการ แทรกแซง แสวงหา รับ และส่ งข้อมูลข่าวสารตลอดจนข้อคิดผ่านสื่ อใด โดยไม่ คำนึ งถึ งพรมแดน 20 เสรีภาพในการชุมนุมอย่างสั นติ ทุกคนมีสิ ทธิในอิสรภาพแห่งการชุมนุม ร่วมประชุมและการตั้ง สมาคมโดยสั นติ บุคคลใดไม่อาจถูกบังคับให้สั งกัดสมาคมหนึ่ งได้
21 การมีส่ วนร่วมในการปกครองประเทศ ทุกคนมีสิ ทธิที่จะมีส่ วนร่วมในการปกครองประเทศตนโดยตรงหรือผ่านทางผู้แทน ซึ่ งได้ เลื อกตั้ งโดยอิ สระ ทุกคนมีสิ ทธิที่จะเข้าถึงบริการสาธารณะในประเทศตนโดยเสมอภาค เจตจำนงของประชาชนจะต้องเป็ นพื้นฐานแห่งอำนาจการปกครอง ทั้งนี้ เจตจำนง นี้จะต้องแสดงออกทาง การเลือกตั้งตามกำหนดเวลาและอย่างแท้จริง ซึ่งต้อง เป็ นการออกเสี ยงอย่างทั่วถึงและเสมอภาค และต้องเป็ นการลงคะแนนลับ หรือวิธี การลงคะแนนโดยอิ สระในทำนองเดี ยวกั น 22 การได้รับการดูแลและคุ้มครองจากรัฐ ทุกคนในฐานะที่เป็ นสมาชิกของสั งคมมีสิ ทธิในหลัก ประกันทางสั งคม สิ ทธิในการบรรลุถึงซึ่งสิ ทธิทางเศรษฐกิจสั งคมและวัฒนธรรม อันจำเป็ น ยิ่งสำหรับศั กดิ์ศรีของตนและการพัฒนาบุคลิกภาพของตนอย่างอิสระ ผ่านความพยายาม แห่ งชาติ และความร่ วมมื อระหว่ างประเทศและตามการจั ดการและทรั พยากรของแต่ ละรั ฐ 23 สิ ทธิในการทำงาน ทุกคนมีสิ ทธิในการงาน ในการเลือกงานโดยอิสระในเงื่อนไขที่ยุติธรรมและ เอื้ออำนวยต่อการทำงาน และในการคุ้มครองต่อการว่างงาน ทุกคนมีสิ ทธิที่จะได้รับเงินค่าจ้างที่เท่าเทียมกันสำหรับงานที่เท่าเทียมกัน โดยปราศจากการเลื อกปฏิ บั ติ ใด ทุกคนที่ทำงานมีสิ ทธิที่จะได้รับค่าตอบแทนที่ยุติธรรม และเอื้ออำนวยต่อ การประกันความเป็ นอยู่อันควรค่าแก่ศั กดิ์ศรีของมนุษย์สำหรับตนเองและ ครอบครัว และหากจำเป็ นก็จะได้รับการคุ้มครองทางสั งคมในรูปแบบอื่น เพิ่ มเติ มด้ วย ทุกคนมีสิ ทธิที่จะจัดตั้งและเข้าร่วมสหภาพแรงงานเพื่อความคุ้มครองแห่ง ผลประโยชน์ ของตน
24 สิ ทธิในการพักผ่อน ทุกคนมีสิ ทธิในการพักผ่อนและการผ่อนคลายยามว่าง รวมทั้ง จำกัดเวลาทำงานตามสมควรและวันหยุดเป็ นครั้งคราว โดยได้รับค่าจ้าง 25 คุ ณภาพชี วิ ตที่ ดี ทุกคนมีสิ ทธิในมาตรฐานการครองชีพอันเพียงพอสำหรับสุ ขภาพและความ เป็ นอยู่ที่ดีของตนและครอบครัว รวมทั้ง อาหาร เครื่องนุ่งห่ม ที่อยู่อาศั ยการ ดูแลรักษาทางแพทย์ และบริการทางสั งคมที่จำเป็ น และมีสิ ทธิในหลักประกัน ยามว่างงาน เจ็บป่ วย พิการ หม้าย วัยชรา หรือปราศจากการดำรงชีพอื่นใน สภาวะแวดล้ อมนอกเหนื อการควบคุ มของตน มารดาและเด็กย่อมมีสิ ทธิที่จะรับการดูแลรักษาและการช่วยเหลือเป็ นพิเศษ เด็กทั้งปวงไม่ว่าจะเกิดในหรือนอกสมรส จะต้องได้รับการคุ้มครองทางสั งคม เช่ นเดี ยวกั น 26 สิ ทธิในการศึ กษา ทุกคนมีสิ ทธิในการศึ กษา การศึ กษาจะต้องให้เปล่าอย่างน้อยในชั้นประถมศึ กษาและขั้น พื้นฐาน การประถมศึ กษาจะต้องเป็ นการบังคับ การศึ กษาทางเทคนิคและวิชาอาชีพจะ ต้องเป็ นการทั่วไป และการศึ กษาระดับที่สู งขึ้นไปจะต้องเข้าถึงได้อย่างเสมอภาค สำหรั บทุ กคนบนพื้ นฐานของคุ ณสมบั ติ ความเหมาะสม การศึ กษาจะต้องมุ่งไปสู่ การพัฒนาบุคลิกภาพของมนุษย์อย่างเต็มที่ และการ เสริม สร้างความเคารพต่อสิ ทธิมนุษยชนและอิสรภาพขั้นพื้นฐาน การศึ กษาจะต้อง ส่ งเสริม ความเข้าใจ ขันติธรรมและมิตรภาพระหว่างประชาชาติ กลุ่มเชื้อชาติหรือศาสนาทั้ง มวล และจะต้องส่ งเสริมกิจกรรมของสหประชาชาติเพื่อการธำรงไว้ซึ่งสั นติภาพ ผู้ปกครองย่อมมีสิ ทธิเบื้องแรกที่จะเลือกประเภทการศึ กษาให้แก่บุตรของตน
27 การมีส่ วนร่วมทางวัฒนธรรม ทุกคนมีสิ ทธิที่จะเข้าร่วมโดยอิสระในชีวิตทางวัฒนธรรมของชุมชนที่จะเพลิดเพลินกับ ศิ ลปะและมีส่ วนในความรุดหน้าและคุณประโยชน์ทางวิทยาศาสตร์ ทุกคนมีสิ ทธิที่จะได้รับการคุ้มครองผลประโยชน์ทางศี ลธรรมและทางวัตถุ อันเป็ นผล จากประดิษฐกรรมใดทางวิทยาศาสตร์ วรรณกรรม และศิ ลปกรรมซึ่งตนเป็ นผู้สร้าง 28 สั นติภาพระหว่างประเทศ ทุกคนย่อมมีสิ ทธิในระเบียบทางสั งคมและระหว่างประเทศ ซึ่งจะ เป็ นกรอบให้บรรลุสิ ทธิและอิสรภาพที่กำหนดไว้ในปฏิญญานี้อย่างเต็มที่ 29 เคารพสิ ทธิผู้อื่น ทุกคนมีหน้าที่ต่อชุมชน ซึ่งการพัฒนาบุคลิกภาพของตนโดยอิสระและเต็มที่ จะกระทำ ได้ ก็ แต่ ในชุ มชนเท่ านั้ น ในการใช้สิ ทธิและอิสรภาพแห่งตน ทุกคนต้องอยู่ภายใต้ข้อจำกัดเพียงเท่าที่มีกำหนดไว้ ตามกฎหมายเท่านั้น เพื่อวัตถุประสงค์ของการได้มาซึ่งการยอมรับและการเคารพสิ ทธิ และอิสรภาพอันควรของผู้อื่น และเพื่อให้สอดรับกับความต้องการอันสมควรทางด้าน ศี ลธรรม ความสงบเรียบร้อยของประชาชน และสวัสดิการทั่วไปในสั งคมประชาธิปไตย สิ ทธิและอิสรภาพเหล่านี้ ไม่อาจใช้ขัดต่อวัตถุประสงค์และหลักการของสหประชาชาติ ไม่ ว่ ากรณี ใดๆ 30 ไม่มีใครเอาสิ ทธิเหล่านี้ไปจากเราได้ ไม่มีบทใดในปฏิญญานี้ที่อาจตีความได้ว่า เป็ นการให้ สิ ทธิใดแก่รัฐ กลุ่มคน หรือบุคคลใดในการดำเนินกิจกรรมใด หรือการกระทำใด อันมุ่งต่อ การทำลายสิ ทธิและอิสรภาพใดที่กำหนดไว้ ณ ที่นี้
องค์กรที่เกี่ยวข้องกับสิ ทธิมนุษยชน คณะมนตรีสิ ทธิมนุษยชนแห่งสหประชาชาติ(The United Nations Human Rights Council) ได้ก่อตั้งขึ้นแทนที่คณะกรรมาธิการการสิ ทธิมนุษย์ชนแห่สหประชาชาติ (Un commission for human rights) คณะมนตรีสิ ทธิมนุษยชนแห่ง สหประชาชาติ ประกอบด้วยสมาชิกทั้งหมด 47 ประเทศ วัตถุประสงค์ของ องค์กรคือ การพัฒนากลไกสิ ทธิมนุษยชนเป็ นเอกภาพมากขึ้น สำหรับ ประเทศไทยคณะมนตรีสิ ทธิมนุษยชนแห่งสหประชาชาติได้เข้ามามีบทบาทใน การเผยแพร่ความรู้ในเรื่องสิ ทธิมุนษยชนให้แพร่หลายมากขึ้น เพื่อตรวสอบ ติดตาม ให้ข้อแนะนำและเผยแพร่รายงานกรณีสิ ทธิมนุษยชน สำนักงานตั้ง อยู่ที่กรุงเฮก ประเทศเนเธอร์แลนด์
องค์กรนิรโทษกรรมสากล (AI: Amnesty Internationnal) เป็ นองค์กรอาสาสมัครระหว่างประเทศที่ทำงานด้านมนุษยชน โดยมีวัตถุประสงค์ หลัก คือ ยุติการละเมิดมนุษยชนและพยายามที่จะหาวิธีที่เหมาะสมในการช่วยเหลือผู้ที่ ตกเป็ นเหยื่อของการละเมิดสิ ทธิมนษยชน เช่น ปลดปล่อยนักโทษทางความคิดอย่างไม่มี เงื่อนไข ซึ่งได้แก่บุคคลที่ถูกกักขังเรื่องสี ผิว เชื้อชาติ ภาษาหรือศาสนา โดยที่นักโทษไม่ เคยใชช้หรือสนับสนุนที่จะใช้ความรุนแรง เป็ นต้น ปั จุบัจมีสมาชิกทั้งหมดประมาณ 100 ประเทศทั่วโลก และมีสำนักงานในประเทศไทยตั้งอยู่ที่เขตวัฒนา กรุงเทพมหานคร องค์กรแรงงานระหว่างประเทศ (ILO:Internatonal Labour Orgenization) องค์กรแรงงานระหว่างประเทศเป็ นองค์กรที่ส่ งเสริมการเคารพสิ ทธิมนุษยชน ความยุติธรรมในสั งคมและสนับสนุนให้เกิดความเป็ นธรรมในการใช้แรงงาน รวมทั้ง ช่วยเหลือประเทศสมาชิกในการพัฒนาเศษฐกิจแลtสั งคม องค์กรแรงงานระหว่าง ประเทศเป็ นองค์กรแรกขององค์การชำนัญพิเศษองค์การแรกของสหประชาชาติ โดยประเทศไทยก็เป็ นหนึ่ งที่รวมก่อตั้ง ปั จจุบันมีสมาชิกทั้งหมดจำนวน 178 ประเทศ จากทั่ วโลก
มูลนิธิความร่วมมือเพื่อต้านการค้าหญิง (GAATW:Global Alliance Against Traffic in woman) มูลนิธิความร่วมมือเพื่อต่อต้านการค้าหญิง เป็ นเครือข่ายขององค์กพัฒนาเอกชน จากทั่วทุกภูมิภาคของโลก ที่ทำงานในประเด็นปั ญหาผู้หญิง เด็กและผู้ชายที่ถูกละเมิด สิ ทธิมนุษยชนจากการค้ามนุษย์ โดยมีเป้ าหมายหลัก คือ เพื่อต่อต้านการคุกคาม แรงงานหญิงที่ย้ายถิ่นจากระบบตลาดแรงงานไม่เป็ นทางการในปั จจุบัน รวมทั้งความ ปลอดภัยจากหารย้ายถิ่น ปกป้ องสิ ทธิของแรงงานข้ามพรมแดน ปั จุบันมีองค์กรที่เป็ น สมาชิกประมาณ 80 ประเทศทั่วโลก มูลนิธิเพื่อยุติการแสวงหาประโยชน์ทางเพศจากเด็ก (ECPAT:End child Prostitution In Asia Tourism) มูลนิธิเพื่อการยุติการแสวงหาประโยชน์ทางเพศจากเด็ก เป็ นองค์กรระหว่างประเทศ ที่มีหน้าที่ในการต่อต้านการล่วงระเมิดทางเพศกับเด็กทุกรูปแบบ พร้อมทั้งกระตุ้นใน สาธารณชนได้ตระหนักถึงสถานการณ์ความรุนแรง ของธุรกิจการค้าประเวณีและการ ท่องเที่ยว อันเป็ นสาเหตุสำคัญที่ทำให้เด็กถูกเอาเปรียบทางเพศ เช่น เพื่อเสนอทาง เลือกอื่นให้ครอบครัวที่มีความเสี่ ยงในการเข้าสู่ กระบวนการค้าประเวณี เป็ นต้น ประเทศไทยได้มีบทบาทดำเนินงานเกี่ยวกับเรื่องเพศและการค้าประเวณี ใน พื้นที่ภาคเหนือ ของประเทศไทยและได้สนับสนุนงบประมาณในการดำเนินงานโครงการ รณรงค์ป้ องกันเด็กเข้าสู่ กระบวนการการค้าประเวณีในภาคเหนือของไทย อันประกอบ ด้วยจังหวัดเชียงราย เชียงใหม่ ลำพู น และพะเยา สำนักงานในไทยตั้งอยู่ที่จังหวัด เชี ยงราย
ลักษณะในการละเมิดสิ ทธิเด็กที่เห็นกันบ่อย การละเมิ ดทางด้ านร่ างกายและจิ ตใจ สำหรับประเทศไทย พบว่าเด็ก 56% หรือนับเป็ นจำนวนมากกว่าครึ่งของ ประชากรเด็กอายุระหว่าง 1-18 ปี ถูกทำโทษด้วยการทำร้ายร่างกายและการล่วง ละเมิดทางเพศ มีข้อมูลจากศู นย์เฉพาะกิจคุ้มครองและช่วยเหลือเด็กนักเรียน เปิ ดเผยว่าในปี พ.ศ.2556-2562 มีทั้งหมด 1,186 กรณี มี 482 กรณีที่บุคคลอื่น กระทำทารุณกับเด็ก ซึ่งถือว่าเป็ นจำนวนมากที่สุ ด บุคคลอื่นในที่นี้ยังรวมไปถึงเจ้า หน้าที่รัฐที่ใช้ความรุนแรงต่อเด็ก รองลงมาเป็ นกรณีเด็กกระทำกับเด็กด้วยกัน 464 กรณี คนในครอบครัวทำกับเด็ก ไม่ว่าจะเป็ นพ่อแม่ของเด็กหรือแม้แต่ญาติ ผู้ใหญ่ที่ฝากเลี้ยง 135 กรณี สาเหตุหลัก ๆ ที่ทำให้เด็กถูกทารุณกรรม สาเหตุ แรก ตัวพ่อแม่เด็ก เช่น พ่อแม่ที่มีอายุน้อยไม่พร้อมมีลูกทำให้มีปั ญหาในครอบครัว สภาพจิตใจไม่ปกติ ทำให้ไม่รักและใส่ ใจลูกเท่าที่ควร และสุ ดท้ายเมื่อมีปั ญหาก็หัน ไปใช้กำลังกับลูก สาเหตุต่อมาคือเกิดจากตัวเด็กเองเช่น เด็กเลี้ยงยากหรือซนก็ จะทำให้ผู้ปกครองไม่พอใจลงมือทำร้ายร่างกายเด็กและสาเหตุสุ ดท้าย เกิดจาก สิ่ งแวดล้อมที่บีบบังคับ เช่น ครอบครัวยากจน ขาดเสาหลักค้ำจุนครอบครัว ทำให้ เกิดความเครียดและหันไประบายกับลูก และมี 105 กรณีที่ครูหรือบุคลากรการ ศึ กษากระทำกับเด็ก
การละเมิดสิ ทธิและเสรีภาพในการแสดงออก เสรีภาพในการแสดงออก เป็ นเงื่อนไขที่จำเป็ นในการที่จะส่ งเสริมความเป็ นมนุษย์ โดยสมบูรณ์และถือเป็ นองค์ประกอบที่ขาดไม่ได้ในสั งคมประชาธิปไตย เพราะ เสรีภาพดังกล่าวจะเป็ นกลไกสำคัญในการแลกเปลี่ยนซึ่งความคิดเห็นอันนำไปสู่ การพัฒนาสั งคมการเมือง และนำมาซึ่งการปกป้ องสิ ทธิและเสรีภาพของ ประชาชนและสั งคมโดยรวม อีกทั้ง ยังเป็ นเครื่องมือที่สำคัญและจำเป็ นอย่างยิ่ง ต่อการเปลี่ยนผ่านไปสู่ สั งคมที่ดี เสรีภาพในการพู ด (Freedom of Speech) หรือ เสรีภาพในการแสดงออก (Freedom of Expression) ถือเป็ นสิ ทธิมนุษยชนตาม กฎหมายและมาตรฐานสิ ทธิมนุษยชนระหว่างประเทศทั้งนี้เสรีภาพในการ แสดงออกยังครอบคลุมไปถึงการแสดงออกของเด็กที่ระบุไว้ในอนุสั ญญาว่าด้วย สิ ทธิเด็ก (Convention on the Right of the Child) ข้อที่ 13 ที่ให้รับรองเสรีภาพ ในการแสดงออกของเด็ก ประเทศไทยได้ให้สั ตยาบันในอนุสั ญญาว่าด้วยสิ ทธิเด็ก ในวันที่ 27 มีนาคม พ.ศ. 2535 โดยให้ความมั่นใจว่าจะดำเนินการเพื่อให้เด็กๆได้ เข้าถึงสิ ทธิที่พวกเขาพึงมี ซึ่งรวมถึงสิ ทธิในการมีส่ วนร่วมและการแสดงความคิด เห็นโดยได้รับการรับฟั ง แต่ในปั จจุบันการแสดงออกของเด็กได้ถูกปิ ดกั้นประหนึ่ งกับการเอากุญแจล็อค ปิ ดปาก กุญแจที่ว่านี้มี 2 ประเภทด้วยกัน คือ ค่านิยม : กุญแจประเภทนี้มักเป็ นประเภทที่ผู้ใหญ่ใช้อ้างในการที่เด็กแสดงออก ทางความคิดเห็นหรือแสดงท่าทางที่ไม่ถูกใจผู้ใหญ่ ด้วยค่านิยมที่ว่า “เป็ นเด็กควร เคารพผู้ใหญ่” หรือ “ผู้ใหญ่อาบน้ำร้อนมาก่อน” ซึ่งผู้เขียนไม่ได้หมายความว่าค่า นิยมนี้ผิด ทว่าบริบทการใช้ค่านิยมผิดๆ ต่างหากที่ทำให้ใครบางคนได้ทำการ ละเมิดสิ ทธิและเสรีภาพของเด็กโดยไม่รู้ตัว อันเป็ นการปลูกฝั งที่ทำให้เด็กไม่มี ความกล้ าแสดงออก อำนาจนิยม : กระแสอำนาจนิยมมีมานานและกดทับสิ ทธิในเสรีภาพการ แสดงออกของเด็ก เป็ นปั ญหาที่ถูกทำให้เป็ นความเคยชินที่เด็กต้องเผชิญ ใน ปั จจุบันท่ามกลางการเปลี่ยนแปลงทางสั งคม ความคิดและการตื่นตัวในการ แสดงออกเพื่อการเรียกร้องสิ ทธิของเด็กและเยาวชนทำให้เด็กเริ่มมีพื้นที่ให้ แสดงออกและสะท้อนอำนาจที่กดทับในสถาบันต่างๆ ทางสั งคมมากขึ้น ส่ งผลให้ เห็นปั ญหาของอำนาจนิยมที่เกิดขึ้นในสภาพแวดล้อมของเด็ก
บรรณานุ กรม แอมเนสตี้ อินเตอร์เนชั่นแนล. สิ ทธิมนุษยชนคืออะไร?. [ออนไลน์]. สื บค้นจาก https://www.amnesty.or.th/latest/blog/62/ สิ ทธิมนุษยชน. ความสำคัญของสิ ทธิมนษุยชน. [ออนไลน์]. สื บค้นจากhttps://www.sw2.ac.th/images/user/root/soc31101/6soc.pdf สิ ทธิมนุษยชน. แนวความคิดเรื่องสิ ทธิมนุษยชน. [ออนไลน์]. สื บค้นจากhttps://www.sw2.ac.th/images/user/root/soc31101/6soc.pdf แอมเนสตี้ อินเตอร์เนชั่นแนล. ปฏิญญาสากลว่าด้วยสิ ทธิมนุษยชน. [ออนไลน์]. สื บค้นจาก https://www.amnesty.or.th/our-work/hre/udhr/ องค์กรด้านสิ ทธิมนุษยชน. องค์กรระหว่างประเทศเกี่ยวกับสิ ทธิมนุษยชนที่มีต่อ ประเทศไทย. [ออนไลน์].สื บค้นจาก https://sites.google.com/site/suphanni60154/5-xngkhkr-dan-siththi- mnusy-chn แอมเนสตี้ อินเตอร์เนชั่นแนล. ลักษณะในการละเมิดสิ ทธิเด็กที่เห็นกันบ่อย. [ออนไลน์].สื บค้นจาก https://www.amnesty.or.th/latest/blog/865/
จั ดทำโดย น.ส.เพ็ญพิชชา ปาสู น ม.4/11 เลขที่19
Search
Read the Text Version
- 1 - 18
Pages: