Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ระบบต่างๆในร่างกาย

ระบบต่างๆในร่างกาย

Published by nattanithi2016, 2023-08-25 00:18:48

Description: ระบบต่างๆในร่างกาย

Search

Read the Text Version

โครงสรา้ งการทางานของรา่ งกายมนุษย์ ในการศึกษาทางจติ วิทยา จาเป็นอย่างยิ่งที่จะทาความเข้าใจเก่ียวกับ พฤติกรรมตา่ ง ๆ ของมนษุ ย์ ซง่ึ การท่ีมนษุ ย์จะแสดงพฤติกรรมใด ๆ ออกมานนั้ เป็นเพราะระบบการทางานของร่างกาย ไมว่ ่า นักปรัชญาและนักวิทยาศาสตร์ ซง่ึ ไดท้ าการศึกษาค้นควา้ มาเป็นระยะเวลายาวนานตา่ งมีความคิดเห็นตรงกันวา่ ร่างกาย มนษุ ย์ สัตว์ หรอื พืชท้งั หลายจะมโี ครงสรา้ งที่ประกอบขนึ้ จากหน่วยทีเ่ ลก็ ท่สี ุดที่ไม่สามารถมองเหน็ ไดด้ ้วยตาเปลา่ จนกระทั่ง ถงึ สว่ นประกอบที่ใหญ่ที่สุด แต่ละสว่ นจะมีการทางานทส่ี มั พันธก์ ัน โดยไม่มีสว่ นใดทีส่ ามารถทางานอย่างอิสระยกเว้นเม็ด เลอื ด โดยประมาณได้ว่า 75 ถึง 80 เปอร์เซน็ ต์ของร่างกายผใู้ หญ่ประกอบดว้ ยนา้ สว่ นที่เหลือเป็นสารประกอบทางเคมี สารประกอบเหลา่ นรี้ วมตัวกนั เปน็ เซลล์ หลายร้อยชนดิ ซึง่ เป็นหนว่ ยพื้นฐานทีเ่ ล็กท่ีสดุ ของรา่ งกาย มนษุ ยเ์ ป็นสง่ิ มชี วี ติ ทีม่ ี โครงสร้างสลบั ซับซ้อนทีส่ ุดในบรรดาส่ิงมชี วี ติ ท้งั หลายบนพื้นโลก โดยเฉลย่ี แลว้ รา่ งกายมนุษย์ประกอบด้วยเซลล์ 80 – 100 ล้านลา้ นเซลล์แต่ละชุดจะถูกกาหนดให้มีการเจรญิ เติบโตและทาหนา้ ที่เฉพาะ โดยเซลล์ชนิดเดียวกนั จะรวมตวั เป็นเน้ือเย่อื (tissues) เนอื้ เยอ่ื หลาย ๆ ประเภทเมื่อมาทางานรว่ มกนั เรียกวา่ อวัยวะ (organ) แตล่ ะอวยั วะเม่อื ทางานร่วมกนั เรียกวา่ ระบบ (system) ดงั นัน้ เมือ่ เซลล์มารวมกลุ่มเปน็ เน้อื เย่ือพเิ ศษ เชน่ กล้ามเน้อื เสน้ ประสาท กระดูก ฯลฯ เน้อื เย่ือเหลา่ นีจ้ ะทางาน ร่วมกนั เป็นอวัยวะและในทสี่ ุดอวยั วะเหล่านจ้ี ะถูกจดั สรรเปน็ ระบบตา่ ง ๆ ของร่างกาย เช่น ระบบกลา้ มเน้ือ ระบบต่อมต่าง ๆ และระบบประสาท เป็นตน้ ระบบตา่ ง ๆ ในร่างกายระบบต่าง ๆ ในร่างกายมีการทางานท่สี ัมพนั ธก์ นั เพื่อให้มนษุ ยส์ ามารถ ดารงชีวติ ได้อย่างปกติ การทางานของระบบภายในร่างกาย อาจจาแนกออกได้เป็น 10 ระบบ ดังน้ี 1. ระบบผวิ หนัง (Intergumentary System) ทาหน้าที่หอ่ หุม้ ปกคลุมรา่ งกาย ประกอบดว้ ยผิวหนงั (Skin) และ อวยั วะทเ่ี ปลี่ยนแปลงมาจากผิวหนงั เชน่ ขน ผม เลบ็ ตอ่ มเหงือ่ ต่อมน้ามนั ระบบผิวหนงั ท่มี าภาพ : http://bodysystemm.wikispaces.com/ระบบผิวหนังหรือระบบห่อหุ้มร่างกาย

2. ระบบกล้ามเนื้อ (Muscular System) ทาหนา้ ทช่ี ว่ ยทาใหร้ า่ งกายเกิดการเคล่อื นไหว ระบบกลา้ มเน้ือ http://www.thaigoodview.com/node/92946 3. ระบบโครงกระดูก (Skeletal System) ทาหน้าท่ที างานร่วมกบั ระบบกล้ามเนื้อ เพอ่ื ช่วยใหร้ า่ งกายสามารถ เคลอ่ื นไหวได้ นอกจากนยี้ งั ทาหนา้ ทีเ่ ป็นโครงร่างของร่างกายอกี ดว้ ย 4. ระบบหมนุ เวยี นโลหิต (Circulatory System) ทาหน้าทนี่ าอาหารและออกซิเจนไปเลย้ี งเซลลต์ า่ ง ๆ ท่ัวรา่ งกาย และ นาคารบ์ อนไดออกไซด์กบั ของเสยี จากเซลล์มาขับทิ้ง นอกจากนี้ ยงั นาฮอรโ์ มนทผ่ี ลิตได้จากตอ่ มไรท้ ่อเพ่ือส่งไปยังอวยั วะตา่ ง ๆ ของรา่ งกาย ระบบหมนุ เวยี นโลหิต ที่มาภาพ : http://www.il.mahidol.ac.th/e-media/respiration/L1T1_new.html 5. ระบบหายใจ (Respiratory System) ทาหนา้ ทร่ี บั ออกซิเจนจากภายนอกเข้าสูร่ ่างกายและนาคาร์บอนไดออกไซด์ จากภายในออกมาขับท้ิงสภู่ ายนอกรา่ งกาย โดยอาศัยระบบไหลเวยี นโลหิตเป็นตวั กลางในการลาเลียงแก๊ส

6. ระบบประสาท (Nervous System) เปน็ ระบบทท่ี าหน้าท่ีควบคมุ การทางานของทุกระบบในร่างกาย ให้สัมพันธก์ ัน โดยทางานรว่ มกบั ระบบต่อมไร้ท่อนอกจากนี้ยงั ทาหนา้ ทร่ี ับและตอบสนองต่อส่ิงเรา้ ภายนอก 7. ระบบตอ่ มตา่ ง ๆ (glands System) ทาหน้าทส่ี ร้างฮอร์โมน (hormone) ซ่ึงเป็นสารเคมีและของเหลวโดยทางาน ร่วมกับระบบประสาทในการควบคมุ ปฏิกรยิ าการเผาผลาญต่าง ๆ ในร่างกาย 8. ระบบยอ่ ยอาหาร (Digestive System) ทาหน้าที่ยอ่ ยสลายอาหารท่ีรบั ประทานเขา้ ไปให้เป็นสารอาหาร และดดู ซึมเขา้ สกู่ ระแสเลือดเพ่ือไปเล้ียงส่วนตา่ ง ๆ ของร่างกาย ระบบยอ่ ยอาหาร ทม่ี าภาพ : http://www.zazana.com/Article/id7132.aspx 9. ระบบขับถา่ ย (Excretory System) ทาหนา้ ท่ขี ับถา่ ยของเสยี ท่รี า่ งกายไมต่ ้องการใหอ้ อกจากร่างกาย 10. ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System) ทาหนา้ ท่สี บื ทอด ดารงและขยายเผ่าพนั ธุ์ ให้มีจานวนมากข้นึ เพอ่ื ไม่ให้สง่ิ มีชีวติ สญู พนั ธุ์ http://beerboforever.wordpress.com/2012/02/21/ระบบต่างๆในร่างกายทัง้ 10/


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook