ชอ่ื ......................................................................................นามสกลุ ........................................................... เลขท.ี่ .................................................................................ระดบั ชั้น........................................................... เร่อื ง ระดบั ของภาษา ใบความรู้ท่ี 1 ระดับของภาษา ภาษาเป็นเคร่ืองมือในการส่ือสารเพ่ือสร้างความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลในครอบครัว และสังคมซึ่งลักษณะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลจะทาให้การใช้ภาษามีความแตกต่างกัน ดังนั้นผู้ส่งสารควรคานึงถึงสถานภาพทางสังคม ประสบการณ์ และความรู้ของผู้รับสาร ภาษาไทยแบ่งระดับการใช้ภาษาออกเป็นหลายระดับ ผู้ใช้ภาษาจึงควรเลือกใช้ให้เหมาะสม ตามสัมพนั ธภาพของบุคคล เพราะหากใชภ้ าษาผดิ ระดับหรอื ไมเ่ หมาะสมจะทาให้การสื่อสาร ไม่สัมฤทธิผล 1.การแบง่ ระดับภาษา การแบง่ ระดบั ภาษา มนี กั วชิ าการท้ังในและตา่ งประเทศได้แบ่งระดบั ภาษาที่แตกต่าง กันออกไป ซึง่ สรุปการแบ่งระดับออกเปน็ 3 วธิ ี ดงั นี้ 1. แบง่ เปน็ 2 ระดบั - ระดบั ทเี่ ปน็ ทางการ (มาตรฐาน/แบบแผน) - ระดับทไี่ มเ่ ป็นทางการ (ไม่มาตรฐาน/ไมเ่ ป็นแบบแผน) 2. แบ่งเป็น 3 ระดบั - ระดับท่ีเปน็ ทางการ (ราชการ/แบบแผน) - ระดับก่ึงทางการ (กง่ึ ราชการ/กึ่งแบบแผน) - ระดับท่ไี มเ่ ปน็ ทางการ (ปาก/สแลง/ไม่เป็นแบบแผน) 3. แบง่ เป็น 5 ระดบั - ระดับพิธกี าร - ระดบั ทางการ - ระดบั ก่งึ ทางการ - ระดบั ทไี่ ม่เปน็ ทางการ - ระดบั กันเอง (สนทนา) 1
การแบ่งระดับภาษา ออกเป็น 3 ระดบั 01 ภาษาระดบั ทางการ ภาษาระดับทางการ หรืออาจเรียกว่า ภาษาแบบแผน เป็นภาษาท่ีใช้ในสถานการณ์ท่ีเป็นทางการหรือเป็นพิธีกร ผู้ส่งสารมักเป็น บุคคลสาคัญ บุคคลระดับสูงในวงวิชาการหรือสังคมผู้รับสารอาจเป็นบุคคล ในวงการเดียวกนั หรอื ประชาชนโดยทว่ั ไปก็ได้ ซ่งึ ผรู้ ับสารจะเป็นเพียงผู้รับรู้ ไม่จาเป็นต้องมีการโต้ตอบ ภาษาระดับนี้จะใช้ในการติดต่อธุรกิจ การงาน การเสนอข่าว หนังสือราชการ เอกสาราชการ งานเขียนทางวิชาการ การแสดงปาฐกถา ตวั อยา่ งภาษาระดับทางการ ถ้าท่านท้ังหลายเห็นว่าถึงเวลาแล้ว ท่านต้องเตรียมตัวที่จะเสียสละ คือเสียสละความมักใหญ่ใฝ่สูงส่วนตัว ความริษยาโกรธแค้นส่วนตัวเสียให้ สิ้น แล้วรวมกันตัดแต่งดวงจิตซึงเป็นอันหน่ึงอันเดียวกันข้ึนเป็นของพลี ที่บูชาแห่งความรักชาติ ให้สมควรที่เราท้ังหลายได้ชื่อว่าเป็นคนไทยอันเป็น นามซ่ึงใหค้ วามภมู ิใจแก่เราท้ังหลาย ลัทธเิ อาอยา่ ง : อัศวพาหุ 2
ระดบั ภาษา การแบง่ ระดบั ภาษา 02 ภาษาระดับก่ึงทางการ หรืออาจเรียกว่า ภาษากึ่งแบบแผน เป็นภาษาที่ใช้สาหรับ รู้จัก เพื่อนที่ทางานหรือกับบุคคลท่ีสนิทสนมกันพอควร แต่มีผู้อ่ืนที่อาวุโส กวา่ รว่ มสนทนาอย่ดู ้วยการสนทนาพูดคุยกันในชีวิตประจาวันหรือในโอกาส ท่ีไม่เป็นทางการกับบุคคลที่ไม่คุ้นเคย เช่น เพื่อนที่สนทนาจึงต้องคานึงถึง ความสุภาพ ระมัดระวังการใช้ถ้อยคา สานวน ควรให้ร่วมสนทนา สาหรับ เนอื้ หาสาระทน่ี ามาสนทนา เชน่ การปรึกษาเร่ืองงาน การเขียนจดหมายถึง เพ่ือนการรายงานขา่ ว การเสนอบทความในหนงั สือพิมพ์ ตัวอยา่ งภาษาระดับกงึ่ ทางการ เด็กรุ่นผมถ้าไปโรงเรียนถูกครูเฆ่ียน รู้ถึงหูพ่อแม่ต้องเจอไม้เรียว อีกรอบ โทษฐานไปทาเกเรขายหน้าพ่อแม่ ภาษาขาไพ่เรียกว่าโดนสองเด้ง แต่เด็กรุ่นนีถ้ ูกครูเฆีย่ น พ่อแมเ่ อาเรอื่ งกับครใู หเ้ หน็ ดาเหน็ แดงไปขา้ งเลย ระหวา่ งคนสองร่นุ ตามประสาการ์ตนู นิสต์ : ชัย ราชวัตร 3
ระดบั ภาษา การแบ่งระดับ ภาษา 03 ภาษาระดบั ไม่เปน็ ทางการ เ ป็ น ภ า ษ า ท่ี ใ ช้ พู ด ส น ท น า กั น ใ น ชี วิ ต ป ร ะ จ า วั น ร ะ ห ว่ า ง บุคคลที่มีความสนิทสนม คุ้นเคยกันเป็นพิเศษ เช่น ในกลุ่มเพ่ือน บุคคลใน ครอบครัว ซ่ึงสถานท่ีท่ีเหมาะสมสาหรับการสนทนาด้วยภาษาระดับไม่เป็น ทางการหรอื อาจเรยี กว่าภาษาระดบั กันเอง เป็นสถานที่ส่วนตัว ภาษาระดับ ไม่เป็นทางการอาจฟังดูแล้วไม่สุภาพ ปะปนไปด้วยคาคะนอง คาหยาบ คาภาษาถิ่น คาภาษาต่างประเทศ ภาษาในระดับนี้เหมาะสมที่จะใช้สาหรับ การพูดในชีวิตประจาวันกับบุคคลท่ีคุ้นเคยกันและอาจใช้ในภาษาเขียนใน รปู แบบของนทิ าน เรอ่ื งสั้น นวนยิ าย เพอ่ื สร้างบรรยากาศ และความสมจริง ใหแ้ ก่ตวั ละครภายในเรอื่ ง ตวั อย่างภาษาระดบั ไมเ่ ป็นทางการ “แกเอารัวออกไป...เอาออกไปไอ้พวกฉิบหาย...ลูกกูกาลังจะตายให้ กไู ปซือ้ ยากอ่ น” นางรอ้ งเสียงหลงรีบเอามอื ยดึ ราวสะพานไวอ้ ย่างหมน่ิ เหม่ “นจ่ี ะแกลง้ กูไปทาไม...อย่าแกว่งสะพาน...วา้ ย ๆ บอกว่าอย่าแกว่ง ๆ” นาง โวยวายไมไ่ ดศ้ ัพท์ ไพฑรู ย์ ธญั ญา 4
ระดบั ภาษา การใชูภาษาระดบั ตา่ ง ๆ 01 ตวั อยา่ งการใช้ภาษาระดับต่าง ๆ ภาษาทั้ง 3 ระดับ ได้แก่ ระดับทางการ ก่ึงทางการ และไม่เป็นทางการ เปน็ การแบ่งระดบั ภาษาตามสถานการณ์ทีใ่ ช้ในชวี ติ ประจาวัน ซงึ่ สถานการณ์ดังกล่าวมีผล ต่อการกาหนดรูปแบบของถ้อยคา สานวนโวหาร การเรียงเรียบประโยค และความ เคร่งครัดไวยากรณ์ของภาษาระดับต่าง ๆ ซ่ึงตารางเปรียบเทียบนี้ จะแสดงให้เห็นความ แตกต่างทางไวยากรณ์ โดยใช้ประโยคที่มีความหมายเดียวกันมาเรียบเรียงด้วยถ้อยคาที่ แตกตา่ งกนั ในแต่ละระดับ ดงั น้ี อา้ งองิ กาญจนา นาคกลุ . (2555). บรรทัดฐานภาษาไทย เลม่ 1. โอเดียนสโตร์. ก่งิ กาญจน์ บรู ณสนิ , และพรหมมินทร์ ประไพพงษ.์ (2562). ภาษาไทยพื้นฐาน. เอมพันธ์. ฟองจันทร์ สขุ ย่ิง. (2551). หนังสอื เรียน รายวชิ าพื้นฐานภาษาไทย หลักภาษาและการใช้ภาษาชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 3 (พิมพค์ รงั้ ที่ 16). อักษรเจริญทศั น์. สุรรี ตั น์ อกั ษรกาญจน์. (ม.ป.ป.). การเขียนเพอ่ื การสอ่ื สาร [เอกสารท่ีไมม่ กี ารตพี ิมพ์]. คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสรุ าษฎรธ์ านี. 5
Search
Read the Text Version
- 1 - 5
Pages: