Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เสื้อชูชีพจากขวดพลาสติก

เสื้อชูชีพจากขวดพลาสติก

Published by 21389, 2020-11-07 14:14:11

Description: เสื้อชูชีพจากขวดพลาสติก

Search

Read the Text Version

การศึกษาคน้ คว้าองคค์ วามรู้ เร่ือง เสอื้ ชชู ีพจากขวดน้าพลาสตกิ คณะผู้จัดทา้ 1. นาย โยธนิ นนั ต๊ะเสน เลขที่ 8 2. นางสาว กันต์ฤทยั ศริ ริ ัตน์ เลขที่ 27 3. นางสาว ณัฐวดี จิตอารี เลขท่ี 33 4. นางสาว นันทชิ า นนั ทศีล เลขท่ี 34 5. นางสาว บัณฑติ า ภมิ าลย์ เลขท่ี 35 ชนั้ มัธยมศกึ ษาปที ี่ 5/1 ครทู ่ปี รกึ ษา ครดู า้ รง คันธะเรศย์ เอกสารฉบบั นี้เป็นส่วนหนง่ึ ของการศึกษาค้นคว้าและสรา้ งองคค์ วามรู้ (IS1) โรงเรยี นปวั อา้ เภอปัว จังหวดั นา่ น ส้านกั งานเขตพนื้ ท่ีการศกึ ษามัธยมศกึ ษา เขต 37 ภาคเรยี นที่ 1 ปีการศกึ ษา 2563

2

3 การศึกษาคน้ คว้าองคค์ วามรู้ เรอ่ื ง เสื้อชชู พี จากขวดน้าพลาสตกิ คณะผู้จัดทา้ 1.นาย โยธนิ นนั ตะ๊ เสน เลขที่ 8 2.นางสาว กันตฤ์ ทยั ศริ ริ ัตน์ เลขท่ี 27 3.นางสาว ณฐั วดี จิตอารี เลขที่ 33 4.นางสาว นนั ทชิ า นนั ทศลี เลขท่ี 34 5.นางสาว บัณฑิตา ภมิ าลย์ เลขท่ี 35 ช้นั มัธยมศกึ ษาปีท่ี 5/1 ครูท่ปี รึกษา ครดู ้ารง คนั ธะเรศย์ เอกสารฉบับน้เี ป็นส่วนหนง่ึ ของการศึกษาคน้ ควา้ และสรา้ งองค์ความรู้ (IS1) โรงเรยี นปัว อ้าเภอปวั จังหวดั นา่ น สา้ นกั งานเขตพ้นื ท่ีการศึกษามธั ยมศึกษา เขต 37 ภาคเรยี นที่ 1 ปกี ารศกึ ษา 2563

4

5 เสอ้ื ชูชพี จากขวดพลาสติก ผจู้ ัดทาโครงงาน 1. นาย โยธิน นันต๊ะเสน เลขที่ 8 ม.5/1 2. นางสาว กันตฤ์ ทัย ศริ ิรตั น์ เลขที่ 27 ม.5/1 3. นางสาว ณัฐวดี จิตอารี เลขที่ 33 ม.5/1 4. นางสาว นันทิชา นันทศีล เลขท่ี 34 ม.5/1 5. นางสาว บัณฑิตา ภมิ าลย์ เลขท่ี 35 ม.5/1 คุณครทู ่ีปรกึ ษา คุณครู ด้ารงค์ คนั ธะเรศย์ คุณครู สมุ นลกั ษณ์ สวุ รรณ์ ปกี ารศึกษา : 2563 บทคัดย่อ เร่ือง เส้ือชูชีพจากขวดพลาสติก มีจุดมุ่งหมายเพื่อประดิษฐ์อุปกรณ์ท่ีจะช่วยป้องกัน บรรเทา และ ฟ้ืนฟูความเสียหายท่ีจะเกดิ ขึน้ ต่อชวี ิตและทรัพยส์ ินอันเกิดจากภยั ธรรมชาติ เป็นการป้องกันความเสยี หายทจ่ี ะ เกิดขึ้นต่อชีวิตและทรัพย์สินก่อนเกิดสาธารณภัย หรือฝีมือมนุษย์ที่ส่งผลต่อคนหมู่มากข้ึน โดยท้าจากวัสดุท่ี สามารถหาได้ง่าย จากการศึกษาการใช้งานของเส้ือชูชีพขวดน้าพลาสติก ผลการศึกษาพบว่ามีการลอยตัวที่ดี เสื้อชูชีพมีการลอยเหนือน้า ไม่จมเพราะสามารถรับน้าหนักได้ดี ช่วยป้องกันความเสียหายท่ีจะเกิดขึ้นต่อชีวิต และทรัพย์สินก่อนเกิดสาธารณภัย บรรเทาและช่วยเหลือผู้ประสบภัยในการด้าเนินชีวิตขณะเกิดสาธารณภัย และเปน็ การประหยัดตน้ ทนุ และสามารถนา้ วัสดุท่ีเหลือใชม้ าใช้ใหมใ่ หเ้ กิดประโยชน์ไดอ้ ีกด้วย

6 กิตตกิ รรมประกาศ โครงงานฉบับนีส้ า้ เร็จลุล่วงได้อย่างดี ทัง้ นี้กเ็ พราะได้รบั ความกรุณาจาก คุณครูดา้ รง คนั ธะเรศย์ และ คุณครูสมุ นลักษณ์ สวุ รรณ์ ซ่งึ ได้ให้คา้ ปรึกษาคา้ แนะนา้ แนวทางการท้าโครงงานและการแกป้ ัญหา รวมถึง อปุ กรณ์ตา่ งๆที่เกย่ี วข้องกบั โครงงาน กลุ่มของข้าพเจ้าได้มีความซาบซง้ึ ในความกรณุ าของคุณครูด้ารง คันธะเรศย์ และ คุณครสู มุ นลกั ษณ์ สุวรรณ์ เป็นอย่างยิ่ง และขอกราบขอบพระคุณเปน็ อย่างสูง และเพื่อนๆทงั้ ในกลมุ่ และในหอ้ ง ที่ช่วยท้าและทใ่ี หค้ วามชว่ ยเหลอื และเป็นกา้ ลังใจให้พวกขา้ พเจ้าเสมอ และขอบคณุ คุณครู ทใ่ี หก้ ารติชมเป็นอยา่ งดีจึงท้าใหโ้ ครงงานครง้ั นส้ี า้ เรจ็ ลุล่วงไปด้วยดี ขอกราบขอบพระคุณมา ณ โอกาสน้ี นาย โยธิน นนั ตะ๊ เสน นางสาว กันต์ฤทัย ศริ ิรัตน์ นางสาว ณัฐวดี จติ อารี นางสาว นนั ทิชา นนั ทศลี นางสาว บัณฑติ า ภิมาลย์

สารบญั 7 บทคัดย่อ ก กิตตกิ รรมประกาศ ข สารบญั ค บทที่ 1 บทน้า 8 บทท่ี 2 ทฤษฎที ่เี กีย่ วข้อง 9 บทท่ี 3 วธิ ีศกึ ษาคน้ ควา้ 15 บทที่ 4 ผลการศึกษาค้นควา้ 16 บทที่ 5 สรปุ อภิปรายผลและขอ้ เสนอแนะ 17 บรรณานุกรม 18 ประวัตผิ จู้ ดั ท้า 19

8 บทท่1ี บทนา ท่ีมาและความสาคัญ ในปัจจุบันท่ีมีน้ามาก เด็กนิยมเล่นน้าด้วยความสนุกตามล้าพังและไม่ได้ตระหนักถึงภัยอันตราย มัก เกดิ อุบตั ิเหตุจมน้าและเสยี ชีวติ มากมาย คณะผูจ้ ดั ทา้ จงึ ไดค้ ดิ คน้ อปุ กรณช์ ว่ ยในการเลน่ น้า เพอ่ื ความปลอดภัย และประหยัดค่าใช้จ่าย โดยผลิตจากขวดพลาสติกท่ีเหลือใช้ในโรงเรียน น้ามาผลิตเป็นเสื้อชูชีพ อย่างไรก็ตาม ผู้ปกครองควรดูแลบุตรหลานของท่านอย่างใกล้ชิดเพราะแหล่งน้าเป็นท่ี อันตรายถึงชีวิต เพราะบางทีเราไม่ สามารถอาจรไู้ ดว้ า่ มีอะไรอยู่ในนา้ เพราะฉะนัน้ เด็กควรอยู่ในการ ดแู ลของเจา้ หนา้ ที่และผ้ปู กครองขณะเลน่ น้า เสมอ วัตถปุ ระสงค์ 1.เพื่อส่งเสริมทักษะกระบวนการ STEM ศึกษา สามารถท้างานอย่างเป็นระบบและฝึกทักษะการ แก้ปญั หา 2.เพ่ือออกแบบและศึกษาประสิทธิภาพของเสื้อชูชีพจากขวดน้าพลาสติก วัตถุที่เหลือใช้ จัดสรรและใช้ ทรพั ยากรอย่างคุ้มค่า 3.เพอื่ พัฒนาความรูเ้ กีย่ วกับเร่อื งการลอยตัว ความดนั ของอากาศทีข่ วดน้า สมมตฐิ านของโครงงาน  เส้ือชูชพี จากขวดนา้ พลาสติก สามารถรับน้าหนกั ของคนไดอ้ ย่างน้อย 50 กิโลกรมั และสามารถลอยน้าได้เสมอื นเสื้อชูชพี ทว่ั ไป ขอบเขตการดาเนนิ งาน สถานที่ : รมิ นา้ ปวั แคมป์ป้งิ ระยะเวลา : 23 ตุลาคม – 31 ตุลาคม 2563 ตวั แปรหรอื ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง : แผนและกาหนดการเวลาทางาน  วางแผนการปฏิบตั งิ าน  หาหวั เร่อื งทส่ี มาชกิ ในกลมุ่ สนใจ  สบื ค้นข้อมลู เก่ยี วกบั หัวข้อที่สมาชิกในกล่มุ สนใจ  น้าข้อมูลท่ีได้มาจดั เรียง  นา้ เสนอตามรูปแบบท่จี ดั เรยี งไว้ ผลทคี่ าดวา่ จะไดร้ ับจากการทาโครงงาน 1.สามารถประดษิ ฐเ์ ส้ือชชู ีพจากขวดนา้ พลาสตกิ ที่มีประสทิ ธภิ าพ ใส่แล้วท้าให้พยงุ ตวั ใหล้ อยและไม่จมนา้ 2. ชว่ ยใหล้ ดปญั หาส่งิ แวดลอ้ มจากขยะ ประเภทขวดพลาสตกิ กับมาใชป้ ระโยชน์ได้อกี 3. สามารถน้าความรู้ท่ีได้ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจ้าวันได้ และยังได้เผยแพร่ ความรู้ความเข้าใจ จากผล การศึกษาไปสู่ประชาชนท่วั ไปได้ 4.เปน็ การนา้ ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ไปใช้ในการแก้ปญั หาในชีวติ ประจ้าวนั ได้อยา่ งถกู ตอ้ ง

9 บทท่2ี ทฤษฎีที่เกย่ี วขอ้ ง ในการศึกษาเรื่อง เสื้อชีพจากขวดน้าพลาสตกิ ผจู้ ดั ท้าได้รวบรวมแนวคิดทฤษฎีและหลักการต่างๆ จากเอกสารที่เก่ยี วขอ้ งดังต่อไปน้ี ความหมายของขวดพลาสติก ขวดพลาสติก PET เป็นขวดที่มีน้าหนักเบา มีความสามารถในการซึมผ่านของก๊าซต้่า และมีความ ต้านทานของแรงกระแทกได้ดี สามารถน้าไปใช้ส้าหรับบรรจุสินค้าได้หลากหลาย เช่น น้าดื่ม น้าแร่ น้ามันพืช น้าปลา และอื่นๆ เพือ่ ให้ผู้ใชไ้ ด้เลือกใช้ขวดท่ีตรงตามวตั ถุประสงค์ ของปริมาตร และลกั ษณะชนิดสินคา้ พรอ้ ม ท้ังได้เลือกรูปทรงที่ถูกใจ และมั่นใจในคุณภาพและความปลอดภัยของบรรจุภัณฑ์ท่ีได้มาตรฐานระดับโลก ขนาดของขวดมาตรฐาน ขวดนา้ พลาสติก ขนาด 300 มล. ขวดน้าพลาสติก ขนาด 250 มล. ขวดน้าพลาสติก ขนาด 350 มล. ขวดนา้ พลาสตกิ ขนาด 320 มล. ขวดน้าพลาสตกิ ขนาด 500 มล. ขวดน้าพลาสตกิ ขนาด 450 มล. ขวดน้าพลาสติก ขนาด 700 มล. ขวดน้าพลาสติก ขนาด 600 มล. ขวดนา้ พลาสติก ขนาด 800 มล. ขวดน้าพลาสติก ขนาด 750 มล. ขวดนา้ พลาสตกิ ขนาด 1500 มล. ขวดน้าพลาสตกิ ขนาด 1000 มล. ชนดิ ของขวดพลาสตกิ แบง่ ไดด้ งั นี้ 1. ขวดท้าจากพอลิไวนิลคลอไรด์ คุณสมบัติท่ัวไปจะใส สามารถป้องกันก๊าซซึมและไขมันซึมผ่านได้ดี ทนความเป็นกรดได้ดี ไม่ทนความร้อนและความเย็น จึงเหมาะส้าหรับใช้ที่อุณหภูมิ ตามปกติ มักจะใช้ในการ บรรจุเคร่ืองส้าอาง น้าผลไม้ น้ามันพืช น้าส้มสายชู และผลิตภัณฑ์ทางเคมี ขวดน้าพลาสติกน้ันเวลาน้ามาใช้ ซ้าๆ จะมีสารเคมีที่สามารถละลายออกมาได้ โดยเฉพาะเมื่อขวดมีการยุบตัว รวมถึงขวดเพท และขวดขาวขุ่น ดว้ ย (ขวดขาวขนุ่ จะละลายออกมามากกว่าโดยเฉพาะเม่อื เกบ็ ไม่ถูกวิธี) 2. ขวดท้าจากพอลลิสไตรีน ป้องกันก๊าซและไอน้าได้ไม่ดีนัก ทนความเป็นกรดได้ปานกลาง ไม่ทน ความร้อนและความเย็น เหมาะส้าหรับใช้ท่ีอุณหภูมิปกติ โดยทั่วไปนิยมใช้บรรจุ ยาเม็ด วิตามิน เครื่องเทศ และทา้ ให้มขี นาดใหญส่ ้าหรบั ใช้บรรจนุ มเพือ่ การขนสง่ แตไ่ มน่ ยิ มใชใ้ นบ้านเรา 3. ขวดทา้ จากพอลลเิ อทลี นี มีการใช้ในสองลักษณะคือ พอลลิเอทีลีนชนิดความหนาแน่นตา้่ และพอล ลิเอทีลีนชนิดความหนาแน่นสูง โดยทั่วไปขวด ชนิดนี้จะยอมให้ไอน้าซึมผ่านได้น้อย แต่จะยอมให้ก๊าซซึมผ่าน ได้ ทนความเป็นกรดได้ปานกลาง ทนความร้อนได้ไม่ดี มากนัก แต่จะทนความเย็นได้ดีมาก ส้าหรับขวดที่มี ชนิดความหนาแน่นสูง มกั จะใช้บรรจุนม ผงซกั ฟอก นา้ ด่ืม สารเคมแี ละเคร่อื งสา้ อาง 4. ขวดท้าจากพอลลโิ พรพีลนี คุณสมบัติโดยทั่วไปแล้วจะยอมให้ไอน้าซึมผ่านไดน้ อ้ ยแต่จะยอมให้ก๊าซ ซมึ ผ่านได้ดี ทนความเป็นกรดได้ปานกลาง ทนความร้อนไดด้ ี แต่จะไม่ทนความเย็น จึงไม่เหมาะแก่การแช่เย็น โดยท่ัวไปใช้ในการบรรจุยา น้าผลไม้ น้าเชื่อม เครื่องส้าอาง แชมพู 5. ขวดท้าจากพอลลิเอทลี ีนเทอรฟ์ ะทาเลตหรือพอลลิเอสเธอร์ ขวดเพท คณุ สมบตั ิโดยทั่วไปจะแข็งใส ป้องกันการซึมผ่านของไอน้าได้ปานกลาง แต่ป้องกันการซึมผ่านก๊าซได้ดีมาก ทนความเป็นกรดได้และความ

10 เย็นได้ดี มักนิยมใช้บรรจุเครื่องด่ืมประเภทน้าอัดลม เบียร์ นอกจากน้ียังบรรจุของเหลวมีแอลกอฮอล์ได้ เช่น แชมพนู ้า โคโลญจ์ โลชน่ั เป็นตน้ ปัจจัยท่ีมผี ลต่อการลอยและการจมของวัตถุ กล่าวถึงปัจจัยที่มีผลต่อการลอยและการจมของวัตถุว่า ความหนาแน่นของวัตถุแต่ละชนิดจะมีความ หนาแนน่ ไม่เทา่ กัน 1. ถา้ วัตถมุ ีความหนาแน่นนอ้ ยกวา่ ของเหลววัตถุจะลอยในของเหลว 2. ถ้าวตั ถมุ คี วามหนาแนน่ เทา่ กนั กบั ของเหลววตั ถุจะลอยปริ่มในของเหลว 3. ถ้าวตั ถุมีความหนาแนน่ มากกว่าของเหลววัตถจุ ะจมในของเหลว ชนดิ ของผ้า ชนดิ ของผ้าที่จะน้ามาท้าเป็นเสอ้ื ชชู ีพ เนอ้ี ผ้าต้องเปน็ ผ้ากันนา้ ไม่อมนา้ เชน่ ผ้าไนลอน ประวัติความเป็นมาของเส้นใยไนลอน ผู้ค้นพบวิธีในการผลิตเส้นใยไนลอน คือ Wallac H. Carothers ในปี ค.ศ. 1928 เป็นอาจารย์ผู้เคย สอน อยู่ท่ีมหาวิทยาลัย Harvard เป็นผู้ท่ีมีความสนใจทฤษฎีโพลิเมอร์ที่มีโมเลกุลต่อกันเป็นโซ่ยาว โดยพบว่า สารประกอบระหว่างกรดไดเบสิกเเละโพลีไฮดริกแอลกอฮอล์ เมื่อได้รับความร้อนจะรวมตัวกันเข้าเป็นโพลีเอ สเตอร์ (Polyester) มีโมเลกุลใหญ่ยึดเก่ียวกันเป็นเส้นใยได้ แต่เส้นใยที่ค้นพบน้ันยังไม่อยู่ในสภาพที่จะใช้กัน เป็นเสน้ ใยผ้าได้ จึงมีการปรบั ปรงุ จนสามารถผลิตเป็นส่ิงทอในปี ค.ศ. 1939 ไนลอน ชนิดแรกท่ผี ลิตออกใชไ้ ด้ คือ Nylon 6.6 โดยผลิตออกจ้าหน่ายเป็นถุงเท้าไนลอนได้รับความนิยมแพร่หลายและผลิตไนลอนชนิดอ่ืน ๆ อีก เช่น ไนลอน 6,10 ไนลอน 6 เป็นต้น ไนลอน หมายถึง ชื่อเส้นใยท่ัวไปท่ีสังเคราะห์จากโมเลกุลใหญ่ ของอะไมด์ (Amide) จับกันเป็นโซ่ยาว อะไมด์น้ีต้องรวมตัวเข้าเป็นหน่ึงของโมเลกุล และต้องมีคุณสมบัติท้า เป็นเส้นใยได้ ดังนั้นไนลอนจึงมิใช่ช่ือของเส้นใยโดยเฉพาะเจาะจง แต่รวมเป็นช่ือของวัตถุที่สังเคราะห์มาจาก สารประกอบอะไมด์ทงั้ สิ้น การผลิตเสน้ ใยผา้ ไนลอน วัตถุพ้ืนฐานในการผลิตเส้นใยไนลอน คือ ถ่านหิน อากาศและน้า โดยเอาสง่ิ เหล่านี้รวมกัน ในหม้ออัด ท่ีใช้ความดันสูง เกิดปฏิกิริยารวมตัวกันเป็นกรดไดปิค และเฮกซาเมทิลีนไดอามีน แยกสารแต่ละชนิดออก มาแล้วน้ามารวมกันในอัตราส่วนเท่ากัน ท้าให้เกดิ ปฏิกิริยาร่วมกนั เป็น เกลือไนลอน (Nylon Salt) จับกันเป็น โซ่ยาวและเป็นโมเลกุลใหญ่ ปฏิกิริยาจะเกิดจากหม้ออัดความดัน หมุนตัวโดยรอบ โดยควบคุมความร้อนและ ความดันจนรวมกันเป็นโมเลกุลใหญ่ช้อนพอดี การหลอมละลายนี้เรียกว่า Melt Spinning เส้นใยไนลอนที่ ผลิตได้จะมีความมันเงามากและโปร่งแสง เมื่อจะน้ามาผลิตผ้าต้องท้าให้เส้นใย ขุ่นโดยเติมไททาเนียมได ออกไซด์ลงไปในสารละลายไนลอนท่ีเป็นของเหลว แล้วกดออกมาเป็นเส้นแบนคล้ายริบบ้ิน เม่ือแห้งแข็งจึง นา้ ไปบดให้เปน็ ผง แล้วท้าให้ร้อนจะละลายและกดออกเป็นเสน้ ใย เพื่อป้องกันไมใ่ ห้ไนลอนเส่ือมคุณสมบัติ ใน ขน้ั ตอนการละลายต้องเอาก๊าซออกซิเจนออกจากถังละลายใหห้ มด เส้นใยไนลอนท่ีไดใ้ นข้ันตอนน้ีน้ันมีความ เหนียวต้่า มีความเหนียวประมาณ 1.0-1.3 กรัมต่อดิเนียร์ เท่านั้น และเส้นใยยังขุ่นทึบจะต้องน้าไปผ่าน ขบวนการดึงยืดเรียกว่า cold drawn โดยดึงยืดออก 400% จะท้าให้เส้นใยใส มีความเหนียวเพิ่มข้ึนเป็น 5.8 กรมั ต่อดิเนียร์ และมีการยืดได้ 17% ไนลอนเป็นเส้นใยทมี่ โี มเลกุลยาว และเป็นสายตรงของ polymide

11 โพลิเมอร์ท่ีจะท้าเป็นเส้นใยได้จะต้องมีน้าหนักโมเลกุลเฉลี่ย 12,000-20,000 ถ้าต้่ากว่า 6,000 จะท้าเป็นเส้น ไม่ได้ เพราะ เส้นใยจะเปราะแต่ถา้ สูงกว่า 20,000 กจ็ ะหลอมละลายซ่ึงทา้ ให้ไมเ่ หมาะท่จี ะน้ามาท้าเป็นเสน้ ใย คณุ สมบัตขิ องเสน้ ใยด้านกายภาพ 1. รูปร่าง เส้นใยไนลอนเรียบและเป็นมัน ดภู าคตัดขวางจะกลม ยกเว้นไนลอน 6.6 ท่มี ีช่ือการคา้ ว่า Antron จะมีลักษณะสามเหล่ียมมุมมน ดูความยาวจะเห็นเป็นเส้นเรียบเสมอกันตลอดทั้งเส้น ค่อนข้างใส และจะมีจุด เลก็ ๆ กระจายอยู่ทว่ั ไป 2. ความเหนียว แตกต่างกันตามจุดประสงค์ที่ผลิตเพื่อการใช้งานในแต่ละด้าน ถ้าใช้ใน งานอุตสาหกรรมที่ต้องการ ความเหนียวสูงมาก การยืดตัวจะลดลง เช่น ค่าความเหนียว 8.8 กรัมต่อดิเนียร์ การยืดตัว 18% ค่าความ เหนียว 4.3 กรัมต่อดิเนียร์ การยืดตัว 45% ความเหนียวเมื่อเปียกจะลดลง เล็กน้อย ประมาณ 80-90% ของ ความเหนยี วเม่ือแหง้ ซง่ึ เปน็ คุณสมบัตทิ ่ดี ี 3. การยดื หยุ่นและการยดื ออกได้ ไนลอนเป็นเส้นใยท่มี ีการยดื หยุ่นดมี าก เช่น ถา้ ืยืดออก 8% จะหดกลับได้ 100% ถ้ายืดออก 16% จะหดกลบั ได้ 91% และไนลอนสามารถยืดตวั ได้มากถงึ 22% ก่อนถึงจุดขาด คุณสมบัตินีม้ ีประโยชนใ์ นงานท่ี ตอ้ งการความยืดหยุ่น เช่น งาน อุตสาหกรรมและเสื้อผ้าทีต่ อ้ งการให้เกิดความกระชบั รปู ทรง 4.การดูดความชน้ื ไนลอนดูดความชื้นได้น้อยมาก เม่ือเปรียบเทียบกับเส้นใยธรรมชาติ แต่ในกลุ่มเส้นใยสังเคราะห์ ด้วยกัน เส้นใยไนลอนน้ันเป็นเส้นใยท่ีดูดความชื้นได้ดีท่ีสุด ท่ีสภาวะมาตรฐาน คือไนลอน 6.6 ดูดความช้ืนได้ 4.2-4.5% ไนลอน 6 ดูดความชน้ื ได้ 3.5-5.0% 5. การทนความรอ้ น เส้นใยไนลอนจัดเป็นเส้นใยในกลุ่ม Thermoplastic fiber (หลอมละลายก่อนการลุกไหม้) ไนลอน 6.6 หลอมละลายที่อณุ หภูมิ 250C ไนลอน 6 หลอมละลายทีอ่ ณุ หภมู ปิ ระมาณ 210 c คุณสมบตั ิของเส้นใยดา้ นเคมี เส้นใยไนลอนทนได้ดืีต่อสารจ้าพวกด่างมากกว่ากรด กรดแร่ เช่น HCL, HNO3, H2SO2 จะละลาย ไนลอนไดใ้ นสารอินทรียบ์ างชนิด เช่น ฟนี อล เมตาครีซอล กรดฟอร์มคิ ละลายเส้นใยได้ นา้ ยาซักแห้งหรอื สารละลายทีใชล้ บรอยเปอ้ื นผา้ จะไมท่ า้ ให้ผ้าไนลอนเสียหาย คุณสมบตั ขิ องเส้นใยด้านชีวภาพ ไนลอนทนต่อเช้ือรา และแบคทีเรียได้พอสมควร ถ้าตกแต่งผ้าไนลอนด้วยการลงแป้งจะท้าให้เชื้อรา ขึ้นได้ ตัวแมลงและมอดไม่กินผ้าไนลอน แต่ถ้าพับเก็บไว้นาน ๆ อาจท้าให้มดหรือแมลงกัดกินตามรอยพับได้ เส้นใยไนลอนกับประโยชน์ในการใช้สอยผ้าไนลอนมีคุณสมบัติที่ดี ส้าหรับใหท้ ้าเสื้อผ้าเคร่ืองใหห้ ลายชนดิ ใช้ได้ ทนทานไม่ขาด ง่าย มักใช้ผสมกับเส้นใยชนิดอื่นๆ เพ่ือให้เกิดคุณสมบัติท่ีดีมากยิ่งข้ึน ทั้งในด้านคงขนาดและ รูปร่าง ทนต่อการขัดสี แต่ไนลอนคุณสมบัติดูดความช้ืนได้น้อย ดังนั้นถ้าต้องการด้ามาตัดเส้ือผ้า ควรเลือก เนือ้ ผ้าท่ีทอถักเนื้อหลวมไม่แน่นมากนัก เพ่ือให้มีการระเหยอากาศและความช้ืนจากรา่ งกายได้สะดวก เม่อื สวม ใส่แล้วจะได้ไม่รู้สึกอับและร้อนมากนัก ผ้าไนลอนถักเป็นผ้าท่ีใช้ได้ทนทาน มีการยืดหยุ่นรักษารูปร่าง ได้ดี

12 เคลื่อนไหวร่างกายได้สะดวก จึงเหมาะส้าหรับตัดชุดกีฬา ส้าหรับผ้าไนลอนท่ีทอเน้ือเรียบแน่น เหมาะที่จะให้ ท้าผ้าร่มกันนา้ ไดแ้ ละถ้าตกแต่งเพ่ือป้องกนั น้าซมึ ผ่านจะใชป้ ระโยชน์ได้ดี เส้นใยไนลอนเหมาะใืช้ทา้ พรม หรอื บุ เครื่องเรือนท้าเชือก การดูแลรักษาเส้นใยไนลอนท้าได้ง่าย ไม่ว่าจะผลิตเป็นผ้าหรือส่ิงอ่ืน ๆ สามารถใช้ได้กับ สบู่ ผงซักฟอก สารฟอกขาว ซักด้วยวิธีการซักเปียกแบบธรรมดา แต่ไม่ควรตากผ้าไนลอนกับแสงแดดนาน ๆ เพราะสีจะซีดง่ายและเสื้อผ้าจะลดความแข็งแรงลง ในปัจจุบันเส้นใยไนลอนได้รับการผลิตออกมามากชนิด เพื่อสนองความต้องการของผู้ใช้ในรปู แบบต่าง ๆ กนั เช่น ไนลอน 4 ผลิตดว้ ย Polymerizing 2 pyrrolidone โดยเพมิ่ คุณสมบัติของเสน้ ใยธรรมชาติ คือ การ ดดู ซมึ ความชนื้ ไดด้ ี ทนความรอ้ นได้สูงกวา่ ไนลอน 6 ไนลอน 5 Polyvalerolactum มคี ุณสมบตั คิ ลา้ ยไนลอน 6.6 ผลิตในอเมรกิ า ไนลอน 7 polyheptanoamide มีชอื่ การคา้ ว่า Enant มีคุณสมบัติคล้ายไนลอน 6.6 และไนลอน 6 แตท่ นความรอ้ นหรอื มีจุดหลอมเหลวสูงกว่า แต่ดดู ความชนื้ ไดน้ ้อยกว่า ผลติ ในรัสเซยี ไนลอน 6 T หรือ Nomex มีจุดหลอมเหลวสูง (370C) มีความหนาแน่นมากกว่าไนลอน 6 และ ไนลอน 6.6 แต่ยึดได้น้อยกว่าไนลอนQiana มีปริมาณน้อยราคาแพง เน้ือผ้าและผิวสัมผัสหรูหรา คล้ายไหม ทนยบั ได้ ดมี าก ย้อมและพมิ พด์ อกได้สวยงาม สไี มต่ กจาง ไนลอน 6, 10 มกั ใช้ทา้ พรม วัตถหุ รือผ้าขนหรอื ผา้ ท่ีตอ้ งการผิวสัมผัสพเิ ศษ ไนลอน 11 ชื่อ Rilsan คล้ายไนลอน 6 และไนลอน 6, 6 ดูดความช้ืนได้น้อย หลอม เหลวที่อุณหภูมิ ต้่า มคี วามหนาแนน่ น้อย มักผลติ เปน็ เสน้ ดา้ ยนุ่มฟู ไนลอน 22 มีคุณสมบัติไม่สะสมประจุไฟฟ้าสถิต เป็นมันคล้ายไหม ยืดหดได้ดีมาก ไม่สกปรกง่าย ผ้า ขาวจะคงความขาวได้ดีเยี่ยมในกลุ่มของเส้นใยโพลิอะไมด์ ยังมีเส้นใยที่คน้ พบใหมผ่ ลิตข้นึ โดยบริษัทดูปอง เม่ือ ปี ค.ศ. 1963 โดยใช้ชื่อว่า Nomex nylon ต่อมาในปี ค.ศ. 1973 ได้ผลิตขึ้นมาอีกชนิดหน่ึงเรียกช่ือว่า Kevlar ทั้งสองชนิดนี้ใช้ชื่อ generic name ว่า อะรามิค ใยอะรามิคมีคุณสมบัติดีกว่าเส้นใยไนลอนหลาย ประการคือไม่ไหม้ไฟ เหนียวทนทานมาก เน้ือผ้าค่อนข้างเบาความถ่วงจ้าเพาะประมาณ 1.38-1.44 กรัมต่อ ลูกบาศก์เซนตเิ มตร ดูดความชน้ื 4.5-7. เสน้ ใยทนตอ่ กรด ด่าง และสารอินทรยี ์ไดด้ ี แต่ไมท่ นเเสงแดด ใยอะรา มิคใช้ตัดเสื้อผ้าเครื่องใช้ของนักบินอวกาศ ท้าผ้าม่าน หมอน ผ้าปูท่ีนอน เชือก พรม ท่ีรองของร้อน และวัสดุ เครือ่ งใชท้ ต่ี อ้ งการใหท้ นความรอ้ น ความดนั ลกั ษณะของความดันของของเหลว  ทุกๆ จุดในของเหลวจะมีแรงดันจากทกุ ทิศทาง  ความดันของของเหลวข้ึนอยกู่ ับความลึกและความหนาแน่นของของเหลว โดยไม่ขนึ้ กบั ปริมาตร ของของเหลว  ภาชนะท่มี ีของเหลวบรรจุออยู่จะไดร้ ับแรงดันจากของเหลวกระทา้ ตอ่ ผนังภาชนะใน แนวต้ังฉาก กบั ผนังภาชนะ เชน่ สังเกตน้าที่พ่งุ ออกมาจากรอยรัว่ ของถงั น้า แสดงถึงวา่ จะต้องมีแรงดันของน้ากระท้าตอ่ พ้ืนท่ดี า้ นขา้ งถัง และแรงดนั น้จี ะดนั ให้น้าพุ่งออกมา ตามรอยรว่ั ได้ ความดันของของเหลวท่เี กิดจากนา้ หนักของของเหลว  นัน้ คือ ความดันของของเหลว ณ จดุ ใดๆ จะแปรผนั ตามความลกึ ของของเหลว

13 ขอ้ สังเกตเกีย่ วกับความดนั จากของเหลว  ความดันเน่ืองจากน้าหนักของของเหลว ท่ีระดับความลึกเดียวกันจะมีค่าเท่ากันทุกทิศทางและ ความดนั จะเพ่มิ มากขนึ้ ตามความลกึ  ความดันของของเหลวจะข้ึนกับความลึกและความหนาแน่นของของเหลว แต่จะไม่ขึ้นกับ ปริมาตรของของเหลว  W =V ค่าน้าหนักท่ีอ่านได้ จากตาช่ังไม่เท่ากับค่าแรงดันท่ีก้นภาชนะ เพราะน้าหนักของ ของเหลวขึ้นอยู่กับปริมาตรของของเหลวตามสมการ แต่แรงกดท่ีก้นภาชนะขึ้นอยู่กับพื้นท่ีตาม สมการ F = PA แรงพยุงของของเหลว แรงพยุงของของเหลวเป็นแรงท่ีกระท้าต่อวัตถุท่ีลอย หรือจมอยู่ในของเหลว ปัจจัยท่ีเก่ียวข้องกับแรงพยุง ของของเหลว ไดแ้ ก่ ชนดิ ของวตั ถุ ชนิดของเหลว และขนาดวัตถุแรงพยงุ ของของเหลว เป็นแรงดนั ขึ้นของน้าที่ กระท้าต่อวัตถุท่ีลงไปในน้า มีค่าเท่ากบั น้าหนักของน้าท่ีถกู วัตถุนั้นแทนที่ ถ้าน้าหนักของวตั ถุมีค่าน้อยกว่าแรง พยุงของของเหลว วัตถุน้ันจะลอยน้า แต่ถ้าน้าหนักของวัตถุมีค่ามากกว่าแรงพยุงของของเหลว วัตถุน้ันก็ จะ จมน้า เพราะวัตถุที่ลอยน้าได้ต้องมีความหนาแน่นน้อยกว่าน้า หรือน้าหนักของวัตถุเม่ือช่ังในน้าจะลดลง เพราะมีแรงที่เกิดจากน้าช่วยพยุงน้าหนักของวัตถุน่ันเอง หลักของแรงพยุงของของเหลว พบโดย อาร์คิมีดิส (Archimedes) ปราชญช์ าวกรีก ท่ีพบวา่ วัตถใุ ดๆ ทอ่ี ย่ใู นของเหลวจะถูกแรงพยงุ กระทา้ โดยแรงพยุงที่กระท้า นีจ้ ะมคี า่ เทา่ กับนา้ หนกั ของของเหลวที่ถกู แทนท่ีดว้ ยส่วนทจี่ มอยู่ในของเหลวน้นั ๆ ดังน้ัน ของเหลวทุกชนิดจะมีแรงพยุงของของเหลวท่ีกระท้าต่อวัตถุท่ีลอย หรือจมอยู่ในของเหลวน้ัน การลอย หรือการจมของวัตถุขึ้นอยู่กับน้าหนักของวัตถุ และแรงพยุงของของเหลวน้ันแรงพยุงของของเหลวน้าไปใช้ ประโยชน์ในการประดษิ ฐ์สิง่ ตา่ ง ๆ หลายอย่าง เชน่ เส้อื ชชู พี แพยางเรอื เป็นต้น ปัจจยั ที่เกีย่ วขอ้ งกบั แรงพยงุ ของของเหลว  ชนิดของวตั ถุ วัตถุแต่ละชนดิ จะมีความหนาแน่นแตกต่างกัน เชน่ เหล็ก ไม้ พลาสติก วตั ถุเหล่าน้ีถ้ามี มวลเท่ากัน เหล็กจะมีความหนาแน่นมากกว่าไม้ และไม้มคี วามหนาแนน่ มากกว่าพลาสติก ซึ่งวัตถุท่ี มีความหนาแนน่ มากจะจมลงไปในของเหลวมาก  ชนิดของเหลว ของเหลวแต่ละชนิดมีความหนาแน่นแตกต่างกัน เช่น น้าบริสุทธิ์มีความหนาแน่น มากกวา่ เอทิลแอลกอฮอล์ และนา้ มันเบนซนิ ซึ่งของเหลวทีม่ คี วามหนาแน่นมากจะมแี รงพยงุ มาก  ขนาดของวัตถุ จะส่งผลต่อปริมาตรท่ีจมลงไปในของเหลว ซึ่งถ้าวัตถุมีขนาดใหญ่จะมีปริมาตรที่จมลง ไปในของเหลวมาก ท้าใหแ้ รงพยุงของของเหลวมคี ่ามาก ขนาดของเสื้อชูชีพ ขนาดของเสอ้ื ชูชีพกวา้ ง 50 ซม. ยาว 56 ซม. ขัน้ ตอนการสร้างเสื้อชูชพี 1) น้าผา้ มาตัด ขนาดกว้าง 50 ซม. ยาว 112 ซม. 2) ตดั วงกลมตรงจดุ ก่ึงกลางของกระสอบ รศั มี 10 ซม. และน้าผา้ มาเย็บปดิ รอยตดั ท้า คอเสือชูชพี 3) น้าขวดน้า ขนาด 1.5 ลิตร จ้านวน 5 ขวด มาใส่ในปลายผ้าท้ัง 2 ด้าน และเย็บกระสอบติดกันให้ แน่นเพ่ือไม่ใหข้ วดสามารถขยบั ได้

14 4) นา้ สายเขม็ ขัดมาเยบ็ ติดกบั ผ้าดา้ นขา้ งจากปลายกระสอบท้งั 2 ดา้ นท่ีระยะ 7.5 ซม. และ 19.5 ซม. จากปลายผ้า 5) นา้ สายเข็มขัดมาเย็บติดกบั ปลายกระสอบบรเิ วณจดุ ก่งึ กลาง 6) นา้ ตวั ล็อคกา้ มปูมาเย็บติดกับสายเข็มขัด 7) เกบ็ รายละเอยี ดและท้าสีให้สวยงาม เส้ือชชู พี สา้ หรบั เรอื เดนิ ภายในประเทศตอ้ งมคี ุณสมบตั ิและลักษณะ ดังต่อไปนี้ เส้อื ชูชีพ ระดบั 100 ตอ้ งมีแรงลอยตวั ดงั น้ี เสอ้ื ชูชพี สา้ หรบั ผใู้ หญ่ต้องมีแรงลอยตัว ไม่น้อยกวา่ 100 นวิ ตัน เสอ้ื ชชู พี สา้ หรับเดก็ ต้องมีแรงลอยตัว ดงั น้ี 1) น้าหนกั ผใู้ ช้ไมเ่ กนิ 15 กิโลกรมั มแี รงลอยตวั ไมน่ ้อยกว่า 30 นวิ ตนั 2) นา้ หนกั ผู้ใช้มากกวา่ 15 กโิ ลกรัม แตไ่ ม่เกิน 30 กิโลกรัม มีแรงลอยตวั ไม่น้อยกวา่ 40นวิ ตัน 3) นา้ หนักผู้ใช้มากกว่า 30 กิโลกรัม แตไ่ มเ่ กิน 40กิโลกรัม มแี รงลอยตวั ไมน่ ้อยกวา่ 50 นวิ ตนั เสอื้ ชูชพี ระดบั 150ต้องมแี รงลอยตัว ดังนี้ เสือ้ ชูชพี ส้าหรับผใู้ หญ่ต้องมีแรงลอยตัว ไม่น้อยกวา่ 150นวิ ตนั เสื้อชชู พี ส้าหรับเดก็ ต้องมีแรงลอยตวั ดังนี้ 1) น้าหนกั ผใู้ ชไ้ ม่เกนิ 15กิโลกรัม มีแรงลอยตัวไม่น้อยกว่า 45 นิวตนั 2) นา้ หนักผู้ใชม้ ากกว่า 15กิโลกรัม แตไ่ มเ่ กิน 30 กโิ ลกรัม มีแรงลอยตวั ไม่น้อยกวา่ 60 นวิ ตัน 3) นา้ หนักผู้ใช้มากกวา่ 30 กโิ ลกรัม แต่ไม่เกิน 40กิโลกรัม มีแรงลอยตัว ไม่น้อยกวา่ 75 นวิ ตัน

15 บทที่ 3 วธิ ศี ึกษาคน้ ควา้ วิธีการดาเนนิ งาน 1. การออกแบบชิ้นงาน/แบบร่างชิน้ งาน 2. แบบร่างเสื้อชชู พี ดา้ นหน้า-ดา้ นหลัง 3. ขั้นตอนการสร้างเสอ้ื ชูชีพ 3.1) น้ากระสอบป๋ยุ มาตัด ขนาดกว้าง 50 ซม. ยาว 112 ซม. 3.2) ตัดวงกลมตรงจดุ กง่ึ กลางของกระสอบ รัศมี 10 ซม. และนา้ ผา้ มาเยบ็ ปดิ รอยตัดท้าคอเสื้อชชู พี 3.3) นา้ ขวดน้าอัดลม ขนาด 1.5 ลติ ร จ้านวน 5 ขวด มาใส่ในปลายกระสอบท้งั 2 ดา้ น และเย็บกระสอบ ติดกนั ให้แน่นเพอื่ ไมใ่ ห้ขวดสามารถขยับได้ 3.4) น้าสายเข็มขัดมาเย็บติดกับกระสอบด้านข้างจากปลายกระสอบท้ัง 2 ด้าน ท่ีระยะ 7.5 ซม. และ 19.5 ซม. จากปลายกระสอบ 3.5) นา้ สายเข็มขัดมาเยบ็ ติดกับปลายกระสอบบรเิ วณจุดกึ่งกลาง 3.6) น้าตวั ล็อคกา้ มปูมาเย็บตดิ กับสายเข็มขดั 3.7) เก็บรายละเอียดและทาสีให้สวยงาม 4.ทดสอบประสทิ ธิภาพ 5.ปรับปรงุ แก้ไข(ถา้ มปี ญั หา) ประชากร/กลมุ่ ตัวอยา่ ง นักเรยี นชัน้ มธั ยมศึกษาปีท่ี 5/1 จ้านวน 34 คน เคร่อื งมอื 1) ขวดน้าพลาสติก ขนาด 1.5 ลิตร 2) กระสอบปุ๋ย 3) ด้ายและเขม็ เยบ็ กระสอบ 4) กรรไกร 5) เศษผา้ 6) สี 7) ดินสอ 8) เทปกาว 9) ปากกาเมจิ

16 บทที่ 4 ผลการศึกษาคน้ คว้า 1. การทางานของช้ินงาน/วิธกี ารใช้งาน 1. สวมเส้อื ชูชีพใหด้ ้านเข็มขัดมาอยดู่ า้ นหน้าล้าตัว 2. เลอ่ื นปรับระดบั สายเข็มขดั ใหพ้ อดตี วั โดยจะมีสายรัดอก รดั เอว และสายรัดระหว่างขา 3. ทดสอบประสทิ ธภิ าพการท้างานของเส้ือชชู ีพ 2. ผลการทดสอบประสทิ ธภิ าพของชน้ิ งาน 2.1ผลการทดสอบ 1.เส้อื ชชู ีพสามารถรบั น้าหนกั ไดจ้ รงิ และไดม้ ากสดุ ถงึ ประมาณ 120 กิโลกรมั ตามขนาดขวด 2.ในขวดพลาสติกหลังจากทข่ี น้ึ จากนา้ ไมม่ ีนา้ เข้าไป 3.เสอื้ ชูชพี มนี า้ หนักมากข้ึนเมื่อกลบั ข้ึนมา 2.2แนวทางการปรับปรุง 1.ควรจะปรบั ปรุงใหเ้ สื้อมีขนาดท่แี ตกต่างกนั มีหลายขนาดจะแบ่งได้ตามขนาดขวดแต่ละชนดิ 2.ควรปรับปรุงให้ใชผ้ า้ ท่มี นี ้าหนักเบาแทนผ้าท่มี ีนา้ หนกั มากในการท้าชุดเพ่ือลดน้าหนกั ของเส้ือชูชีพ

17 บทท่ี 5 สรุป อภปิ รายผลและข้อเสนอแนะ สรุปผลการทดลอง -จากการประดษิ ฐเ์ สอ้ื ชูชพี จากขวดน้าและกระสอบ ไดผ้ ลสรุปวา่ เปน็ การคิดทสี่ ร้างสรรค์ในการน้าเอา ขวดท่เี หลือใชแ้ ละกระสอบทีเ่ หลือใช้ มาใช้ใหเ้ กิดประโยชนส์ ูงสดุ ลดภาวะขยะมูลฝอย ภาวะโลกร้อนหรอื ภาวะเรอื นกระจก และสามารถนามาชว่ ยเหลอื ผู้ประสบภัยปัญหานา้ ท่วม และการจมน้าได้เปน็ อย่างดี ปญั หาและอปุ สรรคในการศึกษาคน้ คว้า สอดคลอ้ งหรอื ขดั แยง้ ในทางทฤษฎีอย่างไร สอดคล้องตรงที่หากขนาดขวดของเราเล็กเกินไปท่ีจะเก็บอากาศไว้ได้ก็จะท้าให้สามารถรับน้าหนักได้ น้อยลงเพราะฉะนัน้ เราจงึ ตอ้ งเลอื กขวดทส่ี ามารถท้าใหเ้ สือ้ ชูชพี รับน้าหนักได้มากขึ้น ขอ้ เสนอแนะและแนวทางในการพัฒนา -ออกแบบใหม้ หี ลายขนาดและทนั สมยั มากขนึ้ -ลวดลายหลากหลายรูปแบบเพอื่ สรา้ งความสนใจและดึงดดู กลุ่มผคู้ นไดม้ ากข้นึ

18 บรรณานุกรรม Baanbunchupankk. (2558). ขวดพลาสตกิ . [ออนไลน์]. เขา้ ถงึ ได้จาก www.baanbunchupankk.com. (วันที่คน้ ขอ้ มลู : 30 สิงหาคม 2563) niteschan . แรงและความดัน. [ออนไลน]์ . เขา้ ถึงได้จากwww.niteschan.com/thinking/forcecreative/ d5.htm. (วันท่ีค้นข้อมูล : 30 สิงหาคม 2563) ธัชวฒุ ิกงประโคน (นามแผง). [ออนไลน์]. เขา้ ถึงได้จาก http://www.tta.in.th. (วนั ที่ค้นขอ้ มูล : 30 สงิ หาคม 2563) เจตริน ทองชู, อลงกร อาเสม็ และพงปกรณ์ ทา่ จนี . (2560). polymerplastics. หนา้ 4. วรรณภา คนเพียร, สรณีย์ ฉุนกระโทก และคณะ. (2558). ชดุ ชชู ีพสดุ ประหยดั . หน้า 5. อรรถวิทย์ เรือนใจมั่น, นพฤทธ์ิ ปานธูป และพิมชนก ก้าเนิดเพชร. (2560). โครงงานสะเต็มศึกษา (STEM Education) เร่อื ง เส้ือชชู พี จากขวด. โรงเรียนสะตอวิทยาคม รชั มงั คลาภิเษก.

19 ประวัติผ้จู ัดทา ช่อื เรื่อง เสอื้ ชชู ีพจากขวดน้าพลาสตกิ 1.นาย โยธิน นนั ตะ๊ เสน ประวตั ิส่วนตัว วนั เดือน ปี ที่เกิด อายุ: 24 พฤษภาคม พ.ศ.2546 อายุ 17 ปี ที่อยู่ (ปจั จุบนั ) 36/3 ต.เจดยี ์ชยั อ.ปัว จ.นา่ น ประวตั ิการศึกษา ปี พ.ศ. 2558 ชนั้ ป.6 ร.ร. บ้านปรางค์ ปี พ.ศ. 2561 ชัน้ ม.3 ร.ร. ปวั ปี พ.ศ. 2563 ชั้น ม. 5/1 เลขที่ 8 2.นางสาว กันตฤ์ ทัย ศริ ิรตั น์ ประวัตสิ ่วนตวั วัน เดือน ปี ท่ีเกิด อายุ: 12 มกราคม พ.ศ. 2547 อายุ 16 ปี ท่อี ยู่ (ปัจจุบนั ) 280 หมู่ 6 ต.ริม อ.ท่าวังผา จ.น่าน ประวตั ิการศึกษา ปี พ.ศ. 2558 ชั้น ป.6 ร.ร.บ้านทา่ วังผา(ประชารัฐวิทยาคาร) ปี พ.ศ. 2561 ชน้ั ม.3 ร.ร. ปัว ปี พ.ศ. 2563 ชน้ั ม. 5/1 เลขที่ 27 3.นางสาว ณัฐวดี จิตอารี ประวัตสิ ่วนตวั วนั เดือน ปี ทเี่ กดิ อายุ: 20 กรกฎาคม พ.ศ. 2546 อายุ 17 ปี ที่อยู่ (ปัจจุบนั ) 80 หมู่6 ต.สถาน อ.ปวั จ.นา่ น ประวัตกิ ารศึกษา ปี พ.ศ.2558 ชน้ั ป.6 ร.ร.บา้ นนาฝาง ปี พ.ศ. 2561 ชัน้ ม.3 ร.ร. ปัว ปี พ.ศ. 2563 ชัน้ ม. 5/1 เลขท่ี 33 4.นางสาว นนั ทิชา นนั ทศีล ประวัติสว่ นตัว วัน เดอื น ปี ทเี่ กิด อายุ: 18 พฤษภาคม พ.ศ. 2547 อายุ 16 ปี ทอี่ ยู่ (ปจั จบุ นั ) 191/1 หมู่ 2 ต.ปัว อ.ปัว จ.น่าน ประวัตกิ ารศึกษา ปี พ.ศ. 2558 ช้นั ป.6 ร.ร.บ้านปรางค์ ปี พ.ศ. 2561 ช้นั ม.3 ร.ร. ปวั ปี พ.ศ. 2563 ช้นั ม. 5/1 เลขที่ 34

20 5.นางสาว บัณฑิตา ภิมาลย์ ประวตั ิสว่ นตวั วัน เดือน ปี ท่ีเกิด อายุ: 21 มกราคม พ.ศ. 2547 อายุ 16 ปี ท่ีอยู่ (ปจั จบุ นั ) 33 หมู่ 1 ต.ทา่ วงั ผา อ. ทา่ วงั ผา จ.นา่ น ประวตั ิการศึกษา ปี พ.ศ. 2558 ชั้น ป.6 ร.ร.บ้านดอน(ศรีเสรมิ กสิกร) ปี พ.ศ. 2561 ชัน้ ม.3 ร.ร. ปวั ปี พ.ศ. 2563 ช้นั ม. 5/1 เลขที่ 35

21


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook