เมลด็ ทานตะวัน 46 Sunflower (seed) รปู ภาพ ดอกบัว Water Lotus สมนุ ไพรที่ควรหลีกเล่ียงในผู้ปว่ ยโรคไต ปักค)้ี สมนุ ไพรจีนโบราณ(Astragalus บารเ์ บอรร์ ่ี Barberry เหลืองชัชวาลย์) เลบ็ วฬิ าร์( Cat's Claw ข้ึนฉา่ ย Apium Graveolens ต้นหญ้าหนวดแมว Java Tea Leaf หญ้าหางม้า Horsetail
47 รากชะเอมเทศ Licorice Root รากออรกี อนเกรฟ Oregon Grape Root เพนนีรอยลั Pennyroyal รากพารส์ ลีย์ Parsley Root โยฮมิ บี Yohimbe
48 กระดกู หกั เนอื่ งจากกระดูกพรนุ ข้อควรปฏิบัตเิ พอ่ื ป้องกันกระดูกหักเนอ่ื งจากกระดูกพรนุ (Fracture liaison service : FLS) ดงั นี้ - ควรรบั ประทานอาหารที่มีแคลเซยี มให้เหมาะสม คอื ผู้ทมี่ ีอายุนอ้ ยกว่าหรอื เท่ากับ 50 ปี ควรไดร้ ับแคลเซยี ม 800 มิลลกิ รัมตอ่ วัน ผู้ทีม่ อี ายุ 51 ปขี น้ึ ไป ควรได้รบั แคลเซียม 1000 มลิ ลกิ รัมต่อวัน - รบั แสงแดดอย่างเพียงพอ เพอ่ื ใหผ้ วิ หนังสรา้ งวิตามินดี จะช่วยให้ลาไส้ดดู ซึมแคลเซียมได้ ตวั อย่างอาหารที่มแี คลเซยี ม อ้างอิงจาก รองศาสตราจารย์ ดร.ภญ.บุษบา จินดาวิจักษณ์ ภาควิชาเภสัชกรรม คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหดิ ล เรื่องแคลเซยี มกับโรคกระดกู พรนุ ตอนท่ี2 ชนดิ อาหาร ปริมาณท่บี รโิ ภค ปรมิ าณแคลเซยี ม (มิลลิกรมั ) นมสดยเู อชที 200 ซีซี (1กล่อง) 240 นมสดเสรมิ แคลเซยี ม 200 ซีซี (1กล่อง) 280 นมถวั่ เหลอื ง 250 ซซี ี (1กลอ่ ง) 64 โยเกิรต์ 150 กรัม (1ถ้วย) 280 กะปิ 136.64 กงุ้ แหง้ ตวั เล็ก 2 ช้อนโตะ๊ 138.30 ปลาสลิด ต้ม 1 ชอ้ นโตะ๊ 153.42 ปลาฉิง้ ฉ้าง ทอด 2 ชอ้ นโตะ๊ 186.75 ไขไ่ ก่ ตม้ 2 ชอ้ นโต๊ะ 205.56 ไข่เปด็ ต้ม 225.76 เต้าห้ขู าว ออ่ น ตม้ 1 ฟอง 243.63 เตา้ หู้ขาว แข็ง ตม้ 1 ฟอง 258.75 ผักคะน้า ผดั 3 ชอ้ นโตะ๊ 319.26 ผกั กาดเขยี ว ตม้ 3 ช้อนโตะ๊ 411.86 ผักกวางตงุ้ ต้ม 5 ช้อนโตะ๊ 450.06 ใบยอ ตม้ 5 ชอ้ นโต๊ะ 198.20 ใบชะพลู 5 ชอ้ นโตะ๊ 390.70 มะเขือพวง ½ ทพั พี 243.62 อา้ งองิ จาก : โปรแกรมINMUCAL-N 70 กรัม 2 ช้อนโต๊ะ
49 ธาลสั ซีเมยี (Thalassemia) ธาลัสซีเมีย (Thalassemia) เป็นโรคโลหิตจางที่มีสาเหตุจากความผิดปกติทางพันธุกรรมระดับยีน ทาให้การสร้างฮีโมโกบิล (Hemoglobin; Hb) ซ่ึงเป็นโปรตีนที่เป็นส่วนประกอบสาคัญของเม็ดเลือดแดง ผดิ ปกติ ส่งผลใหเ้ มด็ เลอื ดแดงมอี ายสุ นั้ แตกง่าย ถูกทาลายง่าย จดั เป็นโรคโลหติ จางทางพันธกุ รรมท่ีพบบ่อย ท่ีสุดในโลก Vichinsky EP. Changing patterns of thalassemia worldwide. Annals of the New York Academy of Sciences. 2005;1054:18-24. อาหารทเ่ี หมาะสมสาหรับผ้ปู ่วยโรคธาลสั ซีเมีย คืออาหารท่ีมีโปรตีน และกรดโฟลกิ (Folic acid) สงู เพ่อื ช่วยในการสรา้ งเมด็ เลอื ดแดง ปรมิ าณโฟเลทในอาหาร อาหาร ปริมาณโฟเลท (ไมโครกรัมตอ่ 35 กรมั หรือ ½ สว่ น) ตาลงึ 42.70 ใบกุย๋ ชา่ ย 50.75 ผักกาดหอม 36.75 คื่นชา่ ย 39.90 ดอกกะหล่า 32.90 มะเขือเทศ 8.61 ถั่วเขียว 53.55 ถ่ัวแดง 49.70 ถว่ั เหลือง 62.65 อา้ งองิ จาก : ผศ.ภญ.ดร.กลุ วรา เมฆสวรรค์ จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลยั เร่ือง โภชนาการผปู้ ่วยธาลัสซีเมยี
50 อาหารทีค่ วรหลกี เลี่ยงสาหรับผปู้ ว่ ยโรคธาลัสซีเมีย คอื อาหารทม่ี ีธาตุเหล็กสงู ผลติ ภัณฑจ์ ากสตั ว์ทม่ี ีปรมิ าณธาตุเหลก็ สงู เนอื้ สตั ว์ ปริมาณธาตเุ หลก็ (มลิ ลิกรัม สัตวน์ ้า ปริมาณธาตเุ หลก็ (มลิ ลิกรมั ตอ่ 40 กรมั หรือ 1 ส่วน) ตอ่ 40 กรัมหรือ 1 สว่ น) ปอดหมู 47.6 กงุ้ ฝอยสด 28.0 เลือดหมู 25.9 หอยโขม 25.2 หมูหยอง 17.8 หอยแมลงภู่ 15.6 ตบั หมู 10.5 หอยแครง 6.4 นอ่ งไก่บ้าน 7.8 ปลาดกุ 8.1 เนื้อวัวเคม็ ทอด 7.5 ปลาช่อน 5.8 กบแหง้ 3.8 ปลาตะเพียน 5.6 ผลิตภณั ฑ์จากธญั พชื และเห็ดทมี่ ปี รมิ าณธาตเุ หลก็ สงู ธญั พชื และ ปริมาณธาตุเหล็ก ผกั และเหด็ ปริมาณธาตเุ หล็ก (มลิ ลิกรัมต่อ 100 กรมั ) ของว่าง (มลิ ลกิ รัมต่อ 100 กรมั ) 36.3 ดาร์กชอ็ กโกแลต 17.0 ผกั กดู 17.2 15.1 ถ่ัวดา 16.5 ใบแมงลัก 9.9 8.2 เต้าเจ้ียว 15.2 ใบกระเพาแดง เมลด็ ฟักทอง 15.0 ยอดมะกอก ถ่ัวลสิ ง 13.8 ดอกโสน
51 งาขาว 13.0 ใบชะพลู 7.6 ถว่ั แดง 10.5 ต้นหอม 7.3 ลูกเดอื ย 10.0 มะเขอื พวง 7.1 งาดา 9.9 เห็ดหหู นู 6.1 จมกู ขา้ วสาลี 6.8 ยอดออ่ นขีเ้ หล็ก 5.8 ขา้ วโอ๊ต 6.5 ผกั กระเฉด 5.3 อา้ งอิงจาก : ผศ. ดร. ภญ. ปิยนุช โรจนส์ ง่า ภาควิชาเภสัชเคมี คณะเภสัชศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั มหิดล เร่อื ง บทความเผยแพรค่ วามรูส้ ปู่ ระชาชน ธาลัสซเี มีย (Thalassemia)...กนิ อย่างไรใหเ้ หมาะสม หมายเหตุ : ควรหลีกเลี่ยงการรับประทานอาหารร่วมกับอาหารที่มีวิตามินสูง เช่น ส้ม มะเขือเทศ เพราะ วติ ามินซีจะชว่ ยในการดูดซึมธาตเุ หล็ก และควรรบั ประทานรว่ มกับอาหารทล่ี ดการดูดซกึ ธาตุเหลก็ เช่น ชา และนมถ่ัวเหลอื ง
52 รปู แบบอาหาร อาหารคีโตเจนิค (Ketogenic diets) อาหารคีโตเจนิค (Ketogenic diets) เป็นวิธีการบริโภคอาหารรูปแบบหนึ่งท่มี ีทาให้ร่างกายเกดิ การ ผลิตสารคีโตน (ketone) หลักการสาคัญ คือเน้นบริโภคอาหารที่มีส่วนประกอบของไขมันและโปรตีนใน ปริมาณสูง แต่มีปริมาณคาร์โบไฮเดรตตา่ (low-carbohydrate diet, LC) รูปแบบอาหารดังกล่าวมผี ลตอ่ การ ลดน้าหนกั เป็นวิธที ลี่ ดน้าหนกั ได้อย่างมปี ระสทิ ธิภาพโดยเฉพาะในระยะสัน้ และช่วยการควบคุมระดบั น้าตาล ในโรคเบาหวาน อาการที่พบได้ในคนท่ีบริโภคอาหารคีโตเจนิค คือ การมีไข้ เม่ือยล้า ซึ่งมักเกิดในสัปดาห์แรก นอกจากนย้ี ังอาจจะพบอาการเวยี นหวั ออ่ นเพลีย ท้องผกู และนอนไม่หลบั ดงั นน้ั คนทีบ่ รโิ ภคอาหารลักษณะ LC ควรได้รับการตรวจเลือดเป็นระยะ ๆ และปรับเปล่ียนการบริโภคอาหารหรือการออก กาลังกายอย่าง เหมาะสม อาหารคีโตเจนิค กับระดับน้าตาลในเลอื ด งานวจิ ัยระยะอาหารคโี ตเจนิค สามารถช่วยลดระดับน้าตาล ในเลอื ด ลดระดบั อนิ ซูลิน ดงั นัน้ อาหารคีโตเจนคิ อาจใช้ไดก้ บั ผเู้ ปน็ เบาหวานชนิดท่ี 2 และคนทั่วไปท่ีตอ้ งการ ลดน้าหนัก และต้องไม่มีโรคประจาตัวที่ต้องระวัง เช่น โรคตับ โรคผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ต้องรับอินซูลิน (รวมถงึ เดก็ และวยั รุ่นทเี่ ป็นเบาหวานชนิดท่ี 1) อาจมีโอกาสเกิดปัญหาระดบั น้าตาลต่าไดม้ ากขึ้น ด้วยรูปแบบ การกินอาหารแบบนี้เป็นการเพิ่มคีโต เน่ืองจากผู้ป่วยกลุ่มนี้มีความเส่ียงต่อการเกิดภาวะความเป็นกรดจาก สารคีโตนในเลือดมาก (Ketoacidosis) รวมถงึ มคี วามเสี่ยงต่อการเกดิ ภาวะน้าตาลตา่ มากเกินไป
53
54 DASH diet DASH Diet (Dietary Approaches to Stop Hypertension Diet) โดยชื่อ DASH Diet หมายถึง แนวทางโภชนาการเพ่ือหยุดความดนั โลหติ สงู หลักการ : ลดการบรโิ ภคอาหารท่มี ีเกลอื โซเดียม ไขมันอ่ิมตัว ไขมันรวมและคอเรสเตอรอลลง และ เพ่ิมการรับประทานใยอาหาร โปรตีน แคลเซียม แร่ธาตุต่างๆอย่าง โปแตสเซียมและแมกนีเซียม รวมถึง ปริมาณสารไนเตรททมี่ ีผลการศกึ ษาถงึ การลดความดันโลหิตสูงได้ สดั ส่วนการรบั ประทานอาหารตามหลกั DASH ใน 1 วนั : ชนิดอาหาร สดั สว่ น ธญั พืชชนิดตา่ งๆ โดยเนน้ เป็นธัญพืชไมข่ ดั สี 7-8 ส่วนบริโภค (หรือประมาณ 7-8 ทัพพี) ผกั และผลไม้ อยา่ งละ 4-5 สว่ นบรโิ ภค (หรือประมาณ 4-5 ทัพพี และผลไม้ 3-4 สว่ น) เน้อื สัตว์ไขมันตา่ อยา่ งเน้ือปลา 2-3 สว่ นบริโภค (หรือประมาณ 4-6 ชอ้ นกนิ ขา้ ว) ลดการรบั ประทานสตั ว์เนอื้ แดง การตัดส่วนไขมัน หรือหนงั ของเนื้อสตั ว์และเลอื กรบั ประทานเนื้อสตั ว์ ไขมนั ต่า น้ามันหรอื ไขมัน 2-3 ส่วนบริโภค (หรอื ไมเ่ กนิ 6 ชอ้ นชา) ถ่วั ชนดิ ต่างๆ เชน่ อลั มอนด์ ถั่วเลนทิล 4-5 ส่วนบรโิ ภค(หรอื ประมาณ 4-5 ฝา่ มือ)ต่อ สปั ดาห์ ของหวานชนดิ ต่างๆ ไม่เกนิ 5 สว่ นบรโิ ภคตอ่ สปั ดาห*์ แนะนาให้ รับประทานนานๆครงั้ แนะนาให้ใชเ้ คร่อื งเทศหรอื สมุนไพรต่างๆในการ เสริมรสชาติอาหาร และลดการใช้เกลอื หรือ เคร่อื งปรงุ ทม่ี ีโซเดียมสงู ในการปรุงแตง่ อาหาร -Mayo Clinic Staff. DASH diet: Healthy eating to lower your blood pressure [online document]. http://www.mayoclinic.org/healthy-lifestyle/nutrition-and-healthy-eating/in-depth/dash-diet/art-20048456. October 3, 2017. -Siervo, M., Lara, J., Chowdhury, S., Ashor, A., Oggioni, C., & Mathers, J. (2015). Effects of the Dietary Approach to Stop Hypertension (DASH) diet on cardiovascular risk factors: A systematic review and meta- analysis. British Journal of Nutrition, 113(1), 1-15. doi:10.1017/S0007114514003341.
55 (นิพาวรรณ, มปป)
56 Therapeutic Lifestyle Change Diet (TLC) ทมี่ า : national cholesterol Education Program Adult Treatment Panel III, 2001 TLC ย่อมาจาก Therapeutic Lifestyle Change Diet เปน็ วธิ ีการดแู ลทางโภชนบาบดั ทางการแพทย์วธิ หี นง่ึ ทม่ี ีประสทิ ธิภาพในการดูแลผปู้ ่วยทม่ี ีภาวะไขมันในเลอื ดผิดปกติได้เป็นอย่างดี
57 ศพั ทท์ างการแพทย์ A Atrial Fibrillation (AF) โรคหวั ใจเตน้ ผดิ จงั หวะ ไมส่ มา่ เสมอ Asthma โรคหอบหดื Ante natal care (ANC) การดแู ลกอ่ นคลอด(การฝากครรภ)์ Allergy โรคภูมิแพ้,แพ้ Acute Gastroenteritis (AGE) ลาไส้อักเสบฉบั พลนั Acidosis ภาวะเลอื ดเป็นกรด Acute Renal Failure (ARF) ไตวายฉับพลนั Atherosclerotic heart disease โรคหลอดเลอื ดแดงหวั ใจแข็ง B Burns แผลไหม้ Blunt chest ได้รับการกระแทกทหี่ น้าอก Blood pressure (BP) ความดนั โลหติ Benign Prostatic Hyperplasia (BPH) โรคต่อมลูกหมากโต Basal ganglia ปมประสาท ทมี่ หี น้าทีเ่ กีย่ วขอ้ งกับการส่งั การการเคลอ่ื นไหวของรา่ งกาย การเรยี นรู้ การ ตัดสินใจและกจิ เกยี่ วกบั อารมณค์ วามรู้สกึ C C-Spine injury การบาดเจบ็ ท่กี ระดกู ต้นคอ Crushing การบดทบั Concussion สมองกระทบกระเทือน Coma ภาวะหมดสติ ไมร่ สู้ ึกตัว Complication โรคแทรกซ้อน Cesarian Section (C/S) การผ่าคลอด Chief Complaint (CC)ประวัตสิ าคัญทม่ี าโรงพยาบาล Computed Tomography (CT) การตรวจเอก็ ซ์เรย์คอมพวิ เตอร์ Cerebrovascular Accident (CVA) โรคทางหลอดเลือดสมอง Constipation ทอ้ งผกู Coronary Care Unit (CCU) หออภิบาลผปู้ ่วยหนกั เฉพาะโรคหัวใจ Colonic polyp ต่งิ เน้ือทลี่ าไสใ้ หญ่ Continuous Ambulatory Peritoneal Dialysis (CAPD) การลา้ งไตทางชอ่ งท้องชนิดต่อเนอื่ งด้วย ตนเอง
58 CTF (Capture the fracture) เปน็ โครงการดแู ละผ้ปู ว่ ยโรคกระดูกหกั จากโรคกระดูกพรนุ โดยทีมสหวิชาชพี ปจั จบุ นั ใช้คาว่า FLS (Fracture Liaison service) D Dyslipidemia (DLD) โรคไขมันในเลอื ดสงู Diagnosis (Dx) การวินจิ ฉัยโรค Dyspnea หอบเหนือ่ ย Discharge ผู้ป่วยออกจากโรงพยาบาลแลว้ E Emergency room (E.R) หอ้ งฉกุ เฉนิ F Fracture การแตกหกั ของกระดูก Fracture Femur กระดูกต้นขาหกั Follow up (F/U) นดั ตรวจตดิ ตามอาการ Family history (FH) ประวัติการเจ็บป่วยของคนในครอบครวั G General Appearance (GA) ลักษณะภายนอกทัว่ ไป Global aphasia เป็นความผดิ ปกตขิ องภาษาพูด เกิดจากพยาธิสภาพที่สมอง ผปู้ ว่ ยจะพูดไม่คล่อง ไม่ชดั และ มีปัญหาเร่อื งความเข้าใจ H Head injury การไดร้ บั บาดเจ็บทศี่ รี ษะ Hemodialysis หอ้ งล้างไต HT (Hypertension) ความดันโลหติ สงู I In patient Department (IPD) แผนกรกั ษาผ้ปู ่วยใน Infection การติดเชอ้ื Intake/Outtake (I/O) ปริมาณนา้ เข้าออกในแตล่ ะวนั Intensive care unit (I.C.U) หออภบิ าลผปู้ ว่ ยหนักรวม Ischemic stroke โรคหลอดเลอื ดสมองตบี หรอื อุดตนั Intracerebal hemorrhage โรคหลอดเลือดสมองแตกจากการฉกี ขาดของหลอดเลอื ดในสมอง J Jaundice ดีซ่าน K
59 L Labour room (L.R) ห้องคลอด LN (Lupus Nephritis) โรคไตท่เี ปน็ ผลกระทบจากโรค SLE M Medication (MED) อายุรกรรม Morbid obesity ภาวะอว้ นอย่างรนุ แรง N Nervous System (N/S) สญั ญาณชพี ทางระบบประสาท Not applicable (N/A) ไมม่ ขี ้อมลู Nephrotic syndrome (NS) ไตอักเสบ Nasogastric Tube (NG Tube) การใส่สายยางทางจมกู ถงึ กระเพาะ NASH (Nonalcoholic steatohepatitis) เปน็ ภาวะท่ีมีไขมนั สะสมในตับรวมกบั การอกั เสบ Non-ST Elevated Myocardial Infarction (NSTEMI) ภาวะหัวใจขาดเลือดเฉียบพลนั O Observe สงั เกตอาการ Orthopedic (ORTHO) กระดกู และข้อ Out Patient Department (OPD) แผนกผปู้ ว่ ยนอก Operating room (O.R) ผ่าตัด ORIF (Open Reduction Internal Fixation) การผ่าตดั กระดกู ใหเ้ ขา้ ท่ี โดยการตรงึ กระดูกทห่ี ักดว้ ยโลหะซ่งึ จะใสอ่ ย่ภู ายนอกร่างกายของผปู้ ่วย P Pneumothorax ภาวะลมในช่องปอด Pulse ชพี จร Pain ความปวด Pale ซีด Physical therapy แผนกกายภาพบาบดั Pharmacy ห้องจา่ ยยา Physical Examination (PE) การตรวจรา่ งกาย Past History (PH) ประวัติอดีต Present Illness (PI) ประวตั ิปจั จบุ นั Physical therapy (PT) กายภาพบาบดั Past medical history (PMH) ประวตั ิอดตี ของการรักษา
60 Q R R/O สงสัยวา่ จะเป็น S Swelling อาการบวม Surgical (SUR) ศลั ยกรรม (รกั ษาดว้ ยการผา่ ตัด) Side effect ผลขา้ งเคยี ง Sputum เสมหะ Stress เครียด Surgery ศลั ยกรรม Septicemia ติดเชื้อในกระแสเลือด SLE (Systemic lupus erythematosus) โรคแพภ้ มู ิตวั เอง Septic shock ภาวะชอ็ กเหตุพิษตดิ เชอ้ื เกิดข้ึนหลงั จากการติดเช้ือในกระแสเลอื ด Surgical Intensive Care Unit (SICU) หออภิบาลผ้ปู ่วยวิกฤตศัลยกรรม ST Elevated Myocardial Infarction (STEMI) ภาวะหวั ใจขาดเลือดเฉยี บพลัน SGOT (Serum Glutamic-Oxaloacetic Transaminase) หรือ AST (Aspartate Transaminase) เปน็ เอนไซมท์ ่ีใชช้ ว่ ยตรวจภาวะโรคตบั SGPT (Serum glutamate pyruvate transaminase) หรอื ALT (Alanine transaminase) เปน็ เอนไซมท์ ่ี ใช้ช่วยตรวจภาวะโรคตบั T Treatment การรกั ษา Transfer การยา้ ยผูป้ ว่ ย Therapy การรักษา Traumatic Brain Injury (TBI) การบาดเจบ็ ทสี่ มอง Tuberculosis วณั โรค U Unconscious ไม่รูส้ กึ ตวั Urine analysis การเก็บปสั สาวะสง่ ตรวจ Urticaria ลมพษิ Underlying disease (U/D) โรคประจาตัว Upper Respiratory Infection (URI) การตดิ เชื้อทางเดินหายใจส่วนบน Urinary Tract Infection (UTI) การติดเช้ือทางเดินปสั สาวะ
61 V Vital sign (V/S) สญั ญาณชพี Vomit อาเจยี น Viral myocarditis กลา้ มเนือ้ หวั ใจอกั เสบจากไวรสั W Wound แผล Weak อ่อนเพลีย Ward ตึกผู้ปว่ ย X Y Z
62
Search