Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore - แผนพัฒนาจังหวัดศรีสะเกษแผน 5 ปี (2561-2565) ฉบับทบทวน ปี 2563

- แผนพัฒนาจังหวัดศรีสะเกษแผน 5 ปี (2561-2565) ฉบับทบทวน ปี 2563

Description: - แผนพัฒนาจังหวัดศรีสะเกษแผน 5 ปี (2561-2565) ฉบับทบทวน ปี 2563

Search

Read the Text Version

พแจ(ฉบผ.ังับศทบ.นห2ทว5พวน6ปดััฒ1 พ-ศ.2ศน.52ร56า653จสี ) งั ะเหกวษดั Website: http://www.sisaket.go.th E-mail: [email protected] Tel: +66 0 4561 1139 # 15

พแจ(ฉบผ.ังบัศทบ.นห2ทว5พวน6ปดัฒั1 พ-ศ.2ศน.52ร56า653จีส) งั ะเหกวษัด Website: http://www.sisaket.go.th E-mail: [email protected] Tel: +66 0 4561 1139 # 15

126 คานา ในคราวประชุมคณะกรรมการบรู ณาการนโยบายพัฒนาภาค (ก.บ.ภ.) คร้ังที่ 2/2561 เม่ือวันท่ี 5 กันยายน 2561 โดยมีนายกรัฐมนตรี (พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา) เป็นประธาน มีมติเห็นชอบนโยบายหลักเกณฑ์ และ วิธีการจัดทาแผนพัฒนาจังหวัดและกลมํุ จงั หวัด ฉบับทบทวน หลักเกณฑ์การจัดทาแผนปฏิบัติราชการประจาปีของ จงั หวดั และกลุํมจงั หวดั ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 และปฏิทิน การจัดทาแผนพัฒนาและแผนปฏิบัติราชการ ประจาปขี องจังหวัดและกลมุํ จังหวดั ประจาปงี บประมาณพ.ศ. 2563 จังหวดั ศรสี ะเกษ จึงได๎ดาเนินการจดั ทาแผนพัฒนาจังหวัด (พ.ศ.2561 -2565) ฉบับทบทวน ปี พ.ศ.2563 โดยมีคณะทางานขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัดจากทุกภาคสํวนได๎รํวมประชุม หารือ เพื่อทบทวน แผนพฒั นาจังหวัดในแตํละประเดน็ การพัฒนา และนาเสนอผลการจัดทาแผนฯ ตอํ คณะกรรมการบริหารงานจังหวัด แบบบูรณาการ (ก.บ.จ.) เพ่ือปรับปรุงให๎สมบูรณ์ยิ่งขึ้น นอกจากน้ีจังหวัดศรีสะเกษ ยังได๎รับความอนุเคราะห์จาก สานักพฒั นาเศรษฐกิจและสังคมภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กองจัดทางบประมาณเขตพ้ืนท่ี 2 จังหวัดอุบลราชธานี และผู๎ทรงคณุ วุฒิจากสถาบนั การศกึ ษาท้ังในและนอกพ้ืนท่ี ไดใ๎ ห๎ข๎อคิดเห็นเก่ียวกับการจัดทาแผนงบประมาณ และ คาแนะนาเก่ียวกับแนวทางการจัดทาตัวชี้วัดตามแผนพัฒนาจังหวัด ความเชื่อมโยงแผน การวิเคราะห์สภาวการณ์ ประเด็นท่ีเช่ือมโยงกับข๎อมูลสถิติเชิงพื้นที่ และการจัดทา Project Idea และ Project Brief ทาให๎แผนพัฒนา จังหวัดศรีสะเกษ พ.ศ.2561 -2565 ฉบับทบทวน ปี พ.ศ.25623 สาเร็จลุลํวงไปด๎วยดี จังหวัดศรีสะเกษจึง ขอขอบคุณทุกทํานมา ณ โอกาสนี้ จงั หวดั ศรสี ะเกษ ธันวาคม 2561 แผนพฒั นาจงั หวดั ปี พ.ศ. 2561-2565 (ฉบับทบทวน ปี พ.ศ.2563) | จังหวดั ศรสี ะเกษ

สารบัญ 127 1. ขอ้ มลู เพ่ือการพัฒนา หน้า 1.1 ข๎อมูลพืน้ ฐานทางกายภาพ 1 1.2 ขอ๎ มูลเชงิ เปรียบเทยี บ 4 1) ด๎านเศรษฐกจิ 56 2) ดา๎ นสงั คมและความมนั่ คง 56 3) ทรพั ยากรธรรมชาติและส่งิ แวดล๎อม 61 1.3 ประเด็นปญั หาและความตอ๎ งการเชงิ พ้นื ท่ี 69 1.4 ผลการพฒั นาและแกไ๎ ขปัญหาจงั หวดั ในชวํ งท่ีผาํ นมา 71 2. ประเด็นการพฒั นา 75 2.1 บทวิเคราะห์ 81 2.2 เปาู หมายการพัฒนาจังหวัด 81 2.3 ตัวชีว้ ัดความสาเร็จตามเปูาหมายการพัฒนาจังหวัด 82 2.4 ประเดน็ การพัฒนาของจงั หวดั 83 1) วัตถุประสงค์ 84 2) เปูาหมายและตวั ช้วี ดั 84 3) แนวทางการพัฒนา 84 3. แบบฟอร์มการจดั ทาแผนพฒั นาจงั หวดั 85 3.1 แผนงาน : ชุดโครงการ (แบบ จ.1) 87 3.2 แผนงานโครงการอยาํ งยํอ : Project Idea (แบบ จ.1-1) 88 4. ภาคผนวก 100 4.1 ภาคผนวก ก. รายการตรวจสอบการดาเนนิ การตามพระราชกฤษฎีกาวําดว๎ ยการ 122 บริหารงานจังหวัดและกลุํมจงั หวัดแบบบรู ณาการ พ.ศ. 2551 123 4.2 ภาคผนวก ข. สรปุ ผลการทบทวนแผนพัฒนาจังหวัด 124 แผนพฒั นาจังหวัด ปี พ.ศ. 2561-2565 (ฉบบั ทบทวน ปี พ.ศ.2563) | จังหวัดศรสี ะเกษ

1 ส่วนท่ี 1 ข้อมูลเพ่อื การพัฒนา แผนพฒั นาจงั หวดั ปี พ.ศ. 2561-2565 (ฉบบั ทบทวน ปี พ.ศ.2563) | จงั หวดั ศรสี ะเกษ

2 1. ข้อมลู เพอื่ การพัฒนา ความเป็นมาทางประวัติศาสตร์ของจังหวัดศรีสะเกษ ก่อนสมัยกรุงศรีอยุธยา ไม่ปรากฏหลักฐาน แน่นอน มกี ารจดบันทึกไว้พอสังเขป ส่วนมากได้จากคาบอกเล่าของผู้สูงอายุเล่าต่อๆ กันมา เอาความแน่นอน ไมไ่ ด้นัก นักประวัติศาสตรแ์ ละนกั โบราณคดสี นั นิษฐานว่า พืน้ ท่ภี าคอีสานในปัจจบุ ันเคยเป็นที่อยู่ของพวกละว้า และลาว มีแว่นแคว้นอาณาเขตปกครองเรียกว่า \"อาณาจักรฟูนัน\" ประมาณปี พ.ศ.1100 พวกละว้าที่เคยมี อานาจปกครอง อาณาจักรฟูนันเส่ือมอานาจลง ขอมเข้ามามี อานาจแทน และตั้งอาณาจักรเจนละ หรืออิศานปุระขึ้น พวก ละวา้ ถอยรน่ ไปทางเหนือ ปล่อยใหพ้ ืน้ ทภ่ี าคอีสานรกร้างว่างเปล่า เป็นจานวนมาก เขตพน้ื ท่จี ังหวดั ศรีสะเกษและจังหวัดใกล้เคียงจึง ถกู ทงิ้ ให้เป็นท่ีรกร้างและเป็นป่าดง ขอมได้แบ่งการปกครองเป็น 3 ภาค โดยมีศูนย์การปกครองอยู่ที่ละโว้ (ลพบุรี) พิมาย (นครราชสีมา) และสกลนคร มีฐานะเป็นเมือง ประเทศราช ขึ้น ตรงต่อศูนย์กลางการปกครองใหญ่ที่นครวัดในยุคท่ีขอมเรือง อานาจ ศรีสะเกษน่าจะเป็นดินแดนแห่งหนึ่งท่ีขอมใช้เป็นเส้นทาง ไปมาระหว่างเมืองประเทศราชดังกล่าวแล้ว เพราะปรากฏโบราณสถานโบราณวัตถุของขอม ซ่ึงกรมศิลปากร สารวจในจงั หวดั ศรสี ะเกษ เมือ่ พ.ศ.2512 จานวน 15 แห่ง ไมร่ วมเขาพระวิหารซึ่งเป็นเทวะสถานของขอมท่ี ยงิ่ ใหญ่แห่งหนึง่ นอกจากนย้ี ังมีปราสาทหินสระกาแพงใหญ่ สระกาแพงน้อย ปราสาทลุมพุก ปราสาทบ้านทาม จาน (บ้านสมอ) ปราสาทเยอ ปราสาทโดนตว็ ล (ช่องตาเฒ่า อ.กันทรลักษ์) สันนิษฐานว่าโบราณสถานเหล่านี้มี อายุประมาณ 1,000 ปีเศษมีอยู่ตามท้องท่ีอาเภอต่างๆ ของจังหวัดศรีสะเกษ ขอมคงสร้างขึ้น เพื่อเป็นที่พัก และประกอบพิธีทางศาสนาระหว่างเดินทางจากนครวัด นครธมข้ามเทือกเขาพนมดงรักษ์มาสู่ศูนย์กลางการ ปกครองภาคอีสานท้ัง 3 เมืองดงั กล่าวแล้ว เม่ือขอมเสื่อมอานาจลง ไทยเร่ิมมีอานาจครอบครองดินแดนเหล่าน้ี ขณะเดียวกันจังหวดั ศรีสะเกษ มีสภาพเป็นป่าดงอยู่นานเพราะแม้แต่สมัยกรุงศรีอยุธยาตอนกลางก็มิได้บันทึก กลา่ วถึงจงั หวัดศรสี ะเกษ สันนิษฐานวา่ เมืองศรสี ระเกศถูกยุบลงเป็นอาเภอ ขนึ้ กับเมอื งขุขนั ธ์ ซ่ึงเป็นเมืองเก่ามาแต่เดิม พ.ศ.2447 ยา้ ยที่ต้ังเมืองขุขันธ์ (ซึ่งอยู่ท่ีบ้านแตระ ตาบลห้วยเหนือ อาเภอขุขันธ์ในปัจจุบัน) มาอยู่ท่ีตาบลเมืองเก่า(ปัจจุบัน คือตาบลเมืองเหนือในเขตเทศบาลเมืองศรีสะเกษใน ปัจจุบัน) และยงั คงใชช้ ่อื \"เมืองขขุ ันธ\"์ ยุบเมอื งขุขันธ์เดิม เป็นอาเภอห้วยเหนือ (อาเภอขุขันธ์ในปัจจุบันน้ี) พ.ศ. 2459 กระทรวงมหาดไทย มปี ระกาศให้เปลี่ยนชื่อเมือง ทุกเมืองเป็นจังหวัด เมืองขุขันธ์จึงเป็นเป็นจังหวัดขุขันธ์ เม่อื วันท่ี 9 พฤศจิกายน พ.ศ.2459 เปลี่ยนผู้ว่าราชการเมืองเป็นผู้ว่าราชการจังหวัด พ.ศ.2481 มีพระราช กฤษฎกี า เปล่ยี นชอ่ื จงั หวดั ขุขันธ์ เปน็ จังหวดั ศรสี ะเกษ ตั้งแตบ่ ัดนั้นเปน็ ตน้ มาจนถงึ ปจั จุบัน ปัจจุบนั จังหวดั ศรีสะเกษ เป็นจงั หวดั หนึ่งในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง ที่มีประวัติความเป็นมา ยาวนาน เคยเป็นชมุ ชนทมี่ อี ารยธรรมรุง่ เรืองนานนบั พันปี นับแต่สมยั ขอมเรอื งอานาจ และมีชนเผ่าต่างๆ ได้แก่ สว่ ย เขมร ลาว และเยอ อพยพมาต้งั รกรากในบริเวณน้ีตราบเทา่ ปัจจุบนั แผนพฒั นาจังหวดั ปี พ.ศ. 2561-2565 (ฉบับทบทวน ปี พ.ศ.2563) | จงั หวัดศรสี ะเกษ

3 ตราประจาจงั หวดั ศรีสะเกษ รปู ปราสาทหนิ 7 ชน้ั และดอกลาดวนมีใบ 6 ใบ ปรางค์กู่ หมายถึง ปราสาทหนิ และปรางคก์ ู่ ทม่ี อี ยจู่ านวนมากในจังหวดั ดอกลาดวน หมายถึง ชื่อเดิมท่ปี รากฏในตานานเมอื ง คอื เมืองศรีนครลาดวน ธงประจาจังหวัดศรีสะเกษ สสี ม้ – ขาว มรี ปู ปราสาทหนิ 7 ชั้น และดอกลาดวนมใี บ 6 ใบ อยู่ตรงกลางผืนผา้ ตน้ ไมป้ ระจาจงั หวัดศรสี ะเกษ ดอกไม้ประจาจังหวดั ศรีสะเกษ ตน้ ลาดวน ดอกลาดวน คาขวญั ประจาจังหวดั ศรีสะเกษ “แดนปราสาทขอม หอมกระเทียมดี มีสวนสมเดจ็ เขตดงลาดวน หลากลว้ นวัฒนธรรม เลิศลา้ สามัคคี” แผนพัฒนาจงั หวดั ปี พ.ศ. 2561-2565 (ฉบับทบทวน ปี พ.ศ.2563) | จังหวัดศรีสะเกษ

4 1.1 ข้อมูลพ้ืนฐานทางกายภาพ 1) ดา้ นกายภาพ ท่ตี ง้ั และอาณาเขต ขนาดและท่ีตั้ง จังหวัดศรีสะเกษ ต้ังอยํูในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนลําง หรือ เรียกวํา อีสานใต๎ มีพ้ืนท่ีประมาณ 8,839.976 ตารางกิโลเมตร หรือ 5,524,985 ไรํ เป็นจังหวัดท่ีมีขนาดใหญํเป็น อันดับที่ 21 ของประเทศ หํางจากกรุงเทพมหานคร โดยทางรถยนต์ประมาณ 571 กิโลเมตร ทางรถไฟประมาณ 551 กิโลเมตร มอี าณาเขตติดตํอกับจงั หวดั ใกล๎เคยี ง ดงั นี้ ทศิ เหนือ เขตอาเภอราษไี ศล อาเภอศิลาลาด และอาเภอยางชุมน๎อย ตดิ ตอํ กับจงั หวดั รอ๎ ยเอ็ด ทิศใต๎ เขตอาเภอขุขันธ์ อาเภอขุนหาญ และอาเภอกันทรลักษ์ ติดตํอกับประเทศกัมพูชา ประชาธปิ ไตย ทิศตะวนั ออก เขตอาเภอกันทรลักษ์ อาเภอกันทรารมย์ และอาเภอโนนคูณ ติดตํอกับจังหวัด อุบลราชธานี ทศิ ตะวนั ตก เขตอาเภออุทมุ พรพสิ ัย อาเภอปรางค์กูํ อาเภอห๎วยทับทัน และอาเภอบึงบูรพ์ ติดตํอกับ จงั หวดั สุรนิ ทร์ แผนภาพท่ี 1 แผนท่จี ังหวดั ศรสี ะเกษ แผนพฒั นาจงั หวัด ปี พ.ศ. 2561-2565 (ฉบบั ทบทวน ปี พ.ศ.2563) | จงั หวัดศรีสะเกษ

5 ลักษณะภมู ิประเทศ จังหวดั ศรสี ะเกษมีพื้นท่ีสวํ นใหญเํ ปน็ ทร่ี าบสูงสลับทุํงนามีภูเขาและปุาไม๎อยูํทางตอนใต๎ และพ้ืนท่ีจะคํอยๆ ลาดลงสํทู ศิ เหนอื และทิศตะวันตก ซึ่งเต็มไปด๎วย หว๎ ย คลอง หนอง บงึ ตํางๆ ตลอดระยะทางที่ลาน้ามูลและลาน้าชี ไหลผําน สภาพดนิ ร๎อยละ 60 เป็นลกั ษณะดินรวํ นปนทรายทีม่ กี ารระบายน้าดีแตํมีความอุดมสมบูรณ์ต่า และมีแนว ชายแดนตดิ กบั ประเทศกมั พชู า ประมาณ 127 ก.ม. (อาเภอกันทรลกั ษ์ 76 กม. อาเภอขุนหาญ 18 กม. และอาเภอ ภูสิงห์ 33 กม.) เขตการปกครองของจงั หวัด จงั หวดั ศรสี ะเกษ แบงํ เขตการปกครองออกเป็น 22 อาเภอ 206 ตาบล 2,633 หมบูํ ๎าน ตารางที่ 1 พ้นื ที่ของแตลํ ะอาเภอในจงั หวดั ศรสี ะเกษ ลาดับ อาเภอ เน้อื ที่ (ตร.กม.) ระยะห่างจากตวั จังหวัด (กม.) 1 กนั ทรลกั ษ์ 1236.58 63 2 กนั ทรารมย์ 664.21 26 3 ขขุ นั ธ์ 914.306 49 4 ขุนหาญ 723.055 60 5 น้าเกลีย้ ง 257.826 44 6 โนนคูณ 256.853 56 7 บึงบูรพ์ 49.582 42 8 เบญจลกั ษ์ 331.331 80 9 ปรางค์กูํ 285.475 60 10 พยุห์ 225.458 21 11 โพธศิ์ รสี ุวรรณ 111.104 29 12 ไพรบงึ 248.845 42 13 ภูสิงห์ 940.105 28 14 เมืองศรสี ะเกษ 576.366 0 15 เมืองจันทร์ 95.838 40 16 ยางชุมนอ๎ ย 209.554 32 17 ราษีไศล 504.858 38 18 วังหิน 237.619 35 19 ศรรี ัตนะ 236.684 37 20 ศลิ าลาด 131.812 53 21 ห๎วยทับทนั 194.586 37 22 อทุ ุมพรพสิ ยั 407.929 24 แผนพฒั นาจงั หวดั ปี พ.ศ. 2561-2565 (ฉบบั ทบทวน ปี พ.ศ.2563) | จังหวดั ศรีสะเกษ

6 ประชากรในจังหวัด จังหวัดศรีสะเกษ มปี ระชากร รวมท้ังสิน้ 1,472,728 คน ชาย 734,728 คน หญิง 737,303 คน (ข๎อมูล ณ เดือน ธนั วาคม พ.ศ. 2560) ลกั ษณะภมู ิอากาศ ลักษณะภูมิอากาศโดยทั่วไปของจังหวัดศรีสะเกษ มีอากาศร๎อนจัดในฤดูร๎อนและคํอนข๎างหนาวจัดในฤดู หนาว สํวนฤดูฝนจะมีฝนตกหนักในเดือนกันยายน โดยเฉล่ียแล๎วในปีหนึ่งๆ จะมีฝนตก 100 วัน ปริมาณฝนเฉลี่ย 1,200 - 1,400 มิลลิเมตรตอํ ปี อุณหภมู ติ ่าสดุ ประมาณ 10 องศาเซลเซยี ส สูงสุดประมาณ 40 องศาเซลเซียส เฉล่ีย ประมาณ 26 - 28 องศาเซลเซียส ความชืน้ สมั พนั ธ์เฉลี่ยรอ๎ ยละ 66 – 73 การใช้ทด่ี ิน จังหวัดศรสี ะเกษมีลมํุ นา้ มูลเป็นพื้นที่เกษตรกรรม และพ้ืนท่ีเศรษฐกิจ ซึ่งประกอบด๎วยการปลูกข๎าว ทาไรํ และสวน รวมไปถงึ ชุมชนเมืองที่เร่มิ มกี ารขยายตวั ของกจิ กรรมตํางๆ และเป็นชุมชนเมืองมีประชากรหนาแนํน จาก การจาแนกพื้นทก่ี ารใช๎ประโยชนท์ ี่ดนิ ด๎วยภาพถํายดาวเทยี ม Landsat 5 TM พน้ื ที่เกษตรกรรมปลูกข๎าวมีการลดลง ในปี พ.ศ. 2552 และเพิ่มขนึ้ ในปี พ.ศ. 2557 จากการสารวจภาคสนามพ้ืนที่ในลํุมน้ามูลจะมีเข่ือนราษีไศล ซึ่งจะมี ปริมาณน้าใช๎ตลอดปี ประชาชนสํวนใหญํจะมีการปลูกข๎าวนาปี และนาปรังทาให๎มีพ้ืนท่ีทางการเกษตรกรรมมาก สาหรบั พชื สวนมีพน้ื ท่ีมากในปี พ.ศ. 2552 แตํลดลงในปี พ.ศ. 2557 ซ่ึงสวํ นใหญํจะทาเกษตรกรรมปลูกพรกิ มะนาว กระเทียม และหอมแดง เป็นต๎น ทาให๎พ้ืนที่มีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลาข้ึนอยูํกับสภาพพื้นท่ีและภูมิอากาศซึ่ง เกษตรกรมกี ารปรับชนดิ ของการปลกู พืชทาให๎พนื้ ทนี่ าบางสํวนมีการจัดทาสวนพริก หรือพืชระยะสั้นเพ่ือรอรับการ ปลูกขา๎ วในฤดูกาลตํอไป ทาให๎มีการประกอบอาชีพทางการเกษตรกรรมอยํางตํอเนื่อง สาหรับพื้นท่ีชุมชน/สิ่งปลูก สรา๎ งมีการขยายตัวและมมี ากข้นึ แผนภาพท่ี 2 แผนที่การใชท๎ ด่ี นิ จงั หวัดศรีสะเกษ ปี พ.ศ.2560 แผนพัฒนาจงั หวัด ปี พ.ศ. 2561-2565 (ฉบบั ทบทวน ปี พ.ศ.2563) | จังหวดั ศรีสะเกษ

7 ตารางท่ี 2 สรุปประเภทการใช๎ท่ีดนิ จงั หวดั ศรีสะเกษ ปี พ.ศ. 2560 สญั ลกั ษณ์ ประเภทการใช้ที่ดิน เนื้อที่ ไร่ ร้อยละ U พน้ื ทีช่ มุ ชนและส่ิงปลกู สร้าง 306,550.00 5.54 U101 ตัวเมอื งและยาํ นการคา๎ U200 หมํบู า๎ น/ทีด่ นิ จัดสรรรา๎ ง 24,433.00 0.44 U201 หมูบํ ๎านบนพน้ื ราบ U301 สถานท่รี าชการและสถาบันตํางๆ 187.00 - U405 ถนน U500 พนื้ ท่อี ุตสาหกรรมรา๎ ง 227,703.00 4.12 U502 โรงงานอตุ สาหกรรม U503 ลานตากและแหลงํ รับซื้อทางการเกษตร 44,614.00 0.81 U600 สถานท่ีรา๎ ง U601 สถานทีพ่ ักผํอนหยอํ นใจ 718.00 0.01 U602 รสี อร์ท โรงแรม เกสตเ์ ฮ๎าส์ U603 สุสาน ปุาช๎า 37.00 - U605 สถานบี ริการน้ามัน U701 สนามกอล์ฟ 5,764.00 0.1 A พื้นทเี่ กษตรกรรม 1,116.00 0.02 A1 พน้ื ทน่ี า A100 นารา๎ ง 95.00 - A101 นาข๎าว A101+A202 นาขา๎ ว+ขา๎ วโพด 586.00 0.01 A101+A204 นาข๎าว+มนั สาปะหลงั A101+A208 นาข๎าว+ถั่วเขียว 274.00 0.01 A101+A210 นาขา๎ ว+ถัว่ ลสิ ง A101+A219 นาขา๎ ว+มนั เทศ 703.00 0.01 A101+A220 นาข๎าว+แตงโม A101+A502 นาขา๎ ว+พชื ผัก 297.00 0.01 M201+A101 พืน้ ทล่ี ํมุ +นาข๎าว A2 พืชไร่ 23.00 - A200 ไรรํ ๎าง 4,259,346 77.09 3,378,111 61.15 1,629 0.03 3,334,118 60.35 2,267 0.04 12,114 0.22 95 - 101 - 504 0.01 17 - 6,518 0.12 20,748 0.38 232,019 4.2 1,296 0.02 แผนพฒั นาจังหวัด ปี พ.ศ. 2561-2565 (ฉบับทบทวน ปี พ.ศ.2563) | จังหวดั ศรีสะเกษ

8 สญั ลกั ษณ์ ประเภทการใชท้ ่ดี ิน เน้ือที่ ไร่ รอ้ ยละ A201 พชื ไรํผสม A202 ข๎าวโพด 2,088 0.04 A203 อ๎อย 3,830 0.07 A204 มันสาปะหลงั 17,919 0.33 A208 ถวั่ เขียว 195,807 3.54 A209 ถั่วเหลอื ง A210 ถ่วั ลิสง 361 0.01 A211 ปอแก๎ว ปอกระเจา 36 - A216 ข๎าวไรํ 522 0.01 A218 มันแกว 171 - A219 มนั เทศ 13 - A220 แตงโม 11 - A229 พรกิ 2,899 0.05 A3 ไมย้ ืนต้น 303 0.01 A300 ไม๎ยนื ตน๎ ร๎าง 6,763 0.12 A301 ไม๎ยืนตน๎ ผสม 563,358 10.19 A302 ยางพารา 11 - A303 ปาลม์ น้ามนั 1,564 0.03 A304 ยูคาลปิ ตสั 497,906 9.01 A305 สัก 17,137 0.31 A306 สะเดา 43,002 0.78 A307 สนประดิพทั ธ์ 1,505 0.03 A309 ประดํู 36 - A314 หมอํ น 15 - A315 ไผปํ ลูกเพอื่ การคา๎ 11 - A317 หมาก 246 - A318 จามจรุ ี 1,449 0.03 A322 กฤษณา 198 - A323 ตะกู 21 - A4 ไม้ผล 158 - 99 - 36,254 0.66 แผนพัฒนาจงั หวดั ปี พ.ศ. 2561-2565 (ฉบบั ทบทวน ปี พ.ศ.2563) | จังหวัดศรีสะเกษ

9 สัญลกั ษณ์ ประเภทการใช้ท่ดี ิน เนอื้ ท่ี ไร่ รอ้ ยละ A400 ไม๎ผลร๎าง/เสอื่ มโทรม A401 ไมผ๎ ลผสม 31 - A402 ส๎ม 14,895 0.27 A403 ทเุ รยี น A404 เงาะ 67 - A405 มะพร๎าว 1,322 0.02 A406 ล้นิ จี่ 1,041 0.02 A407 มะมวํ ง A408 มะมํวงหมิ พานต์ 320 0.01 A409 พทุ รา 24 - A411 กล๎วย 4,286 0.08 A412 มะขาม 9,620 0.17 A413 ลาไย 11 - A414 ฝรงั่ 946 0.02 A415 มะละกอ 605 0.01 A416 ขนุน 1,401 0.03 A419 มังคดุ 775 0.01 A420 ลางสาด ลองกอง 330 0.01 A421 ระกา สละ 15 - A422 มะนาว 67 - A425 มะกอกน้า มะกอกฝรง่ั 37 - A426 แก๎วมงั กร 10 - A427 สม๎ โอ 280 0.01 A428 ละมดุ 50 - A429 มะปราง มะยงชิด 41 - A5 พชื สวน 19 - A501 พชื สวนผสม 15 - A502 พชื ผัก 46 - A503 ไมด๎ อก ไมป๎ ระดับ 42,872 0.77 A504 องนํุ 17 - 42,741 0.77 26 - 71 - แผนพฒั นาจงั หวัด ปี พ.ศ. 2561-2565 (ฉบับทบทวน ปี พ.ศ.2563) | จงั หวัดศรีสะเกษ

สัญลกั ษณ์ ประเภทการใชท้ ดี่ ิน 10 A509 พืชสมนุ ไพร เน้ือท่ี A7 ทงุ่ หญ้าเล้ียงสตั วแ์ ละโรงเรอื นเลี้ยงสัตว์ ไร่ ร้อยละ A700 โรงเรอื นร๎าง A701 ทํงุ หญา๎ เล้ยี งสตั ว์ 17 - A702 โรงเรือนเลย้ี งโค กระบอื และม๎า 4,950 0.09 A703 โรงเรอื นเลีย้ งสัตว์ปีก A704 โรงเรือนเลี้ยงสุกร 95 - A8 พชื น้า 3,382 0.06 A803 บัว A9 สถานทเ่ี พาะเลยี้ งสัตว์นา้ 330 0.01 A900 สถานทเ่ี พาะเล้ียงสตั ว์นา้ ร๎าง 709 0.01 A902 สถานที่เพาะเลยี้ งปลา 434 0.01 A0 เกษตรผสมผสาน/ไรํนาสวนผสม 20 - A001 เกษตรผสมผสาน/ไรนํ าสวนผสม 20 - F พื้นทป่ี า่ ไม้ 744 0.01 F100 ปาุ ไมผํ ลดั ใบรอสภาพฟ้นื ฟู 112 - F101 ปุาไมํผลัดใบสมบูรณ์ 632 0.01 F200 ปาุ ผลัดใบรอสภาพฟน้ื ฟู 1,018 0.02 F201 ปาุ ผลัดใบสมบรู ณ์ 1,018 0.02 F501 ปุาปลูกสมบูรณ์ 630,359 11.42 W พ้นื ทนี่ า้ 8,718 0.16 W101 แมนํ ้า ลาห๎วย ลาคลอง 15,215 0.28 W102 หนอง บึง ทะเลสาบ 125,225 2.27 W201 อาํ งเกบ็ น้า 465,228 8.42 W202 บอํ นา้ ในไรํนา 15,973 0.29 W203 คลองชลประทาน 163,978 2.97 M พืน้ ที่เบด็ เตล็ด 45,269 0.82 M101 ทงํุ หญ๎าธรรมชาติ 41,983 0.76 M102 ทุํงหญา๎ สลับไมพ๎ มุํ /ไม๎ละเมาะ 61,180 1.11 M201 พนื้ ท่ลี ุํม 9,521 0.17 6,025 0.11 164,752 2.98 9,556 0.17 83,701 1.52 41,658 0.75 แผนพฒั นาจังหวัด ปี พ.ศ. 2561-2565 (ฉบับทบทวน ปี พ.ศ.2563) | จงั หวดั ศรีสะเกษ

11 สญั ลักษณ์ ประเภทการใช้ท่ีดิน เนือ้ ที่ ไร่ รอ้ ยละ M201+A201 พ้นื ทล่ี ํุม+พชื ไรผํ สม M300 เหมืองเกํา บํอขดุ เกาํ 45 - M301 เหมืองแรํ 2,626 0.05 M302 บอํ ลกู รงั M303 บํอทราย 640 0.01 M304 บอํ ดนิ 11 - M401 พ้ืนท่ีกองวสั ดุ 5- M403 ที่หินโผลํ 326 0.01 M405 พน้ื ท่ถี ม 9- M701 ที่ทงิ้ ขยะ 24,843 0.45 1,297 0.02 รวมท้งั หมด 35 - ที่มา : การใช๎ท่ีดนิ รายจังหวัด กรมพฒั นาที่ดิน พ.ศ.2560 5,524,985 100 2) ดา้ นเศรษฐกจิ อัตราขยายตัวของ GPP และโครงสร๎างการกระจายรายได๎จากการผลิต จังหวัดศรีสะเกษ อัตราขยายตัวที่ แท๎จริง ปี 2558 ร๎อยละ 2.5 ปี 2559 ร๎อยละ 3.8 โครงสร๎างเศรษฐกิจและขนาดเศรษฐกิจ ณ ราคาประจาปี ป2ี 558 และ ปี 2559 เทาํ กัน ทีร่ อ๎ ยละ 4.7 มูลคําผลติ ภณั ฑม์ วลรวมจังหวัด ในปี 2558 คิดเป็น 63,455 บาท และ ในปี 2559 คดิ เป็น 66,653 บาท โดยมีข๎อมูลตวั ชีว้ ดั ตามแผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสังคมแหงํ ชาติ ฉบบั ที่ 12 ดังน้ี - อัตราการขยายตวั ทางเศรษฐกิจร๎อยละ 5.04 ตํอปี - มูลคําผลติ ภัณฑ์ฯ เฉล่ยี ตํอหัว (Per Capita) 64,298 บาท/คน/ปี - สดั สํวนคนจนร๎อยละ 10.80 - อตั ราการวาํ งงานร๎อยละ 0.41 - ผลิตภาพแรงงานเฉลยี่ 118,964 บาท/คนปี - อตั ราการวํางงาน ร๎อยละ 0.42 - อัตราเงนิ เฟูอทว่ั ไป รอ๎ ยละ 0.62 - อัตราการขยายตวั ของการลงทนุ ภาครัฐ รอ๎ ยละ -22.27 แผนพัฒนาจงั หวัด ปี พ.ศ. 2561-2565 (ฉบับทบทวน ปี พ.ศ.2563) | จังหวัดศรีสะเกษ

12 แผนภาพท่ี 3 ข๎อมูลผลิตภณั ฑม์ วลรวมทกุ สาขา จังหวดั ศรสี ะเกษ ทมี่ า : เคร่อื งมือวดั ระดบั การพฒั นา สานกั งานปลัดกระทรวงมหาดไทย http://benchmark.moi.go.th/moibenchmarking2561/#cptt-_province-33 สืบค๎นเมื่อ 11 ธันวาคม 2561 แผนภาพท่ี 4 ข๎อมูลผลติ ภัณฑม์ วลรวมรายสาขา ณ ราคาประจาปี จังหวัดศรสี ะเกษ ท่ีมา : เครือ่ งมอื วัดระดบั การพัฒนา สานักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย http://benchmark.moi.go.th/moibenchmarking2561/#cptt-_province-33 สบื คน๎ เมือ่ 11 ธันวาคม 2561 ขอ้ มลู ดา้ นธรุ กิจและการค้าชายแดน จังหวดั ศรสี ะเกษเป็นจังหวัดที่มีอาณาเขตติดตํอกับประเทศกัมพูชาประชาธิปไตย และมีจุดผํานแดนถาวร ชํองสะงา อาเภอภสู ิงห์ จังหวัดศรสี ะเกษ ซ่ึงเป็นจุดผาํ นแดนถาวรทีเ่ ป็นเส๎นทางสาคญั ในดา๎ นการค๎า การลงทุน และ การทํองเท่ียว ซ่ึงสถานการณ์การค๎าชายแดนบริเวณจุดผํานแดนถาวรชํองสะงา นับต้ังแตํปี พ.ศ.2549 เป็นต๎นมา จนถึงปัจจุบัน มีมูลคําการค๎าในแตํละปีมีแนวโน๎มเพิ่มสูงมาก โดยในปี พ.ศ. 2560 มีมูลคํารวม 818.90 ล๎านบาท (มูลคําการสํงออก 464.25 ล๎านบาท มูลคําการนาเข๎า 354.65 ล๎านบาท ดุลการค๎า 109.60 ล๎านบาท) และใน แผนพัฒนาจงั หวัด ปี พ.ศ. 2561-2565 (ฉบับทบทวน ปี พ.ศ.2563) | จังหวัดศรีสะเกษ

13 ปี 2561 (มกราคม-ตุลาคม) มีมูลคํารวม 703.46 ล๎านบาท (มูลคําการสํงออก 509.56 ล๎านบาท มูลคําการนาเข๎า 193.90 ล๎านบาท ดุลการค๎า 315.66 ล๎านบาท) ท่ีมา : ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กรมการค๎า ตํางประเทศ ขอ้ มูลการปลกู พชื เกษตรอนิ ทรยี ์ GAP และการปศสุ ตั ว์ จังหวัดศรีสะเกษ มีพื้นที่ชลประทานเพ่ือการเกษตร ในปี 2559 จานวน 559,323 ไรํ โดยเพ่ิมข้ึนจาก ปี 2558 ท่ีมพี ้นื ที่ 517,848 ไรํ ละปี 2557 จานวน 252,406 ไรํ มีปริมาณน้าต๎นทุนตํอความต๎องการใช๎น้าอยํูท่ี 110 ล๎าน ลบ.ม. ในขณะที่พืน้ ท่ที าการเกษตรท้งั หมด 3,537,833 ไรํ มพี ้ืนทีเ่ พาะปลูกข๎าวในปีการผลติ 2560/61 จานวน 3,254,389 ไรํ แยกเป็นพื้นท่ีปลูกข๎าวเจ๎านาปี (ข๎าวหอมมะลิ) 3,150,989 ไรํ ผลผลิต 1,277,665 ตัน พ้ืนท่ีปลูก ข๎าวเหนียว 103,400 ไรํ ผลผลติ 47,325 ตนั พ้ืนที่ปลกู ข๎าวนาปรัง 68,467 ไรํ ผลผลิต 30,101 ตัน ผลผลิตรวมทั้ง สิ้น 1,355,091 ตนั โดยเปน็ พนื้ ทีก่ ารผลิตขา๎ วหอมมะลอิ ินทรยี ์แลว๎ จานวน 115,091 ไรํ เกษตรกร จานวน 12,742 ราย แบํงเป็น พื้นท่ีท่ีได๎รับการรับรองแล๎ว จานวน 30,929 ไรํ เกษตรกร 1,997 ราย และพื้นที่ที่อยํูในระยะ ปรบั เปลีย่ น ปที ่ี 1 จานวน 53,522 ไรํ เกษตรกร จานวน 5,587 ราย และระยะปรับเปล่ียน ปีที่ 2 จานวน 30,640 ไรํ เกษตรกร จานวน 5,158 ราย โดยมีขอ๎ มูลทเี่ กย่ี วขอ๎ ง ดงั นี้ - ขอ้ มลู ดา้ นการเพาะปลูก จังหวัดศรีสะเกษ มีการขับเคลื่อนและขยายพ้ืนท่ีเกษตรอินทรีย์ของจังหวัดอยํางตํอเน่ือง โดย ตั้งเปูาหมายให๎มีพื้นท่ีผลิตสินค๎าเกษตรอินทรีย์ จานวน 300,000 ไรํ ภายในปี 2562 โดยมีเปูาหมายในการ ขบั เคล่อื นการดาเนินงาน ในปี 2561-2562 เพมิ่ ข้ึนอีก จานวน 182,383 ไรํ โดยมีข๎อมลู ผลการดาเนินงาน ดงั นี้ การผลิตข๎าวหอมมะลอิ ินทรยี ์ในปี 2561 จังหวดั ศรสี ะเกษมกี ารขบั เคล่ือนการทาเกษตรอินทรีย์ใน พ้ืนท่ี จานวน ทง้ั สิน้ 115,091 ไรํ โดยแบงํ เปน็ พ้ืนท่ีท่ไี ด๎รบั รองมาตรฐานแล๎ว (มาตรฐาน มกท. และสากล) จานวน 30,929 ไรํ(ข๎าว 30,892 ไรํ/ พืชอื่น 37 ไรํ) เข๎าสํูระยะปรับเปลี่ยน ปี 2560 จานวน 30,640 ไรํ (ได๎การรับรองปี 2562) เข๎าสูรํ ะยะปรับเปลีย่ น ปี 2561 จานวน 53,522 ไรํ (ได๎การรับรองปี 2562) โดยมีเปูาหมายในการขับเคล่ือน และสํงเสริมการผลิตข๎าวหอมมะลิอินทรีย์ ปี 2562 เพิ่มข้ึนอีกจานวน 182,383 ไรํ ท้ังน้ีมีการกาหนดดาเนินการ ขับเคลื่อนโครงการเกษตรอินทรีย์ในพืน้ ทต่ี ามเปาู หมายรวม 194,200ไรํ ในพ้ืนที่ 22 อาเภอ ดังตาราง ตอํ ไปนี้ ตารางที่ 3 ขอ๎ มลู ดา๎ นเกษตรอนิ ทรยี ์จังหวัดศรีสะเกษ ปี พ.ศ.2561 ราย/ไรํ มาตรฐาน ไดร้ บั การรบั รอง ระยะปรับเปลยี่ น ระยะปรบั เปล่ยี น รวมทัง้ หมด เกษตร (ปี 2560) (ปี 2561) อินทรยี ์ เกษตรกร พ้นื ที่ เกษตรกร พ้ืนที่ เกษตรกร พนื้ ที่ เกษตรกร พืน้ ที่ PGS 31 320 4,333 22,272 839 8,294 5,203 30,886 มกท. 461 5,829 825 8,368 4,748 45,228 6,034 59,425 สากล* 1,505 24,780 -- - - 1,505 24,780 รวม 1,997 30,929 5,158 30,640 5,587 53,522 12,742 115,091 ท่มี า : สานักงานเกษตรจงั หวัดศรีสะเกษ ข้อมลู การสง่ เสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ จงั หวัดศรีสะเกษ มีการสํงเสรมิ การเกษตรในรูปแบบแปลงใหญํตั้งแตํปี 2558-ปัจจุบัน ในพื้นที่ 22 อาเภอ 204 ตาบล จานวน 16 ชนิด ประเภท จานวนแปลงท้ังส้ิน 229 แปลง พ้ืนท่ีดาเนินการ 254,912 ไรํ เกษตรกร 22,292 ราย ดงั น้ี แผนพัฒนาจังหวัด ปี พ.ศ. 2561-2565 (ฉบบั ทบทวน ปี พ.ศ.2563) | จงั หวดั ศรีสะเกษ

14 ตารางที่ 4 ขอ๎ มูลชนิดพชื และพ้นื ทเ่ี พาะปลกู ท่ี ชนดิ จานวน (แปลง) เกษตรกร(ราย) พืน้ ที่ (ไร่) 1 ขา๎ ว 189 18,800 249,225 2 ยางพารา 5 339 4,380 3 มะนาว 1 112 854 4 มันสาปะหลงั 7 366 3,728 5 เป็ด-ไกํ 1 96 600 6 หมํอนไหม 1 197 161 7 กบ 1 52 72 8 ทุเรยี น 5 572 4,449 9 อ๎อย 1 46 336 10 ดาวเรือง 1 39 78 11 พรกิ 4 414 765 12 หอมแดง 7 846 2,372 13 กระเทยี ม 1 60 180 14 โคพ้ืนเมอื ง 2 94 636 15 โคนม 2 240 2,159 16 กระบอื 1 99 142 ที่มา : สานกั งานเกษตรจังหวดั ศรสี ะเกษ - ด้านปศสุ ัตว์ จงั หวัดศรสี ะเกษ มีเกษตรกรผเ๎ู ลยี้ งสตั ว์ จานวน 91,082 ครัวเรอื น จาแนกสตั ว์ไดเ๎ ป็น 8 ประเภท ประกอบดว๎ ย โคเนอื้ โคนม กระบือ สกุ ร ไกํ เปด็ แพะ และแกะ โดยมีรายละเอยี ดดงั นี้ ตารางท่ี 5 ขอ๎ มูลปศุสตั ว์ ปี 2561 จานวนเกษตรกรผ้เู ลยี้ งสตั ว์ 99,209 ครวั เรอื น พื้นทีป่ ลูกหญ้า/พชื อาหารสัตว์ 603 ไร่ จานวนสตั ว์เศรษฐกจิ หนว่ ย : ตวั โคเนอ้ื 235,353 โคนม 2,878 กระบอื 77,373 สุกร 62,430 ไกํ 3,205,016 เปด็ 320,406 แพะ 1,079 แกะ 24 ทีม่ า : สานักงานปศสุ ัตวจ์ งั หวัดศรีสะเกษ (ข๎อมลู ณ วนั ที่ 30 กันยายน 2561) แผนพฒั นาจังหวดั ปี พ.ศ. 2561-2565 (ฉบบั ทบทวน ปี พ.ศ.2563) | จงั หวดั ศรสี ะเกษ

15 ตารางที่ 6 การผลิตปศุสัตวจ์ ังหวดั ศรีสะเกษ ในปี พ.ศ. 2560 ประเภทสัตว์ ครวั เรือน จานวน (ตวั ) ผลผลิต (ตนั ) ราคาผลผลิต มลู คา่ เกษตรกร เฉลยี่ (บาท/กก.) (ล้านบาท) โคเนือ้ 45,578 189,387 66,285.45 140 9,279.96 108.04 โคนม 149 2,701 1,080.4 100 3,533.98 กระบอื 17,272 65,444 29,449.8 120 365.83 159.31 สุกร 5,125 60,972 6,097.2 60 55.05 0.51 ไกํ 71,498 2,794,933 4,192.39 38 0.05 เปด็ 19,615 305,844 917.53 60 13,502.73 แพะ 27 211 4.22 120 แกะ 4 21 0.42 120 รวม 159,268.00 3,419,513.00 108,027.42 758.00 ทีม่ า : สานกั งานปศุสตั วจ์ งั หวดั ศรีสะเกษ ณ เดือนกนั ยายน 2560 สรปุ ศกั ยภาพดา้ นการเกษตรของจงั หวดั ศรสี ะเกษ ผลิตภัณฑม์ วลรวม สาขาเกษตรกรรมปี 2559 เทํากับ 18,795 ล๎านบาท อตั ราการขยายตัว ปี 2557 รอ๎ ย ละ -17.33 ปี 2558 ร๎อยละ -0.04 ปี 2559 รอ๎ ยละ 0.96 และมขี อ๎ มลู ตามตวั ชวี้ ดั ท่ีสาคญั ตามแผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสังคมแหงํ ชาติ ฉบบั ท่ี 12 (พ.ศ.2560-2564) ดังน้ี - สัดสํวนมลู คาํ ผลิตภณั ฑม์ วลรวมภาคเกษตรตอํ ผลติ ภัณฑม์ วลรวมทง้ั หมด แบบปริมาณลกู โซํ รอ๎ ยละ 22.05 - สดั สํวนการใช๎ประโยชน์ทดี่ นิ เพอ่ื ภาคเกษตร รอ๎ ยละ 72.85 - อัตราเพ่ิมเฉลี่ยของผลผลิตสนิ ค๎าเกษตรสาคญั เฉล่ียตอํ ไรํ (พืช) รอ๎ ยละ 11.84 - จานวนฟาร์มที่ไดร๎ บั การรบั รองมาตรฐานฟาร์ม GAP 84 ฟาร์ม - จน.โรงงาน/สปก.ผลติ สนิ ค๎าเกษตรและอาหารท่ีไดร๎ บั การรบั รองมาตรฐาน GMP/HACCP 2 แหํง - อตั ราเพ่ิมของแรงงานเกษตรกรในพื้นท่ี รอ๎ ยละ -10.19 - พน้ื ทีช่ ลประทาน 559,323 ไรํ - สัดสวํ นหน้สี ินตอํ รายได๎เงินสดสทุ ธิทางเกษตร 4.44 เทาํ - สดั สวํ นหน้ีเสยี ตอํ ปรมิ าณเงินให๎ก๎ูยมื เพอ่ื การเกษตร ร๎อยละ 3.06 - ปริมาณนา้ ต๎นทุนตํอความตอ๎ งการใช๎นา้ 110 ลา๎ น ลบ.ม. แผนพฒั นาจงั หวัด ปี พ.ศ. 2561-2565 (ฉบบั ทบทวน ปี พ.ศ.2563) | จังหวัดศรสี ะเกษ

ตารางท่ี 7 ขอ๎ มลู การผลผลิตพืชทางเศรษฐกิจท่ีสาคัญ จังหวดั ศรีสะเกษ ปี 2559-25 พชื สาคญั เน้ือทเ่ี ก็บเกย่ี ว (ไร)่ 2559 2560 2561 ข้าว 2,963,638 2,842,382 3,015,0 ข๎าวนาปี 2,906,182 2,766,513 2,935,3 ขา๎ วนาปรัง 57,456 75,869 79,7 พชื ไร่ 190,907 184,857 178,2 มันสาปะหลงั 153,279 138,092 131,1 อ๎อยโรงงาน 30,746 27,896 28,9 ขา๎ วโพดเลี้ยงสตั ว์ 6,324 18,353 17,7 ถว่ั เหลือง 558 516 4 สวนไมผ้ ล ไมย้ ืนตน้ 242,138 256,868 298,3 ยางพารา 233,677 248,097 288,8 ปาลม์ น้ามัน 3,808 4,278 4,4 ทุเรียน 2,215 2,349 2,5 เงาะ 1,401 1,316 1,7 ลาไย 758 696 6 มะพร๎าว 279 132 สวนผัก/ไม้ดอก/ไม้ประดบั 20,498 26,524 24,0 หอมแดง 17,200 22,073 23,5 กระเทียม 103 542 5 มะเขือเทศ 266 263 ข๎าวโพดหวาน 2,929 3,646 แผนพฒั นาจังหวัด ปี พ.ศ. 2561-2565 (ฉบับทบทวน ปี พ.ศ.2563

561 16 ผลผลติ (ตนั ) ผลผลิตเฉล่ียต่อไร่ (กก.) 2559 2560 2561 2559 2560 2561 829 829 848 046 1,083,073 976,778 1,078,212 363 340 354 466 489 494 314 1,056,294 939,685 1,038,804 13,180 13,759 14,890 3,429 3,592 3,536 732 26,779 37,093 39,408 8,840 8,890 10,060 787 1,110 1,120 278 802,378 764,483 775,048 124 167 174 3,981 5,631 4,796 108 525,544 496,034 463,598 201 220 226 1,080 1,161 1,247 973 271,791 247,998 291,466 571 1,130 1,298 704 1,541 1,466 769 4,974 20,365 19,910 371 534 559 1,054 1,045 428 69 86 74 6,868 7,889 3,544 1,919 2,914 2,923 307 53,903 64,741 77,059 621 603 621 2,226 2,236 899 46,964 54,581 65,291 2,102 2,136 422 4,112 4,967 5,514 527 1,265 2,655 3,280 763 987 2,028 2,585 696 281 372 389 294 138 068 39,819 73,023 69,065 511 33,006 64,320 68,719 557 64 327 346 592 588 6,157 7,788 3) | จงั หวัดศรสี ะเกษ

ตารางท่ี 8 ข๎อมูลการผลผลิตการเพาะเล้ยี งสัตว์น้าจืดจงั หวัดศรีสะเกษ ประมงสาคญั เนอ้ื ทเ่ี พาะเลย้ี ง (ไร)่ 2559 2560 2561 สตั ว์น้าจดื ทุกชนดิ 5,820 5,864 5,5 ตารางท่ี 9 ข๎อมูลการผลผลิตการเพาะเลย้ี งสตั ว์นา้ จืดจังหวดั ศรีสะเกษ ปศสุ ัตว์สาคัญ จานวนการเล้ียง (ตัว) 2558 2558 2559 2560 3,496, ไกํเนอ้ื 708,987 807,632 952,073 22, 1,925, ไกํไขํ (ไขไํ ก)ํ 89,834 30,712 23,030 37, ไกํพืน้ เมือง 1,819,653 1,704,420 1,496,314 125, โคเน้อื 184,076 203,094 209,149 6, 5, สุกร 88,693 79,975 69,795 239, 5, เป็ดไข(ํ ไขเํ ปด็ ) 43,065 40,554 42,360 โคนม (น้านมดิบ) 2,132 2,977 3,467 เปด็ เนื้อ 187,426 175,498 184,259 กระบือ 56,190 53,583 48,054 แผนพฒั นาจงั หวัด ปี พ.ศ. 2561-2565 (ฉบับทบทวน ปี พ.ศ.2563

17 ผลผลติ (ตัน) ผลผลิตเฉลยี่ ต่อไร่ (กก.) 2559 2560 2561 2559 2560 2561 573 1,663 1,652 1,343 286 282 241 ปริมาณผลผลิต ผลผลิตต่อหน่วยการเลย้ี ง 8 2559(p) 2560 หน่วย 2558 2559 2560 หน่วย ,358 3,862,350 3,516,908 ตวั ,534 23,625 13,910 พนั ฟอง 4.9 4.8 3.7 ตัว ,705 1,724,718 1,545,347 ตัว 250.8 769.2 604 ฟอง ,183 39,715 42,851 ตัว ,737 138,411 139,953 ตวั 1.1 1 1 ตวั ,011 6,337 6,879 พันฟอง 0.2 0.2 0.2 ตัว ,331 6,226 6,914 ตนั 1.4 1.7 2 ตัว ,499 243,475 251,944 ตวั 139.6 156.3 162.4 ฟอง ,307 5,167 5,278 ตวั 2500.5 2091.4 1994.2 กก. 1.3 1.4 1.4 ตัว 0.1 0.1 0.1 ตวั 3) | จังหวัดศรสี ะเกษ

18 ขอ้ มลู ด้านอตุ สาหกรรม จังหวัดศรีสะเกษ มีผลิตภัณฑ์มวลรวม สาขาอุตสาหกรรมปี 2559 เทํากับ 3,991 ล๎านบาท อัตราการ ขยายตัว ปี 2557 ร๎อยละ -17.93 ปี 2558 ร๎อยละ 13.96 ปี 2559 ร๎อยละ 10.47 มีมูลคําเศรษฐกิจด๎าน อุตสาหกรรม เพิ่มข้ึนทุกปี มีโรงงานที่ได๎รับอนุญาตประกอบกิจการโรงงานอุตสาหกรรม รวมท้ังสิ้น 546 โรงงาน เงินลงทนุ รวม 12,996.43 ลา๎ นบาท มกี ารจ๎างงาน 5,224 คน แยกตามจาพวกโรงงาน ไดด๎ ังน้ี ตารางท่ี 10 จานวนโรงงานแตํละประเภท และเงนิ ลงทนุ ประเภท จานวนโรงงาน เงนิ ลงทนุ (ลา้ นบาท) คนงาน (คน) จาพวกที่ 2 99 167.83 591 จาพวกที่ 3 447 12,828.60 4,633 รวม 546 12,996.43 5,224 ท่มี า : สานกั งานอตุ สาหกรรมจงั หวัดศรีสะเกษ พ.ศ.2559 ขนาดของโรงงาน โรงงานสํวนใหญํเป็นโรงงานขนาดเล็ก (เงินลงทุนไมํเกิน 50 ล๎านบาท) จานวน 495 โรงงาน คิด เป็นร๎อยละ 90.66 ของจานวนโรงงานทั้งหมด รองลงมาเป็นโรงงานขนาดกลาง (เงินลงทุนมากกวํา 50 ล๎านบาท ถึง 200 ล๎านบาท) จานวน 43 โรงงาน คิดเป็นร๎อยละ 7.88 ของจานวนโรงงานท้ังหมดและโรงงานขนาดใหญํ (เงนิ ลงทนุ มากกวํา 200 ล๎านบาท) จานวน 8 โรงงาน คดิ เป็นร๎อยละ 1.47 ของจานวนโรงงานทั้งหมด ตารางท่ี 11 จานวนโรงงานแยกตามขนาดโรงงาน ขนาดโรงงาน จานวนโรงงาน เงนิ ลงทุน (ลา้ นบาท) คนงาน (คน) โรงงานขนาดเลก็ 495 3,859.83 4,072 โรงงานขนาดกลาง 43 3,354.77 797 โรงงานขนาดใหญํ 8 5,781.83 355 รวม 546 12,996.43 5,224 ท่ีมา : สานกั งานอตุ สาหกรรมจังหวดั ศรสี ะเกษ พ.ศ.2559 ตารางที่ 12 จานวนโรงงานแยกตามขนาดโรงงาน ท่ี ลาดับ ประกอบกจิ การ จานวนโรงงาน เงินลงทนุ คนงาน 1,082.80 576 1 95(1) ซอํ ม เคาะพนํ สรี ถยนต์ 72 2,442.01 716 132.75 314 2 9(1) สีข๎าว 51 646.92 361 258.92 158 3 34(2) ทาวงกบประตูหน๎าตํางจากไม๎ 51 221.67 118 14.82 42 4 58(1) ทาผลติ ภณั ฑ์คอนกรตี 48 700.16 125 38.88 68 5 9(6) ทามันเสน๎ 42 221.73 158 6 64(12) ตัด เจาะ เช่ือมโลหะ/หลงั คาเหล็กรดี ลอน 22 7 64(13) เชื่อมโลหะ 21 8 2(1) อบข๎าวเปลือก/อบเมล็ดพืช 20 9 3(4) ดูดทราย 19 10 14 ผลติ น้าแขง็ 19 ทม่ี า : สานกั งานอตุ สาหกรรมจงั หวัดศรีสะเกษ พ.ศ.2559 แผนพฒั นาจังหวัด ปี พ.ศ. 2561-2565 (ฉบับทบทวน ปี พ.ศ.2563) | จังหวัดศรีสะเกษ

19 แหลง่ ท่ตี ง้ั โรงงาน โรงงานอตุ สาหกรรมสวํ นใหญํตั้งอยูํในเขตอาเภอเมือง 119 โรงงาน คิดเป็นร๎อยละ 21.80 ของจานวน โรงงานทัง้ หมด รองลงมา ได๎แกํ อาเภอกนั ทรลักษ์ 96 โรงงาน คิดเป็นร๎อยละ 17.59 ของจานวนโรงงานท้ังหมด อาเภอราษีไศล 57 โรงงาน คิดเป็นร๎อยละ 10.44 ของจานวนโรงงานทั้งหมด อาเภออุทุมพรพิสัย 55 โรงงาน คดิ เป็นรอ๎ ยละ 10.10 ของจานวนโรงงานทัง้ หมด ตารางที่ 13 ข๎อมลู จานวนโรงงานแยกรายอาเภอ ท่ี ชื่ออาเภอ จานวนโรงงาน เงินลงทุน (ลา้ นบาท) คนงาน (คน) 1 เมือง 119 2,229.86 1,512 2 กนั ทรลกั ษ์ 96 1,968.07 810 3 ราษีไศล 57 440.34 323 4 อทุ ุมพรพสิ ัย 55 658.63 483 5 ขุนหาญ 40 1,427.26 494 6 ขขุ นั ธ์ 37 671.57 335 7 กนั ทรารมย์ 34 455.90 230 8 ไพรบงึ 16 435.75 117 9 เบญจลกั ษ์ 16 2,876.61 181 10 พยหุ ์ 14 63.81 76 11 ห๎วยทบั ทัน 12 382.13 121 12 ศลิ าลาด 9 8.12 36 13 วงั หนิ 8 98.63 64 14 โนนคณู 6 1,094.10 124 15 โพธ์ิศรสี วุ รรณ 6 10.27 44 16 ยางชมุ น๎อย 5 126.10 97 17 ปรางค์กํู 4 3.85 16 18 บงึ บูรพ์ 4 11.14 78 19 ภสู งิ ห์ 4 7.93 21 20 ศรีรัตนะ 3 7.31 59 21 น้าเกล้ียง 1 19.00 3 22 เมืองจนั ทร์ -- - รวม 546 12,996.43 5,224 ทม่ี า : สานักงานอตุ สาหกรรมจังหวัดศรีสะเกษ พ.ศ. 2559 หมวดอุตสาหกรรม จากจานวนโรงงานอุตสาหกรรมท่ีประกอบกิจการทั้งหมด 546 โรงงาน สามารถแบํงเป็นหมวด อตุ สาหกรรมตามลกั ษณะการประกอบกิจการได๎ 21 หมวดอตุ สาหกรรม โดยมีหมวดอตุ สาหกรรมทีป่ ระกอบ กิจการ มาก 5 อันดับแรก ดังน้ี 1) หมวดอุตสาหกรรมการเกษตร ได๎แกํ อุตสาหกรรมประเภทโรงสีข๎าว, อบเมล็ดพืช, ทามันเส๎น แปูง ขนมจนี เปน็ ตน๎ จานวน 130 โรงงาน คดิ เปน็ รอ๎ ยละ 23.81 ของจานวนโรงงานท้งั หมด แผนพัฒนาจงั หวดั ปี พ.ศ. 2561-2565 (ฉบบั ทบทวน ปี พ.ศ.2563) | จังหวัดศรีสะเกษ

20 2) หมวดอตุ สาหกรรมขนสํง ได๎แกํ อุตสาหกรรมประเภทซํอม เคาะพํนสีรถยนต์, ซํอมเครื่องยนต์ เป็น ต๎น จานวน 77 โรงงาน คิดเป็นรอ๎ ยละ 14.10 ของจานวนโรงงานทัง้ หมด 3) หมวดอุตสาหกรรมไม๎และผลิตภัณฑ์จากไม๎ ได๎แกํ อุตสาหกรรมประเภทเล่ือยไม๎, แปรรูปไม๎ ทาวง กบประตู หน๎าตาํ งจากไม๎ เปน็ ต๎น จานวน 74 โรงงาน คดิ เปน็ ร๎อยละ 13.55 ของจานวนโรงงานทัง้ หมด 4) หมวดอุตสาหกรรมอโลหะ ได๎แกํ อุตสาหกรรมประเภทผลิตภัณฑ์คอนกรีตผสมเสร็จ เป็นต๎น จานวน 52 โรงงาน คิดเปน็ ร๎อยละ 9.52 ของจานวนโรงงานทัง้ หมด 5) หมวดอุตสาหกรรมผลิตภัณฑ์โลหะ ได๎แกํ อุตสาหกรรมประเภทกลึง เช่ือมโลหะ, ผลิตหลังคาเหล็ก รดี ลอน เปน็ ต๎น จานวน 48 โรงงาน คิดเป็นรอ๎ ยละ 8.79 ของจานวนโรงงานทัง้ หมด ตารางที่ 14 ขอ๎ มลู จานวนโรงงานแยกรายอาเภอ ท่ี รายการ จานวน เงินลงทุน คนงาน โรงงาน (ล้านบาท) (คน) 1 อุตสาหกรรมการเกษตร 130 4,257.55 1,201 2 อตุ สาหกรรมอาหาร 40 451.27 445 3 อุตสาหกรรมเครอ่ื งดื่ม 2 11.75 23 4 อุตสาหกรรมส่งิ ทอ 3 54.60 167 5 อตุ สาหกรรมเคร่ืองแตงํ กาย 9 65.61 469 6 อตุ สาหกรรมเคร่อื งหนัง -- - 7 อตุ สาหกรรมไมแ๎ ละผลิตภณั ฑจ์ ากไม๎ 74 333.49 552 8 อตุ สาหกรรมเฟอร์นิเจอร์และเครอ่ื งเรือน 9 9.03 213 9 อุตสาหกรรมกระดาษและผลติ ภณั ฑจ์ ากกระดาษ -- - 10 อตุ สาหกรรมสิง่ พมิ พ์ -- - 11 อุตสาหกรรมเคมี 8 43.37 66 12 อุตสาหกรรมปิโตรเคมีและผลติ ภัณฑ์ 7 200.97 45 13 อตุ สาหกรรมยาง 12 1,487.86 264 14 อุตสาหกรรมพลาสตกิ 7 40.16 60 15 อตุ สาหกรรมอโลหะ 52 662.34 392 16 อุตสาหกรรมโลหะ -- - 17 อุตสาหกรรมผลติ ภณั ฑโ์ ลหะ 48 248.16 220 18 อุตสาหกรรมเคร่อื งจกั รกล 25 81.07 123 19 อุตสาหกรรมไฟฟาู -- - 20 อตุ สาหกรรมขนสํง 77 1,234.35 650 21 อตุ สาหกรรมอื่นๆ 43 3,814.79 334 รวม 546 12,996.43 5,224 ท่ีมา : สานกั งานอุตสาหกรรมจังหวัดศรีสะเกษ พ.ศ.2559 แผนพัฒนาจงั หวดั ปี พ.ศ. 2561-2565 (ฉบับทบทวน ปี พ.ศ.2563) | จงั หวดั ศรีสะเกษ

21 อุตสาหกรรมส่งออก 1. บริษัท บางซอื่ โรงสไี ฟเจยี เมง๎ จากัด ประกอบกจิ การโรงสีขา๎ ว 2. หา๎ งหน๎ุ สวํ นจากัด สหสยามฟารม์ ประกอบกิจการตม๎ นึง่ หรืออบพชื , การผสมแปูงและน้าสม๎ สายชู 3. ห๎างห๎ุนสํวนจากัด โรงสีข๎าวตงั้ แซเยีย้ ง ประกอบกิจการโรงสีขา๎ ว 4. บรษิ ัท เอ่ียมศิริแปูงมนั จากดั ประกอบกจิ การผลติ แปงู มนั สาปะหลงั 5. บรษิ ทั พัฒนกจิ วด๏ู ชพิ จากัด ประกอบกจิ การผลติ ชิน้ ไมส๎ บั จากไม๎ยูคาลปิ ตสั เพื่อจาหนาํ ย อุตสาหกรรมท่ีมีเงินลงทุนตั้งแต่ 200 ลา้ นบาทข้ึนไป 1. บริษัท โรงสีหิรัณย์เจริญ จากัด ประกอบกิจการสีข๎าว ตั้งอยูํท่ี ถ.กันทรลักษ์-เดชอุดม ม.5 ต.ทําคล๎อ อ.เบญจลักษ์ จ.ศรีสะเกษ เงนิ ลงทนุ 217 ลา๎ นบาท คนงาน 15 คน 2. บริษัท ยูนิเวอร์แซล โพรไวเดอร์ จากัด ประกอบกิจการผลิตพลังงานไฟฟูา กาลังการผลิต 2.99 เมกะวตั ต์ จากเซลลแ์ สงอาทิตย์ ต้ังอยํูที่ ถ.ศรีสะเกษ-คซู อด ม.4 ต.หญ๎าปล๎อง อ.เมือง จ.ศรีสะเกษ เงินลงทุน 362 ลา๎ นบาท คนงาน 20 คน 3. บริษัท เอ่ียมศิริแปูงมัน จากัด ประกอบกิจการผลิตแปูงมันสาปะหลัง ตั้งอยูํที่ 49 ม.11 ต.จานใหญํ อ.กันทรลกั ษ์ จ.ศรสี ะเกษ เงนิ ลงทนุ 670.90 ลา๎ นบาท คนงาน 77 คน 4. บรษิ ัท ตงั้ แซเยย้ี ง กรีน พาวเวอร์ จากัด ประกอบกิจการผลิตพลังงานไฟฟูาจากเชื้อเพลิงชีวมวล ตัง้ อยํูที่ 71/2 ม.7 ต.โนนค๎อ อ.โนนคูณ จ.ศรีสะเกษ เงินลงทุน 850 ล๎านบาท คนงาน 34 คน 5. บริษัท เอสพีพี โฟร์ จากัด ประกอบกิจการผลิตกระแสไฟฟูาจากเซลล์แสงอาทิตย์ ต้ังอยูํท่ี ม.2 ต.ทําคลอ๎ อ.เบญจลักษ์ จ.ศรีสะเกษ เงินลงทนุ 892.40 ลา๎ นบาท คนงาน 29 คน 6. องค์การสวนยาง กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ประกอบกิจการผลิตยางแทํง STR 20 ต้ังอยูํที่ ม.4,5,7 ต.ไพร อ.ขุนหาญ จ.ศรสี ะเกษ เงินลงทุน 1,154.60 ล๎านบาท คนงาน 120 คน 7. บริษัท เอสพีพี ทรี จากัด ประกอบกิจการผลิตกระแสไฟฟูาจากเซลล์แสงอาทิตย์ ตั้งอยํูที่ ม.2 ต.ทาํ คลอ๎ อ.เบญจลักษ์ จ.ศรสี ะเกษ เงินลงทุน 1,189.92 ล๎านบาท คนงาน 37 คน 8. บริษัท ไพรบึงพืชผล จากัด ประกอบกิจการสีข๎าว ตั้งอยํูท่ี 88 ม.11 ต.สาโรงพลัน อ.ไพรบึง จ.ศรสี ะเกษ เงนิ ลงทนุ 275 ล๎านบาท คนงาน 30 คน ข้อมูลดา้ นการทอ่ งเทย่ี ว จังหวัดศรสี ะเกษเป็นจังหวดั ท่ีเพยี บพร๎อมไปดว๎ ยแหลงํ ทํองเท่ียว ไมํวําจะเป็นแหลํงทํองเที่ยวทางธรรมชาติ แหลํงทํองเที่ยวทางธรรมชาติ แหลํงทอํ งเท่ียวทางประวตั ศิ าสตร์ แหลํงทํองเที่ยวทางวัฒนธรรม แหลํงทํองเท่ียวเพ่ือ นนั ทนาการ แหลงํ ทอํ งเท่ียวเชิงเกษตร และแหลํงทํองเที่ยวเกี่ยวกับการกีฬา ซ่ึงสถานการณ์ด๎านการทํองเที่ยวของ จังหวัดในชํวง 5 เดือนแรกของปี 2560 (มกราคม - พฤษภาคม 2560) เม่ือเทียบกับชํวงเดียวกันของปีกํอนหน๎า (ปี 2559) พบวํา อัตราการเข๎าพกั โดยเฉล่ียร๎อยละ 59.00 เพม่ิ ขึน้ ร๎อยละ +2.61 มีจานวนผูเ๎ ยี่ยมเยือน 799,565 คน ขยายตัวเพ่มิ ขนึ้ รอ๎ ยละ +4.24 เป็นผเ๎ู ยี่ยมเยือนชาวไทย 790,397 คน ชาวตํางชาติ 9,168 คน มีรายได๎จากผู๎เย่ียม เยือน 1,090.49 ล๎านบาท ขยายตัวเพิ่มข้ึนร๎อยละ +7.64 แบํงเป็นรายได๎จากผ๎ูเย่ียมเยือนชาวไทย 1,067.10 ล๎าน บาท ชาวตํางชาติ 23.39 ล๎านบาท และในอนาคตคาดการณ์วํา ปี 2562 สถิตินักทํองเที่ยวของจังหวัดศรีสะเกษ ทั้ง จานวนนักทอํ งเทีย่ วและรายได๎จากการทํองเทีย่ วจะมอี ตั ราขยายตวั เพมิ่ ข้ึนเม่อื เทียบกับปกี อํ นหน๎า แผนพัฒนาจงั หวดั ปี พ.ศ. 2561-2565 (ฉบบั ทบทวน ปี พ.ศ.2563) | จงั หวดั ศรสี ะเกษ

22 ตารางที่ 15 ข๎อมลู แหลงํ ทํองเท่ียวของจังหวดั ศรีสะเกษ แยกตามประเภทการทอํ งเทย่ี ว ประเภทของแหลง่ ท่องเทีย่ ว รายชือ่ แหล่งทอ่ งเท่ยี ว 1.แหล่งทอ่ งเทย่ี วทางธรรมชาติแหล่งทอ่ งเท่ียว 1. แกงํ พระพุทธบาท ทางธรรมชาติ (Natural Attraction) 2. แกํงอารมย์ 3. หว๎ ยตามาย 4. พลาญจาปา 5. สวนสมเดจ็ พระศรีนครินทร์ 6. ถ้าขุนศรี (อุทยานแหงํ ชาติเขาพระวิหาร) 7. น้าตกขุนศรี (อุทยานแหงํ ชาตเิ ขาพระวิหาร) 8. นา้ ตกซา้ ไทร 9. นา้ ตกภูละออ 10. นา้ ตกสาโรงเกียรติ 11. นา้ ตกหว๎ ยจันทรห์ รอื น้าตกกันทรอม 12. นา้ ตกห๎วยวังใหญํ 13. น้าตกหว๎ ยสวาย 14. ผามออีแดง 15. แมํนา้ มลู 16. ลาน้าเสยี ว 17. ลาห๎วยทับทัน (ต.บึงบูรพ)์ 18. เส๎นทางเดินปาุ ศึกษาธรรมชาติทีน่ ้าตกภลู ะออ 19. หนองไพรบึง (นกเปด็ น้า) 20. หว๎ ยคลา๎ 21. หาดนางเหงา 2. แหล่งท่องเทย่ี วทางประวัตศิ าสตร์ 1. กแูํ กว๎ สี่ทิศบ๎านหวา๎ น (Historical Attraction) 2. กํสู มบูรณ์ 3. ตึกขนุ อาไพพาณชิ ย์ 4. สถปู คํู 5. สระตราว (อุทยานแหงํ ชาตเิ ขาพระวิหาร 6. ปราสาทโดนตวล 7. ปราสาทตาเลง็ 8. ปราสาทตาหนักไทร หรอื ปราสาททามจาน 9.ปราสาทบ๎านปราสาท 10. ปราสาทบา๎ นสมอ 11. ปราสาทปรางคก์ ูํ 12. ปราสาทเมอื งจนั ทร์ 13. ปราสาทหินวดั สระกาแพงนอ๎ ย แผนพฒั นาจังหวัด ปี พ.ศ. 2561-2565 (ฉบับทบทวน ปี พ.ศ.2563) | จงั หวดั ศรสี ะเกษ

23 ประเภทของแหล่งทอ่ งเทย่ี ว รายช่ือแหล่งทอ่ งเที่ยว 3. แหลง่ ทอ่ งเท่ยี วทางวฒั นธรรม 14. ปราสาทหนิ วดั สระกาแพงใหญํ (Cultural Attraction) 15. ปาุ ดงบก (วดั ปุาดงบก) 1. พทุ ธสถานศรี ษะอโศก 4. แหลง่ ทอ่ งเทีย่ วเพื่อนันทนาการ 2. วดั ถา้ สระพงษ์ (Recreational Attraction 3. วดั ไพรพัฒนา 4. วดั มหาพทุ ธาราม(วัดพระโต) 5. วดั สิเรยี มพทุ ธาราม 6. ศาลหลักเมอื งศรีสะเกษ 7. ศูนยศ์ ิลปาชีพ หว๎ ยทับทนั 8. หมูบํ ๎านไหมไทยเฉลิมพระเกียรติ 9. หมูบํ ๎านทํองเท่ียวเชิงเกษตรบ๎านซาขีเ้ หลก็ 10. หมบํู า๎ นทับทิมสยาม 06 11. พระพทุ ธบาทภูฝูาย 12. วัดปาุ มหาเจดียแ์ ก๎ว (วดั ล๎านขวด) 13. วัดปราสาทเยอเหนอื 14. วัดปาุ ศรีมงคล 15. วดั รอยพระพุทธบาท ภูสงิ ห์ 16. วดั ศรบี ึงบรู พ์ 17. พระธาตุเรืองรอง 18. วดั บ๎านหนองอารี 1. เขอื่ นห๎วยขนนุ 2. ดํานตรวจคนเข๎าเมืองชํองสะงา 3. ดาํ นตรวจคนเข๎าเมอื งชํองอานม๎า 4. ตลาดสดเทศบาลเมอื งศรีสะเกษ 5.สวนลิงบ๎านหวา๎ น 6. เขอื่ นตาจู 7. ศูนย์แสดงพนั ธสุ์ ตั วน์ า้ ศรสี ะเกษอควาเรยี ม 8. สวนสัตว์ศรสี ะเกษ 9. ไรตํ องทรัพย์ 10. ถนนคนเดนิ ศรสี ะเกษ 11. สวนเฉลมิ พระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ๎าอยํหู ัว เทศบาลเมอื งศรีสะเกษ 12. หาดสาราญ 13. อาํ งเกบ็ นา้ ห๎วยตก๊ึ ชู 14. เขื่อนราษีไศล แผนพัฒนาจังหวดั ปี พ.ศ. 2561-2565 (ฉบับทบทวน ปี พ.ศ.2563) | จงั หวัดศรสี ะเกษ

ตารางท่ี 16 ข๎อมลู เทศกาลและปฏิทนิ กจิ กรรมการสํงเสริมการทํองเท่ียวของจังหวัด ลาดับ ชื่องาน ชว่ งเวลาการจัดงาน สถานทจ่ี 1 งานกาชาดและงานปใี หมํ ธนั วาคม – มกราคม สนามหน๎าศาลาก ศรีสะเกษ 2 งานเทศกาล “ปลาดุกเผา ธนั วาคม – มกราคม สนามหน๎าทว่ี ํากา สะเดาหวาน” อาเภอปรางคก์ ํู ปรางค์กูํ 3 งานประเพณีบุญคณู ลาน มกราคม หอประชุมอาเภอ งานกมุ๎ ขา๎ วใหญํ สนามกีฬาอาเภอ 4 งานบุญข๎าวจี่กองข๎าวใหญํ กุมภาพนั ธ์ สนามทว่ี าํ การอาเ 5 งานประเพณี บุญเดือนสาม วนั ขนึ้ 12 คา่ เดอื น 3 กันทรลกั ษ์ วดั สระกาแพงใหญ 6 งานประเพณี แหํพระเวส-ฟัง วันแรม 14 คา่ เดือน 3 พิสัย เทศนม์ หาชาติ วดั ระกา ต.พิมาย 7 งานวันหอมแดงอาเภอยางชุม กมุ ภาพนั ธ์ สนามหนา๎ ที่วํากา นอ๎ ย ชุมนอ๎ ย แผนพัฒนาจังหวดั ปี พ.ศ. 2561-2565 (ฉบับทบทวน ปี พ.ศ.2563

ดศรีสะเกษ 24 จัดงาน กลางจังหวดั กิจกรรม ารอาเภอ - งานออกร๎านกาชาด จับฉลาก กาชาด งานแสดงบนเวที - งานออกร๎านสินค๎าราคาถกู งานตักบาตรรบั ปีใหมํ อโนนคณู - กจิ กรรมรา๎ นค๎าชุมชน(OTOP) ในเขตเทศบาลปรางค์กํู อโนนคูณ - การประกวดรอ๎ งเพลง การแสดงดนตรี - การแขํงขันกฬี าพื้นบา๎ น เภอ 1.การออกรา๎ นนทิ รรศการของสวํ นราชการ ญํ อ.อทุ ุมพร 2.การจาหนาํ ยสนิ ค๎าผลติ ภณั ฑ์ชุมชน / จาหนาํ ยขา๎ วเปลือก 3.การประกวดพานบายศรี / ประกวดสานสํมุ ไกํ ย อ.ปรางค์กูํ 4.ประกวดไกํพื้นเมอื ง / ไกยํ กั ษ์ 5.ประกวดกลองยาว / แขํงขนั สม๎ ตาลีลา ารอาเภอยาง 6.ประกวดขบั ร๎องสรภญั ญะ / ประกวดหมอสตู รขวญั 7.พาแลงกบั ขา๎ วอสี าน / การแสดงบนเวที / หมอลาวงใหญํ 1.งานบุญขา๎ วจ่ี งานกองข๎าวใหญํ 2.งานโรตาร่เี กษตรแฟร์ เทศกาลผลไม๎อาเภอ - กราบขอพรจากพระมงคลวุฒ (หลวงปเูุ ครือ่ ง สภุ ัทโท)อดตี เจา๎ อาวาสวัด สระกาแพงใหญํ - กราบขอพรหลวงพํอนาคปรก อายุกวาํ 1,000 ปี - ตั้งขบวนแหํเข๎าเมอื ง โดยชา๎ ง มา๎ และ รถ - พิธบี วชชีพราหมณ์ เทศก์มาลยั หมน่ื มาลัยแสน - เทศกม์ หาชาติแบบทรงเคร่อื งประยกุ ต์ โดยหมอลาแสดงประกอบ ครบ 13 กัณฑ์ 1,000 คาถา 1.กิจกรรมออกร๎านสนิ ค๎า OTOP 2.การแสดงละครประวัตศิ าสตร์ 3.การแสดงบนเวที 4.การประกวดแมํบ๎านหางเครื่อง 3) | จงั หวัดศรสี ะเกษ

ลาดับ ชอ่ื งาน ชว่ งเวลาการจัดงาน สถานทจ่ี 8 เทศกาลหอมแดงวงั หิน กมุ ภาพนั ธ์ สนามทวี่ ําการอาเ 9 งานพริกของดีกนั ทรารมย์ กุมภาพนั ธ์ สนามทีว่ าํ การอาเ กนั ทรารมย์ 10 งานเทศกาลดอกลาดวนบาน มนี าคม สวนสมเดจ็ พระศ ศรีสะเกษ 11 งานประเพณี ยอ๎ นราลกึ ขนึ้ 2 ขึน้ 2 คา่ เดือน 5 ปราสาทสระกาแพ ค่าเดือน 5 (ศวิ ะราตรี ศรพี ฤทเธศวร) และสนามหน๎าทว่ี ทุกอาเภอ 12 งานรดน้าดาหวั ผู๎สูงอายุ เมษายน เทศกาลสงกรานต์ วัดสระกาแพงใหญ อ.อทุ มุ พรพิสัย 13 งานประเพณี วันสงกรานต์ 13-15 เมษายน แผนพัฒนาจงั หวดั ปี พ.ศ. 2561-2565 (ฉบับทบทวน ปี พ.ศ.2563

25 จัดงาน กจิ กรรม เภอวงั หิน 5.การประกวดธิดาหอมแดง เภอ 6.การประกวดนางงามดอกหอมบาน ศรีนครินทร์ 7.การประกวดมสิ หอมแดง พงใหญํ 8.การแขงํ ขันสม๎ ตาลลี า วําการอาเภอ 9.การประกวดร๎องเพลง ญํ 10.การแขงํ ขันกฬี าพน้ื บา๎ น 1.ประกวดขบวนแหํ 2.ประกวดผลผลติ หอมแตํละตาบล 3.สินค๎า OTOP ของอาเภอ 4.การแสดงพ้ืนบา๎ น ประกวดร๎องเพลง 1.ประกวดขบวนแหํ 2.ประกวดพรกิ สวยแตลํ ะตาบล 3.สนิ คา๎ OTOP ของดงี านพริก 4.การแสดงพืน้ บ๎าน ประกวดร๎องเพลง 1.ทานพาแลง ชมการแสดง แสง สี เสียง ศรพี ฤทเธศวร 2.รา๎ นจาหนํายสินค๎า OTOP 3.นทิ รรศการจากหนวํ ยงานภาครฐั ภาคเอกชน 4.เส๎นทางเดินศกึ ษาธรรมชาติกลางปาุ ลาดวน 40,000 ต๎น 1.บวงสรวงสิ่งศักดส์ิ ทิ ธ์ิ ณ ปราสาทสระกาแพงใหญํ 2.ทานพาแลง ชมการแสดง แสง สี เสยี ง ศรพี ฤทเธศวร 3.ประกวดธิดาศรพี ฤทเธศวร 1.สรงนา้ พระพทุ ธรูปคูํบา๎ นคเํู มือง 2.รดนา้ ดาหัวผ๎สู งู อายุ 3.การละเลนํ พ้ืนบา๎ น 1.สรงน้าขอพรหลวงพอํ นาคปรก 2.ประกวดเทพีสงกรานต์ 3) | จงั หวัดศรสี ะเกษ

ลาดับ ชือ่ งาน ช่วงเวลาการจัดงาน สถานท่ีจ 14 งานประเพณี วนั สงกรานต์ 13-15 เมษายน อาเภอพยุห์ รดน้าดาหัวผสู๎ ูงอายุ พฤษภาคม 1.สนามหนา๎ ที่วาํ ก 15 งานประเพณีบุญบั้งไฟ ราษีไศล 2.สนามหนา๎ ที่วาํ ก ศลิ าลาด 16 งานประเพณีบญุ บั้งไฟ มิถุนายน 1.สนามหนา๎ ท่ีวําก ยางชุมนอ๎ ย 17 งานเทศกาลผา๎ ไหมบึงบูรพ์ มิถนุ ายน 1.สนามหน๎าทีว่ าํ ก บงึ บูรพ์ 18 งานเทศกาลเงาะทเุ รียนและ มถิ นุ ายน/กรกฎาคม ผลไม๎ของดศี รีสะเกษ สนามหน๎าศาลาก ศรสี ะเกษ 19 งานประเพณบี ุญเข๎าพรรษา กรกฎาคม อาเภอพยหุ ์ 20 งานเทศกาลของดีศรีขุนหาญ กรกฎาคม สนามกฬี า - วงก ขุนหาญ แผนพัฒนาจงั หวัด ปี พ.ศ. 2561-2565 (ฉบบั ทบทวน ปี พ.ศ.2563

จดั งาน 26 การอาเภอ การอาเภอ กจิ กรรม การอาเภอ 1.รดน้าขอพรผูส๎ งู อายุ / ตรวจสุขภาพ การอาเภอ 2.ประกาศเกียรติคุณผู๎สูงอายุ กลางจังหวดั 1.ประกวดขบวนแหํเซิง้ บ้งั ไฟ กลมอาเภอ 2.ประกวดบ้งั ไฟเอ๎งาม 3.แขงํ ขันบัง้ ไฟขึ้นสงู สุด/นานทส่ี ุด 4.การแสดงและการละเลนํ พื้นบ๎าน 5.การประกวดบั้งไฟล๎านของแตลํ ะหนวํ ยงาน 6.การประกวดฟอู นราของแตํละหนํวยงาน 1.ประกวดขบวนแหํเซิ้งบ้งั ไฟ 2.ประกวดบงั้ ไฟเอง๎ าม 3.แขํงขันบ้ังไฟขึ้นสงู สดุ /นานที่สุด 5.การประกวดบั้งไฟโบราณ 6.การประกวดฟอู นราของแตลํ ะชมุ ชน 1.ประกวดขบวนแหํ และงานประกวดดนตรี 2.ประกวดผ๎าไหมมัดหม่ี ผ๎าไหมชั้น1 และผา๎ ทอมือท่ีมีความเปน็ เอกลักษณ์ 1.งานแสดงบนเวที 2.การออกร๎านจาหนํายผลิตภณั ฑท์ างการเกษตรพชื ผักผลไมใ๎ นจงั หวดั 3.รา๎ นจาหนาํ ยสนิ คา๎ OTOP 4.นทิ รรศการจากหนํวยงานภาครัฐภาคเอกชน 5.ประกวดขบวนแหํ และงานประกวดดนตรี 1.ประกวดขบวนแหตํ ๎นเทียน 2.ถวายสงั ฆทาน 3.ถวายภัตตาหารเพล 1.งานแสดงบนเวที งานประกวดวงดนตรี 2.การออกรา๎ นจาหนํายผลิตภณั ฑท์ างการเกษตรพืชผกั ผลไม๎ 3.การแขงํ ขันกีฬาของแตลํ ะตาบล 3) | จงั หวัดศรสี ะเกษ

ลาดับ ชือ่ งาน ชว่ งเวลาการจัดงาน สถานทจ่ี 21 วนั สารทจีน สิงหาคม ทุกชมุ ชนในพน้ื ที่จ ทว่ี ําการอาเภอรา 22 ประเพณีแขํงเรอื ยาวลาน้ามูล กนั ยายน ราษไี ศล ทว่ี ําการอาเภอขขุ ทกุ ชุมชนในพ้นื ทจ่ี 23 งานประเพณีแซนโฎนตา ตุลาคม อาเภอพยหุ ์ 24 งานบญุ ออกพรรษา ตุลาคม 25 งานประเพณลี อยกระทง พฤศจิกายน 26 งานประเพณลี อยกระทง ขึ้น 15 คา่ เดอื น 12 วัดสระกาแพงใหญ 27 งานประเพณีลอยกระทง พฤศจิกายน สวนเฉลมิ พระเกยี พระบาทสมเด็จพ 28 งานเทศกาลรับปีใหมํ ธันวาคม เฉลมิ พระชนมพร พรรษาและแหลงํ จังหวดั ทุกชุมชนในพน้ื ที่จ แผนพัฒนาจังหวัด ปี พ.ศ. 2561-2565 (ฉบบั ทบทวน ปี พ.ศ.2563

27 จดั งาน กจิ กรรม จงั หวดั 4.นิทรรศการจากหนํวยงานภาครฐั ภาคเอกชน าษไี ศล 5.ประกวดขบวนแหํ ขนั ธ์ 1.ทาบญุ ตามประเพณดี ้งั เดมิ จงั หวัด 2.การรกั ษาประเพณที ี่เคยปฏิบัตสิ บื ทอดมา ญํ 1.การแขงํ ขันเรือยาวฝีพายมือดจี ากทั่วประเทศ 2.การละเลนํ พนื้ บ๎าน ณ หาดทรายรมิ นา้ ยรติ 3.กจิ กรรมการแขํงขนั ทเ่ี ก่ียวขอ๎ งกบั ลาน้ามูล พระเจ๎าอยหูํ ัว รรษา 80 1.บวงสรวง เซนํ ไหว๎บรรพบุรษุ งน้าสาคัญทัว่ 2.พิธีกรรมตามแบบขอมโบราณ จังหวดั 1.กิจกรรมงานประเพณีตาํ งๆเนื่องในวันออกพรรษา 2.การเตรยี มงานทอดถวายผ๎ากฐนิ 1.ประกวดขบวนแหํ 2.ประกวดนางนพมาศ 3.ประกวดกระทง 1.ประกวดขบวนแหํ 2.ประกวดธดิ านพมาศ 3.ประกวดกระทง 4.ประกวดขับร๎องเพลงไทย-ลูกทงุํ 1.ประกวดขบวนแหํ 2.ประกวดนางนพมาศ 3.ประกวดกระทง 4.แสดงพลแุ ละดอกไมไ๎ ฟ 5.รวํ มลอยกระทงสักการะพระแมํคงคา กจิ กรรมงานประเพณีตํางๆเนือ่ งในเดือนสํงทา๎ ยปีเกํา 3) | จงั หวดั ศรสี ะเกษ

28 เทศกาลและงานประเพณที สี่ าคญั 1. เทศกาลดอกลาดวนและประเพณสี ีเ่ ผ่าไทศรสี ะเกษ ในชวํ งเดอื นมนี าคมของแตํละปี ดอกลาดวนซึ่งเป็นพนั ธุ์ไม๎มงคลพระราชทานและเป็นต๎นไม๎/ดอกไม๎ประจา จังหวัดศรีสะเกษ มีขึ้นอยูํตามธรรมชาติโดยท่ัวไปโดยเฉพาะในสวนสมเด็จพระศรีนครินทร์ศรีสะเกษ อันเป็นสวน สมเด็จพระศรีนครินทร์แหํงแรกของประเทศ ไทย ท่มี ตี ๎นลาดวนมากกวํา 50,000 ต๎นได๎ออก ดอกบานสะพรั่ง สํงกล่ินหอมอบอวลไปทั่วทั้ง เมือง เปรียบเสมือนเมืองในเทพนิยาย จังหวัดศรีสะเกษได๎รํวมกับมูลนิธิสวน สมเด็จพระศรีนครินทร์, การทํองเท่ียวแหํง ป ร ะ เ ท ศ ไ ท ย ,อ ง ค์ ก ร ป ก ค ร อ ง สํ ว น ท๎ อ ง ถ่ิ น ภาคเอกชน และสํวนราชการทุกหนํวยงาน ภายในจังหวัดศรีสะเกษ กาหนดจัดงาน เทศกาลดอกลาดวนบาน สบื สานประเพณีส่ีเผํา ไทศรสี ะเกษขนึ้ ณ บริเวณสวนสมเดจ็ พระศรีนครนิ ทรศ์ รีสะเกษ ในชํวงเดือนมีนาคมของทุกปี ความโดดเดํนของเทศกาลคือการแสดงประกอบแสง สี เสียง ชุด ศรีพฤทเธศวร ซ่ึงเป็นการแสดงที่ย๎อนยุค บอกเลําตานานของการสร๎างเมืองศรีสะเกษ หรือ เมืองศรีนครลาดวน ในอดีต นับเป็นการแสดงละครกลางแจ๎ง สมบูรณ์แบบท่ีสุดรายการหนึ่งของประเทศไทย ประกอบด๎วยนักแสดงจานวนกวํา 1,000คน และ ชุดการแสดงหลายรายการ โดยเฉพาะ ระบา ศรีพฤทเธศวร ซ่ึงเป็นการแสดงนาฏยศิลป์ ที่ ไดร๎ ับการออกแบบโดยกรมศิลปากร นอกจากน้ัน ยังมีการแสดงดนตรี การฟูอนรา และศิลปะ พื้นบ๎านของชน 4 เผําไทยศรีสะเกษ ได๎แกํ ลาว กูย เยอ และ เขมร ซ่ึงเป็นกลํุมชาติพันธ์ุดั้งเดิม ท่ีตั้งถ่ินฐานอยูํในพ้ืนที่จังหวัดศรีสะเกษ และ ระหวํางชมการแสดงนักทํองเท่ียวจะได๎สัมผัสกับ รสชาติอาหารพื้นเมืองในบรรยากาศการรับประทานอาหารแบบ พาข๎าวแลง หรือการรับประทานอาหารมื้อค่า ทํามกลางกลิ่นหอมของดอกลาดวน 2. เทศกาลงานเงาะ ทุเรียนภูเขาไฟ และของดศี รีสะเกษ จังหวดั ศรีสะเกษ ถือเป็นแผนํ ดินทองแหงํ อสี านใต๎ เน่อื งจากมสี ภาพดินท่ีอุดมสมบูรณ์ โดยเฉพาะเขตท่ีราบ ลุํมน้ามลู และเขตทีร่ าบลมํุ ตอนกลางของจงั หวดั ในบรเิ วณท่เี รยี กวํา ดงภดู นิ แดง ที่มีลักษณะดินเป็นดินรํวนปนทราย สีแดง(จึงเรียกวํา ดงดินแดง หรือ ภูดินแดง )มีความอุดมสมบูรณ์สูง สามารถปลูกพืชเศรษฐกิจสาคัญได๎ ภูดินแดง เป็นภเู ขาไฟเกําทม่ี พี ้ืนท่กี วา๎ งขวาง อยํูลกึ เข๎ามาจากแนวเทือกเขาพนมดงรักชายเขตแดนไทยกับกัมพูชาเป็นรอยตํอ ของอาเภอเบญจลักษณ์ อาเภอน้าเกลยี้ ง อาเภอศรรี ตั นะ อาเภอขุนหาญและอาเภอกันทรลักษณ์เขตนี้จึงเป็นยํานที่ ปลูกพชื สวนสาคญั ๆ ได๎ผลดี เชํน เงาะ ทุเรียน มังคุดลองกอง มะยงชิด สะตอ ยางพารา ลาไย ล้ินจี่มะปรางหวาน แผนพฒั นาจังหวดั ปี พ.ศ. 2561-2565 (ฉบับทบทวน ปี พ.ศ.2563) | จังหวัดศรสี ะเกษ

29 กระท๎อน ส๎มโอ มะมํวง โดยเฉพาะ การผลิตเงาะและทุเรียน จังหวัดศรีสะเกษถือเป็นแหํงผลิตแหํงแรก และเป็น แหลํงใหญํที่สุดในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ โดยมีพ้ืนท่ีปลูกกวํา 7,000 ไรํ เงาะที่ผลิตเป็นพันธุ์เงาะโรงเรียน สํวน ทุเรียนเป็นพันธุ์หมอนทอง พันธุ์ชะนี จึงเป็น แหลํงพืชสวนและผลไม๎อันเป็นผลิตผลทาง การเกษตรเพ่ือการสํงออกแหลํงใหญํท่ีสาคัญ แหํงหน่ึงของประเทศไทย นอกจากนั้น ยังมี พชื ผลอนื่ ๆ ที่ออกผลตลอดทัง้ ปี ดั ง น้ั น ใ น เ ดื อ น มิ ถุ น า ย น ข อ ง ทุ ก ปี จังหวัดศรีสะเกษจึงกาหนดเป็นชํวงเทศกาล เงาะทุเรียนภูเขาไฟ และของดีศรีสะเกษเพ่ือ สํงเสริมการทํองเทียวเชิงเกษตรและการทํอง เทียวเชิงนิเวศของจังหวัดรวมท้ังการเผยแพรํ ชือ่ เสยี งของผลไม๎และพืชผลทางการเกษตรจากศรีสะเกษมีขบวนรถบุปผาชาติประดับด๎วยผลไม๎กิจกรรมคาราวาน การทอํ งเทียวชมสวนและชิมผลไม๎ไปตามสวนในพ้ืนท่ีเพาะปลูกสาคัญ เชํน ในเขตอาเภอกันทรลักษ์และอาเภอขุน หาญ รวมทง้ั การจาหนาํ ยผลไมแ๎ ละพชื ผลทางการเกษตรคุณภาพดี ราคายอํ มเยา 3.งานประเพณีแซนโฎนตา งานบุญสารทเดือนสิบของชาวไทยเขมร เทศกาลงานบญุ ประเพณแี ซนโฎนตา หรอื ประเพณีเซํนผปี ุูตาในเดอื นสิบ หรอื ถา๎ เรียกกันแบบเต็มๆ ตามชื่อ เรยี กของชาวไทยเขมรวาํ แซนโฎนตาแคเบ็น หมายถึง การเซนํ ผีปูตุ าเดอื นสบิ หรอื งานบญุ สารทเดือนสิบ ซึ่งชาวไทย เขมรทกุ ทท่ี ว่ั ระแหงไมวํ ําในไทยหรือฝั่งกัมพูชาจะต๎องประกอบกิจประเพณีพิธีกรรมงานบุญนี้เพ่ืออุทิศสํวนกุศลแกํ ญาติ พี่น๎องท่ีลํวงลับไปแล๎วเป็นประจาทุกปี ปัจจุบันในอาเภอขุขันธ์ จังหวัดศรีสะเกษ ได๎มีการจัดงานประเพณี แซนโฎนตาข้ึนเป็นประจาทกุ ปี ทง้ั นเ้ี พ่ือเป็นการสืบสานประเพณที ี่ดีงามและถือเป็นวันครอบครัวอีกวันหน่ึงของคน ไทยเขมรประจวบกบั ในอาเภอน้ีและอาเภอใกลเ๎ คียงมชี าวไทยเขมรอาศยั อยูํเป็นจานวนมากจึงถือจัดงานประเพณีนี้ เป็นเอกลักษณ์งานประจาอาเภอขุขันธ์ โดยงานนี้จะมีกิจกรรมตํางๆ ท่ีเกี่ยวข๎องกับประเพณีแซนโฎนตาและ วฒั นธรรมทอ๎ งถน่ิ ชาวไทยเขมรอยํางมากมาย แหล่งทอ่ งเท่ยี วสาคญั และมีช่อื เสยี งในจงั หวดั ศรสี ะเกษ 1.น้าตกภูลออ เป็นน้าตกขนาดเล็กอยูํในเขตรักษาพันธ์ุสัตว์ปุา พนมดงรัก ตาบลเสาธงชัย การเดินทางใช๎เส๎นทาง หมายเลข 221 (กันทรลักษ์ -ผามออีแดง) ระยะทาง ประมาณ 23 กิโลเมตร ถึงบ๎านภูมิซรอล - น้าตกสาโรง เกียรติประมาณ 8 กิโลเมตรแล๎วเล้ียวซ๎ายสูํน้าตกภูละออ อีก 2.5 กิโลเมตร เป็นทางลาดยางตลอดสายสามารถ ทอํ งเทีย่ วไดใ๎ นชวํ งเดอื นเมษายน -กมุ ภาพนั ธ์ ทางเดินเข๎า จากบริเวณลานจอดรถถึงน้าตกในระยะทางไป-กลับ 4 กิโลเมตร ไดร๎ ับการพัฒนาให๎เปน็ เส๎นทางที่ให๎ความร๎ูเร่ือง พชื พนั ธ์ุและสภาพภูมิประเทศ ซึ่งเหมาะแกํการทอํ งเทีย่ วในลักษณะเดนิ ปุาศกึ ษาธรรมชาติ แผนพฒั นาจงั หวัด ปี พ.ศ. 2561-2565 (ฉบับทบทวน ปี พ.ศ.2563) | จังหวัดศรสี ะเกษ

30 2.น้าตกสาโรงเกียรติ น้าตกสาโรงเกยี รติ เป็นน้าตกท่มี ีชื่อเสยี งแหงํ หน่ึงของจังหวดั ศรีสะเกษ ตั้งอยูํในเขตรักษาพันธ์ุสัตว์ปุาพนม ดงรัก ในทอ๎ งทต่ี าบลบกั ดอง อาเภอขุนหาญ หํางจากตวั จงั หวัดประมาณ 81 กิโลเมตร น้าตกสาโรงเกียรติ เดิมชื่อวํา “น้าปศี าจ” ซ่งึ ตงั้ ตามชือ่ หนํวยทหารพรานที่มีสมญานามวํา “หนวํ ยปีศาจ” ซึง่ ไดใ๎ ชน๎ ้าตกแหํงนเี้ ป็นทต่ี ั้งหนวํ ยปฏบิ ตั ิการ กระทัง่ ถงึ ปี พ.ศ. 2549 เมอ่ื มีการปรับปรงุ พื้นที่ให๎เป็นแหลํง ทํองเที่ยว น้าตกปีศาจก็ได๎เปล่ียนช่ือเป็น “น้าตกสาโรง เกียรติ” ตามช่ือหมูํบ๎านนับแตํบัดนั้น น้าตกสาโรงเกียรติ มี ต๎นกาเนิดจากภูเขากันทุง บนเทือกเขาบรรทัด เป็นน้าตก ขนาดกลาง ตกจากหน๎าผาสูง 8 เมตร ลักษณะอันโดดเดํน ของน้าตกแหํงนีค้ ือ ท่ีด๎านบนของน้าตกจะเป็นธารน้าซ่ึง ไหลไปตาม ลานหิน ดูสวยงามมากโดยเฉพาะชํวงฤดูฝน สาหรับบรรยากาศโดยรอบน้าตกนั้นรํมร่ืนไ ปด๎วยพัน ธ์ุไ ม๎ นอ๎ ยใหญํ เหมาะแกกํ ารทากิจกรรมพกั ผอํ นหยํอนใจ ไมวํ ําจะเปน็ การปเู สอื่ น่งั รับประทานอาหาร การลงเลํนน้า หรือ การถํายภาพทิวทัศน์อันสวยงามของน้าตกตามจุดตํางๆ เชํนเดียวกับน้าตกหลายๆ แหํง น้าตกสาโรงเกียรติจะมี สายน้าไหลชุมํ ฉ่าใหส๎ มั ผัสกันอยํางจุใจในชวํ งหนา๎ น้า โดยชวํ งเวลาที่เหมาะแกํการทํองเท่ียวคือ ตั้งแตํเดือนกันยายน – กุมภาพันธ์ของทุกปี 3.นา้ ตกห้วยจนั ทร์ น้าตกหว๎ ยจนั ทร์ หรือ น้าตกกันทรอม ต้ังอยูํที่บ๎าน น้าตกห๎วยจันทร์ ตาบลห๎วยจันทร์ อาเภอขนุ หาญ จังหวัดศรี สะเกษ อยํหู าํ งจากตัวอาเภอขุนหาญ 24 กิโลเมตร หรือหําง จากตัวจังหวัด 85 กิโลเมตร แตํเดิมน้ันภายในบริเวณน้าตก มีต๎นจันทน์แดงและจันทร์ขาวข้ึนอยูํหนาแนํน จึงได๎ช่ือวํา “น้าตกห๎วยจันทร์” น้าตกแหํงนี้ถือเป็นอีกหนึ่งแหลํง ทอํ งเทีย่ ว ทนี่ ําสนใจของจงั หวดั ศรีสะเกษ เน่อื งจากสามารถ เข๎าถึงได๎งําย เพราะตั้งอยํูริมถนนทางหลวงแผํนดิน น้าตก ห๎วยจนั ทร์ มตี ๎นกาเนิดจาก ภูเสลา บนเทือกเขาบรรทัด ไหลลงสูํแมํน้ามูลท่ีอาเภอเมือง จังหวัดศรีสะเกษ น้าตก ห๎วยจันทร์เป็นน้าตกท่ีสวยงาม มีน้าตลอดท้ังปี แตํถ๎าต๎องการสัมผัสสายน้าได๎อยํางจุใจแล๎วลํะก็ ขอแนะนาให๎ เดินทางมาในชํวงเดือนกันยายน – กุมภาพันธ์ บริเวณโดยรอบน้าตกรํมร่ืนด๎วยพันธุ์ไม๎ปุานานาชนิด มีลมพัดเย็น สบายตลอดเวลา จงึ เหมาะแกํการพกั ผํอนหยอํ นใจ สาหรบั กจิ กรรมยอดนิยมคงหนีไมํพ๎นการลงเลํนน้า ซึ่งที่น่ีมีจุดที่ สามารถเลํนนา้ ไดอ๎ ยํางสนุกสนาน สํวนการนาอาหารเข๎ามารบั ประทานภายในบรเิ วณนา้ ตก ก็เป็นอีกหน่ึงกิจกรรมที่ ไดร๎ ับความนยิ มไมํแพ๎กัน ท้ังนีน้ กั ทํองเทีย่ วสามารถปูเสอื่ นั่งรบั ประทานริมธารน้า หรือจะใช๎บริการศาลาเล็กๆ ที่ต้ัง เรยี งรายอยูเํ ปน็ ระยะกไ็ ด๎เชนํ กนั แผนพัฒนาจังหวดั ปี พ.ศ. 2561-2565 (ฉบับทบทวน ปี พ.ศ.2563) | จังหวัดศรีสะเกษ

31 4.ผามออีแดง (อุทยานแหง่ ชาติเขาพระวิหาร) ต้ังอยูํในพ้ืนที่อุทยานแหํงชาติเขาพระวิหาร ตาบล เสาธงชัย อาเภอกันทรลักษ์ จังหวัดศรีสะเกษ อยูํบริเวณ ใกลเ๎ คียงกบั ทางเดนิ ขึ้นปราสาทเขาพระวิหาร เป็นหน๎าผาสูง ชัน กน้ั เขตแดนประเทศไทยกบั ประเทศกัมพชู า ตลอดแนวผา มออแี ดงมีระยะประมาณ 300 เมตร เป็นจุดชมวิวท่ีมองเห็น ทัศนียภาพของแผนํ ดินประเทศกัมพูชาที่อยตูํ ่าลงไปอยํางเป็น มุมกว๎าง มีฝูงค๎างคาวในยามพระอาทิตย์ตกดิน บริเวณ ใกล๎เคียงมีเส๎นทางศึกษาธรรมชาติ ชมโบราณสถานสถูปคํู รูปทรงส่เี หลี่ยมลูกบาศก์ สวํ นบนกลมขา๎ งในเป็นโพรง สาหรับบรรจุส่ิงของสร๎างด๎วยหินทรายแดง ขนาดกว๎าง 1.93 เมตร ยาว 4.2 เมตร ซึง่ เชอ่ื กนั วาํ เป็นสัญลักษณข์ องความอดุ มสมบรู ณ์ การเข๎าชมผามออีแดง มีเส๎นทางรถยนต์เข๎าถึงเป็นสถานที่รองรับนักทํองเที่ยวในทุกฤดูกาล เปิดให๎ นกั ทอํ งเท่ยี วเขา๎ ชมไดท๎ ุกวนั ต้งั แตํเวลา 05.00-16.30 น. อัตราคา่ บริการเขา้ อทุ ยานแหง่ ชาติ ชาวไทย : ผู๎ใหญํ 40 บาท เดก็ 20 บาท ชาวต่างชาติ : ผ๎ูใหญํ 400 บาท เดก็ 200 บาท 5.จุดชมวิวผาพญากูปรี จดุ ชมวิวพญากูปรี ตั้งอยํูริมถนนบ๎านแซรไปร์ -ชํอง สะงา ตาบลไพรพัฒนา อาเภอภูสิงห์ จังหวัดศรีสะเกษ หําง จากจุดผาํ นแดนถาวรไทย-กัมพชู า ชํองสะงา ประมาณ 4 กม. โดยจดุ ชมววิ พญากปู รี อยูํบรเิ วณหน๎าผาสูงบนเทือกเขาพนม รัก สามารถมองเห็นวิวทิวทัศน์ธรรมชาติของต๎นน้าห๎วย สาราญที่กั้นระหวําง อาเภอภูสิงห์ จังหวัดศรีสะเกษ และ อาเภอบัวเชด จงั หวัดสุรินทร์ ได๎อยํางชัดเจน พร๎อมทั้งจัดตั้ง ศาลาไทยขน้ึ 3 หลงั เพอื่ ให๎นกั ทํองเท่ยี วได๎น่ังพักชมวิว และมี บริการน้าชากาแฟกูปรี ชงโดยทหารท่ีผํานการอบรมมาแล๎ว เมื่อนักทํองเที่ยวเข๎ามาทํองเที่ยวบริเวณน้ีจะเริ่มต๎นจากการท่ีไปกราบไหว๎สรีระสั งขารของหลวงปูุสรวงที่วัดไพร พัฒนา จากน้ันจะมาชมจุดชมวิวพญากูปรี แล๎วขึ้นไปเท่ียวที่เมืองใหมํชํองสะงาและไปท่ีจุดผํานแดนถาวรไทย - กัมพูชาชอํ งสะงา เพือ่ ขา๎ มไปเท่ียวในเขตประเทศกัมพูชาตํอไป แผนพฒั นาจงั หวัด ปี พ.ศ. 2561-2565 (ฉบบั ทบทวน ปี พ.ศ.2563) | จงั หวัดศรีสะเกษ

32 6.สวนสมเดจ็ พระศรีนครนิ ทร์ศรสี ะเกษ เปน็ สวนสาธารณะเฉลมิ พระเกยี รตสิ มเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี 80 พรรษาแหํงแรกของประเทศ ไทย ตง้ั อยูทํ ี่ตาบลหนองครก อาเภอเมืองศรสี ะเกษ จังหวัดศรี สะเกษ ติดกบั บรเิ วณวทิ ยาลยั เกษตรและเทคโนโลยีศรีสะเกษ มีเน้ือท่ี 237 ไรํ ซึ่งสมเด็จพระศรีนครินทร์บรมราชชนนี พรอ๎ มดว๎ ยสมเด็จพระเจ๎าพ่ีนางเธอเจ๎าฟูากัลยาณิวัฒนา กรม หลวงนราธวิ าสราชนครนิ ทร์ เสด็จเป็นประธานเปิดสวนแหํงน้ี เมอื่ วันท่ี 19 ธันวาคม พ.ศ. 2524บริเวณภายในมีลักษณะเป็น สวนปุาในเขตเมือง มีต๎นลาดวนข้ึนอยํูหนาแนํนเป็นดงใหญํ จานวนกวําสี่หมื่นต๎น และดอกลาดวนยังเป็นดอกไม๎ประจา จังหวัดศรสี ะเกษ โดยจะผลิดอกหอมอบอวลไปทั่วสวนในราว เดือนมีนาคมของทุกปี ภายในสวนสมเด็จพระศรีนครินทร์ ศรีสะเกษ ยังมีพระราชานุสาวรีย์สมเด็จพระศรีนคริน ทราบรมราชชนนี ทางเขา๎ สวนนอกจากน้นั ในพนื้ ทีย่ งั มีสวนสัตว์ และสวนสาธารณะตกแตํงสวยงามรํมร่ืนเป็นแหลํง พกั ผอํ นของประชาชนทั่วไป 7.สวนเฉลิมพระเกยี รตพิ ระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั 80 พรรษา (เกาะกลางนา้ ห้วยน้าคา) เป็นสถานท่ีทํองเท่ียวพักผํอนหยํอนใจของชาว จังหวัดศรีสะเกษ ต้ังอยํูถนนเล่ียงเมือง ตาบลหนองครก อาเภอเมืองศรีสะเกษ ภายในบริเวณเกาะกลางน้าได๎ถูก ปรับภูมิทัศน์ให๎เป็นสวนสาธารณะแบบครบวงจร มีการ แบงํ พนื้ ท่อี อกเป็นสดั สวํ นซ่งึ ประกอบด๎วย “หอศรลี าดวน เฉลมิ พระเกยี รติ” เปน็ อาคารคอนกรีตเสรมิ เหล็ก 16 ชั้น ความสูง 84 เมตร มรี ูปแบบสถาปัตยกรรมขอมประยุกต์ พร๎อมระบบสาธารณูปโภค สร๎างขึน้ เพือ่ ให๎เป็นพพิ ิธภัณฑ์ การเรยี นร๎ูแหํงจังหวัดศรีสะเกษ เป็นแหลํง การเรียนร๎ู แบบครบวงจร,“ศูนย์แสดงพันธ์ุสัตว์น้าจังหวัดศรีสะเกษ ( SRI SA KET AQUARIUM)” สวรรค์โลกใต๎น้า แดน มหัศจรรย์แหํงเดียวในอีสานใต๎ เป็นอาคารแสดงพันธ์ุสัตว์น้าในการดูแลของเทศบาลเมืองศรีสะเกษ ซึ่งมีแนวคิด มํุงเน๎นการพัฒนาให๎ความร๎ู สร๎างความเพลิดเพลิน สํงเสริมการทํองเที่ยวแกํเยาวชน นักเรียน นักศึกษาและ ประชาชนทวั่ ไป นอกจากน้ันได๎มีการพัฒนารอบๆ เกาะกลางน้าโดยทาถนนรอบเกาะสาหรับเดินว่ิงออกกาลังกาย และปนั่ จกั รยาน โดยในชํวงเยน็ จะมชี าวจังหวดั ศรสี ะเกษมาออกกาลงั กายกนั มากเปน็ พิเศษ 8.ศาลเจา้ พ่อหลกั เมอื งศรีสะเกษ ตั้งอยูํบริเวณส่ีแยกถนนเทพาตัดกับถนนหลัก เมือง ตาบลเมืองเหนือ อาเภอเมืองศรสี ะเกษ จงั หวัดศรี สะเกษ หํางจากศาลากลางจังหวัดเพียงเล็กน๎อยเดิม ศาลหลักเมืองมีสภาพชารุดทรุดโทรม ไมํเหมาะแกํการ ประกอบพิธีกรรมตํางๆ ตํอมา พ.ศ. 2529 ทางจังหวัด จึงไดก๎ ํอสรา๎ งศาลหลกั เมืองขึน้ ใหมํ ศาลหลักเมืองศรีสะ เกษ มีลักษณะเปน็ สถาปตั ยกรรมยกฐานสูง หลังคาทรง ไทยจตุรมุข กรุด๎วยหินอํอนและกระจกสีอยํางงดงาม แผนพฒั นาจงั หวดั ปี พ.ศ. 2561-2565 (ฉบบั ทบทวน ปี พ.ศ.2563) | จงั หวัดศรสี ะเกษ

33 จ่ัวหน๎าด๎านทิศใต๎ประดิษฐานตราสัญลักษณ์ \"กาญจนาภิเษก\" ซึ่งเป็นสัญลักษณ์เนื่องในวโรกาสท่ีพระบาทสมเด็จ พระเจ๎าอยูํหัว ทรงครองสิริราชสมบัติ ครบ 50 ปี เสาหลักเมืองทาด๎วยไม๎ชัยพฤกษ์ ลักษณะเสาหัวเม็ดทรงมัณฑ์ นบั เปน็ ศาลหลักเมืองทสี่ วยงามแหงํ หนง่ึ ในประเทศไทย 9.วดั ไพรพฒั นา วัดไพรพัฒนา เร่ิมกํอตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2524 ได๎รับพระราชทานวิสุงคามสีมา เมื่อ ปี พ.ศ. 2550 ตัง้ อยํูเลขที่ 258 หมํูท่ี 3 ตาบลไพรพัฒนา อาเภอ ภูสิงห์ จังหวัด ศรสี ะเกษ มพี ระครูโกศลสิกขกิจ หรือหลวง พํอพุฒ วายาโม เป็นเจ๎าอาวาสวัด มี พระสงฆ์สามเณรในสังกัด 20 รูป และวัด ไพรพัฒนายัง ขอประทานพระบรม สารีริกธาตุ จากสมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก เพ่ืออัญเชิญไปประดิษฐานบรรจุไว๎ ณ มณฑปปราสาทหลวงปุูสรวงวัดไพรพัฒนา และเป็นสถานท่ตี งั้ สรรี ะสังขารของหลวงปสูุ รวง ซึ่งเป็นเกจิอาจารย์ท่ีเคารพนับถือของพุทธศาสนิกชนชาวจังหวัดศรี สะเกษและประชาชนท่ัวไปได๎มาเคารพกราบไหว๎ และเป็นศูนย์รวมจิตใจของประชาชนทั่วไปทั้งชาวไทยและชาว กัมพูชา 10.วดั มหาพุทธาราม (วัดพระโต) เปน็ วัดเกาํ แกํ ตงั้ มากอํ นเมืองศรีสะเกษ โดยเดมิ เรียกวํา “วดั ปุาแดง” ภายหลงั ไดถ๎ ือเอาพระพุทธรูปโบราณ ศักด์ิสิทธิ์เป็นสาคัญ จึงได๎เปล่ียนเป็น “วัดพระโต”ตามลักษณะของพระพุทธรูปแตํนั้นมา เม่ือปี พ.ศ. 2494 ได๎ เปลย่ี นชอ่ื ใหมํเป็น “วัดมหาพุทธาราม” และได๎เป็นวัดพัฒนาตัวอยํางมาโดย ลาดับ เคยเป็นวัดท่ีมีเจ๎าคณะจังหวัด ฝุายมหานิกายปฏิบัติศาสนกิจหลายรูป และปัจจุบันวัดมหาพุทธาราม ได๎เป็น สานกั ปฏบิ ตั ธิ รรมประจาจงั หวัด และยัง เป็นแหลํงทํองเท่ียวท่ีสาคัญแหํงหนึ่ง ของจังหวัดศรีสะเกษ มีวิหารซ่ึงเป็นท่ี ประดิษฐานพระพุทธรูปคํูบ๎านคูํเมือง และเป็นทเ่ี คารพสักการะของชาวศรีสะ เ ก ษ คื อ “ ห ล ว ง พํ อ โ ต ” ซึ่ ง เ ป็ น พระพุทธรูปองค์ใหญํปางมารวิชัย มี ความสงู จากฐานถงึ ยอดเกศ 6.85 เมตร หนา๎ ตกั กวา๎ ง 3.50 เมตร เดมิ เปน็ พระพทุ ธรปู ศิลาจาหลัก สันนิษฐานวําเป็น พระพุทธรูปสมัยขอมซ่ึงมีอายุรํวมพนั ปีแตมํ าสรา๎ งเพิม่ เติมข้ึนเมื่อใดไมํปรากฏแนชํ ัด แผนพฒั นาจังหวดั ปี พ.ศ. 2561-2565 (ฉบับทบทวน ปี พ.ศ.2563) | จงั หวัดศรสี ะเกษ

34 11.วัดศรีบึงบูรพ์ ตั้งอยรูํ มิ ลาน้าห๎วยทับทัน ที่บ๎านโนนสาวสวย หมูํที่ 4 ตาบลบึงบูรพ์ อาเภอบึงบูรพ์ จังหวัดศรีสะเกษ หํางจากตัว จงั หวดั ประมาณ 40 กิโลเมตร มีพระอุโบสถ ที่งดงามตระการ ตาซึ่งเป็นท่ีประดิษฐานพระพุทธชินราชจาลององค์ที่ 2 ของ ประเทศไทย เป็นสถานท่ี ทม่ี บี รรยากาศสวยงามตามธรรมชาติ เป็นสถานท่ีบาเพ็ญเพียรภาวนาของพระสงฆ์ท่ีมีประชาชน ศรัทธาเล่อื มใสนั้นคือ พระอาจารยศ์ รี จันทสาโร ซ่ึงมีดาริที่จะ สร๎างพุทธสถานและเทวสถานในวัดศรีบึงบูรพ์ ให๎เป็นพุทธ สถานมรดกอีสานใต๎ 12.พระธาตเุ รอื งรอง เป็นพระธาตุศิลปะแบบพ้ืนบ๎าน ตั้งอยํูภายในวัดบ๎านสร๎างเรือง ในท๎องท่ีบ๎านสร๎างเรือง ตาบลหญ๎าปล๎อง อาเภอเมือง จังหวดั ศรสี ะเกษ อยูํหํางจากตัวเมืองศรีสะเกษไปทางทิศเหนือประมาณ 7.5 กิโลเมตร สร๎างข้ึนเมื่อปี พ.ศ. 2525 โดยหลวงปูุธัมมา พิทักษา เพ่ือเป็นที่ประดิษฐานพระ บรมสารีริกธาตุ สาหรับให๎ชาวพุทธในถิ่นอีสานใต๎ได๎มาสักการบูชา แทนการเดินทางไปยังจงั หวัดทีห่ าํ งไกล ตัวพระธาตุเป็นอาคาร ที่มี การผสมผสานศลิ ปะอีสานใต๎ 4 เผํา ได๎แกํ ลาว สํวย เขมร และเยอ มีความสูงทั้งสิ้น 49 เมตร แบํงออกเป็น 6 ช้ัน ช้ันที่ 1 เป็น พิพิธภณั ฑ์พื้นบ๎านแสดงวิถชี วี ติ ชนเผําลาว สํวย เขมร และเยอ โดย มหี ํนุ จาลองซ่งึ แสดงถึงประเพณี วัฒนธรรมตํางๆ ในท๎องถ่ิน อีกท้ัง บนข่ือคานยังมีภาพจิตรกรรมท่ีบอกเลําเรื่องราวเก่ียวกับตานานและความเชื่อตํางๆ ช้ันท่ี 2 – 3 เป็นสํวนของ พิพิธภัณฑ์พ้ืนบ๎านซ่ึงจัดแสดงข๎าวของเครื่องใช๎ในสมัยโบราณ เชํน เคร่ืองป้ันดินเผา เคร่ืองมือดักจับสัตว์ ตะเกียง แผํนเสยี ง หนังสือ อาวุธ และอื่นๆ อกี มากมาย นอกจากนี้ตามฝาผนงั ยงั ประดบั ไปดว๎ ยภาพเขียนสวยงาม โดยในช้ัน ที่ 2 จะเป็นภาพสถานที่ทํองเท่ียวสาคัญของจังหวัดศรีสะเกษ สํวนช้ันท่ี 3 จะเป็นภาพเหตุการณ์สาคัญที่เกิดข้ึนใน จังหวดั ศรสี ะเกษ ชัน้ ท่ี 4 ใช๎เป็นจุดพกั ผอํ นกอํ นขึ้นไปยังชั้นถัดไป ช้ันที่ 5 เป็นช้ันสาหรับทาสมาธิ และช้ันที่ 6 หรือ ช้ันสุดท๎าย เป็นที่ประดิษฐานพระบรมเกศาธาตุของพระอรหันต์ และยังเป็นจุดชมวิวท่ีสามารถมองเห็นบ๎านเรือน และท๎องทุํงเขยี วขจีไดอ๎ ยํางชัดเจน 13.วดั พระธาตสุ พุ รรณหงส์ หรือวัดบ๎านหว๎าน ต้ังอยํูที่บ๎านหว๎าน ตาบลน้าคา อาเภอเมืองศรีสะเกษ อยํูหํางจากตัวจังหวัดประมาณ 10 กิโลเมตร เป็นอีกหนึ่งสถานท่ีท่ีห๎ามพลาดเมื่อเดินทางไปยัง จงั หวดั ศรสี ะเกษ ด๎วยความโดดเดํนของพระอุโบสถท่ีกํอสร๎าง บนเรอื สุพรรณหงสจ์ าลอง ลอยอยกํู ลางนา้ อยํางสวยงามแปลก ตา ตวั พระอุโบสถกว๎าง 5 เมตร ยาว 13.60 เมตร หลังคาทรง จัตุรมุข 3 ชั้น มียอดมณฑปกลางอุโบสถ เพ่ือบรรจุพระบรม สารีริกธาตุ และด๎วยความสวยงามโดดเดํนของวัดแหํงน้ีจึงทา ให๎เป็นอกี หน่งึ แหลํงทํองเที่ยวทไี่ ด๎รับความนิยมนอกจากน้ันในทกุ วนั อาทิตย์ ยังมีกิจกรรมทาบุญใสํบาตรของคนใน ชุมชนและตาํ งชมุ ชนบริเวณดา๎ นหน๎าพระอโุ บสถอีกด๎วย แผนพฒั นาจังหวัด ปี พ.ศ. 2561-2565 (ฉบบั ทบทวน ปี พ.ศ.2563) | จงั หวัดศรสี ะเกษ

35 14.วัดป่ามหาเจดยี ์แกว้ หรอื ท่ชี าวบา๎ นเรียกกนั วาํ “วดั ล๎านขวด” ต้ังอยูํท่ีบ๎านดอน ตาบลโนนสูง อาเภอขุนหาญ จังหวัดศรีสะเกษ ท่ีได๎ชื่อวํา “วัดล๎านขวด” ก็เพราะสถานท่ีตํางๆ ภายในวัด ไมํวําจะเป็นซุ๎มประตูทางเข๎า ลานจอดรถ โบสถ์ ศาลา หอระฆงั กุฏิ หรอื แมแ๎ ตํห๎องนา้ ตํางถูกประดับประดาด๎วยขวดแก๎ว หลากสีหลายแบบรวมกันกวํา 1.5 ล๎านใบ ซ่ึงความคิดเชํนน้ีไมํได๎ เปน็ ของนักออกแบบหรือศิลปนิ ทํานใด แตํมาจากพระภิกษุรูปหนึ่ง นามวํา “พระครูวเิ วกธรรมาจารย์” หรอื “หลวงปูุลอด” ที่คร้ังหน่ึง ได๎เขา๎ ไปพกั ปักกลดในปุาชา๎ หนองใหญํ (ทตี่ ้ังวดั ล๎านขวดในปัจจุบัน) ด๎วยความแปลกใหมํของวสั ดทุ ีใ่ ชต๎ กแตํงอาคารสถานท่ี ทาให๎วัดปุา มหาเจดีย์แก๎ว หรือวัดล๎านขวดกลายเป็นอีกหนึ่งจุดหมายสาคัญ ของการทํองเท่ียวของจังหวัดศรีสะเกษ ที่น่ีนอกจากจะได๎ชื่นชม ศิลปะการสลับสขี วดเป็นลวดลายตํางๆ บนอาคารแลว๎ ผม๎ู าเยอื นยังจะได๎ทึง่ กบั ความคดิ ในการนาฝาขวดมาปะติดจน ได๎ภาพพุทธประวัตทิ ไี่ มเํ หมือนท่ใี ดอกี ด๎วย 15.ตึกขนุ อาไพพาณชิ ย์ หรือที่ชาวเมืองศรีสะเกษเรียกกันทั่วไปวํา ตึกขุนอาไพ ตั้งอยูํบริเวณตลาดใน (ตลาดเกํา) บนถนนอุบล ตาบลเมืองใต๎ อาเภอเมืองศรีสะเกษ อยํูหํางจากศาลากลางจังหวัดไปทางทิศ ตะวันออกประมาณ 4 กิโลเมตร อาคารหลังนี้เดิมเป็นบ๎านของขุน อาไพพาณิชย์ (ทองอินทร์ นาคสีหราช) คหบดีชาวศรีสะเกษ สร๎าง ขึ้นเม่ือปี พ.ศ. 2468 ตํอมาเมื่อทํานเจ๎าของบ๎านถึงแกํกรรมแล๎ว อาคารดงั กลาํ วไดเ๎ ปดิ ใหเ๎ ชาํ เปน็ ที่พกั อาศัยและประกอบการค๎าเป็น เวลานานรํวม 40 ปี จนในปี พ.ศ. 2523 อาคารมีสภาพชารุดมาก อาจเป็นอนั ตรายตํอ ผู๎พักอาศัยได๎ ทางการจึงประกาศเป็นเขตหวง ห๎ามตั้งแตํบัดนั้น กระท่ังกรมศิลปากรได๎เข๎ามาดาเนินการบูรณะ และขน้ึ ทะเบยี นเป็นโบราณสถานสาคัญของชาตใิ นปี พ.ศ. 2537 16.ปราสาทสระกาแพงใหญ่ ต้ังอยูํในบริเวณวัดสระกาแพงใหญํ ถนนประดิษฐ์ประชาราษฎร์ หมํูท่ี 1 ตาบลสระกาแพงใหญํ อาเภออทุ มุ พรพิสยั จงั หวัดศรีสะเกษ ใกล๎กับสถานีรถไฟอุทุมพร พิสัย หํางจากที่วําการอาเภออุทุมพรพิสัยไปทางทิศตะวันตก ประมาณ 2 กิโลเมตร ปราสาทสระกาแพงใหญํ สร๎างข้ึนใน ศาสนาฮินดู และศาสนาพทุ ธแบบมหายานเพื่อเป็นที่ประดิษฐาน เทวรูป จากการบูรณะของกรมศิลปากร เมื่อ พ.ศ. 2532 ได๎ คน๎ พบปฏมิ ากรรมสาริดขนาดใหญเํ ฉพาะองค์สูง 140 เซนติเมตร และรวมความสูงทัง้ ฐาน 180 เซนตเิ มตร ศาสตราจารย์หมํอมเจ๎า สภุ ัทรดศิ ดิศกลุ ใหค๎ วามเห็นวําเป็นรูปของนันทิเกศวร หรือ นัน ทีศวร ลักษณะพิเศษ คือเป็นสาริดกะไหลํทอง เดิมอาจจะตั้งอยํู หน๎าปราสาทหลังกลางภายในมขุ หนา๎ ปราสาท เพราะโดยปกติจะประจาอยูํกับเทวาลัยของพระอิศวร ปฏมิ ากรรมชิ้น นี้เป็นศิลปะขอมแบบบาปวนตอนปลาย นับเป็นปฏิมากรรมชิ้นเอกชิ้นหนึ่งที่พบในประเทศไทย ปัจจุบันจัดแสดง แผนพัฒนาจังหวดั ปี พ.ศ. 2561-2565 (ฉบับทบทวน ปี พ.ศ.2563) | จังหวัดศรสี ะเกษ

36 พิพิธภัณฑ์สถานแหํงชาติพิมาย จังหวัดนครราชสีมา สภาพทั่วไปของปราสาทสระกาแพงใหญํประกอบด๎วย ระเบยี งคตรูปสี่เหลี่ยมผืนผ๎าขนาดกว๎าง 49 เมตร ยาว 67 เมตร ล๎อมรอบกลุํมปราสาทอิฐและบรรณาลัย รวม ทั้งหมด 6 หลัง จากภาพถํายทางอากาศ ช้ีให๎เห็นวํา ปราสาทสระกาแพงใหญํนําจะมีชุมชนรายรอบอยําง หนาแนนํ ทางทศิ ตะวันออกเฉียงใต๎หํางออกไปประมาณ 400 เมตร มสี ระน้ารปู ส่ีเหล่ียมขนาดใหญํ เรยี กวํา \"สระ กาแพง\" สนั นิษฐานวํานําจะขดุ ข้ึนเม่ือคร้ังสร๎างปราสาท สํวนทางทศิ ตะวนั ออกมีลาห๎วยเล็กๆ ไหลผําน คอื ห๎วยตาเหมา ซ่งึ เปน็ ลาห๎วยสาขาทแ่ี ยกออกมาจากหว๎ ยสาราญ 17.ปราสาทโดนตวล ตั้งอยูทํ ีบ่ า๎ นภมู ิซรอล ตาบลบึงมะลู อาเภอกันทรลักษ์ จังหวัดศรีสะเกษ ต้ังอยูํริมหน๎าผาบนเทือกเขาพนม ดงรกั ใกลช๎ ายแดนไทย – กัมพูชา หํางจากตัวอาเภอกันทรลักษ์ 38 กิโลเมตร ปราสาทโดนตวล เป็นปราสาทขอม ขนาดเล็กทํามกลางต๎นไม๎ใหญํ สร๎างข้ึนราวพุทธศตวรรษท่ี 15 – 16 มีลักษณะเป็นปรางค์เดี่ยว ผังรูปสี่เหล่ียมจัตุรัส กวา๎ ง – ยาวประมาณ 7 เมตร ยํอมุมทั้ง 4 ด๎าน หันหน๎าไป ทางทิศตะวันออก บริเวณด๎านหน๎าประตูปรางค์มีแนวเสา หินทราย 4 ต๎น สันนิษฐานวําเป็นเสารองรับหลังคามณฑป ถดั ออกมาจะมีเสาหนิ ทรายอยอูํ กี 4 ดา๎ น คาดวําเป็นโคปุระ (ซุ๎มประตู) นอกจากน้ีทางด๎านทิศตะวันออกเฉียงใต๎ของ ปรางค์ยังพบหินทรายเรียงตํอกันเป็นรูปผืนผ๎า สันนิษฐาน วํานาํ จะเปน็ บรรณาลยั (วิหาร) สวํ นสระนา้ ซง่ึ เป็นองคป์ ระกอบสาคญั ของปราสาท มีลักษณะเป็นคันดิน อยูํหํางจาก ปราสาทประมาณ 400 เมตร 18.ปราสาทบ้านปราสาท ปราสาทบ๎านปราสาท หรือ ปราสาทห๎วยทับทัน หรือ ปราสาทบ๎านโนนธาตุ ตั้งอยํูภายในวัดปราสาท พนาราม บ๎านปราสาท ตาบลปราสาท อาเภอห๎วยทับ ทัน จังหวัดศรีสะเกษ สันนิษฐานวําสร๎างขึ้นในราวพุทธ ศตวรรษที่ 16 เพอ่ื ใชเ๎ ปน็ ทปี่ ระดษิ ฐาน “เทพเจ๎าตีมูรติ” ตามคติความเชือ่ ในศาสนาพราหมณ์ โบราณสถานแหํงน้ี เปน็ ศิลปะรวํ มแบบคลัง–ปาปวน ประกอบด๎วยปรางค์อิฐ จานวน 3 องค์ ตัง้ อยํบู นฐานศิลาแลงเดียวกัน เรียงตัวใน แนวทิศเหนือ – ใต๎ หันหน๎าไปทางทิศตะวันออก รอบ ปราสาทมีกาแพงศลิ าแลงลอ๎ มทงั้ 4 ดา๎ น รวมถึงมีโคปุระ อยํทู างทิศใต๎และทศิ ตะวันออกสาหรบั ปรางคอ์ งคก์ ลางมีขนาดใหญํกวําปรางค์อกี 2 องค์ อยูํเล็กน๎อย แตํสํวนหลังคา เต้ียกวํา ลักษณะของปรางค์เปน็ รูปสเี่ หลี่ยมจตั ุรัสยํอมุมไม๎สิบสอง มีประตูทางเข๎าด๎านทิศตะวันออกเพียงด๎านเดียว มีกรอบประตูหินทราย และมที บั หลังติดอยํูเป็นภาพบุคคลยืนอยูํเหนือหน๎ากาลสํวนปรางค์ 2 องค์ที่ขนาบข๎างนั้นมี ขนาดเดยี วกนั โดยในยคุ หลังได๎รบั การดดั แปลงรูปแบบไปมาก ท่เี ห็นได๎ชัดเลยก็คือ “ประตู” ซ่ึงกํออิฐปิดตายทั้งสี่ด๎าน แผนพฒั นาจงั หวัด ปี พ.ศ. 2561-2565 (ฉบบั ทบทวน ปี พ.ศ.2563) | จงั หวัดศรีสะเกษ

37 แตํยงั คงปรากฏกรอบประตหู นิ ทรายและชิ้นสํวนทับหลงั สลกั ภาพการกวนเกษยี รสมทุ รตกอยหํู นา๎ ประตูปรางค์องค์ท่ี อยูํดา๎ นทศิ ใต๎ จากความเชื่อของคนในชุมชนที่วํา หากบุคคลซ่ึงกาลังเดือดร๎อนได๎มาบนบานศาลกลําว ก็จะได๎สมดัง ปรารถนา จึงมชี าวบา๎ นและนกั ทอํ งเที่ยวเดินทางมากราบไหว๎อยํางตอํ เน่ือง โดยเฉพาะในวนั ขนึ้ 15 ค่า เดือน 3 ของ ทุกปี ซงึ่ กาหนดเปน็ วนั จดั งานประเพณไี หวพ๎ ระธาตุ 19.ปราสาทปรางค์กู่ ต้ังอยํูท่ีบ๎านกํู ตาบลกูํ อาเภอปรางค์กูํ จังหวัดศรีสะเกษ อยูํหํางจากตัวจังหวัดศรีสะเกษเป็นระยะทาง ประมาณ 56 กิโลเมตร สร๎างขึ้นในราวพุทธ ศตวรรษที่ 16 เพื่อเป็นเทวสถานในศาสนา พราหมณ์ มีลักษณะเปน็ ปรางค์ 3 องค์ สร๎างเป็น แนวจากเหนือไปใต๎อยํูบนฐานขนาดใหญํ กํอด๎วย อิฐปนศิลาแลงเรียงแผํนโตๆ (เหมอื นปราสาทศรีขร ภูมิท่ีจังหวัดสุรินทร์) เป็นศาสนสถานสมัยขอมท่ี เกําแกํงดงามในเชิงสถาปัตยกรรมโบราณ มีอายุ กวําพนั ปี ด๎านหน๎าปรางค์กูํจะมีสระน้าขนาดใหญํ ท่ีใช๎ในสมัยโบราณ ปัจจุบันเป็นที่หากินของ นกเป็ดน้า ซ่ึงมีมากในชํวงฤดูแล๎งต้ังแตํเดือน กุมภาพนั ธ์เป็นต๎นไป สินคา้ พนื้ เมอื งหรอื ของฝาก สินค๎าระดบั OTOP ของจังหวัดท่ีนักทํองเท่ียวต๎องแวะซ้ือเป็นของ ฝาก คือ หอม กระเทียม ท่ีข้ึนช่ือและจังหวัดศรีสะเกษ มีพื้นท่ีการปลูก หอม ปลูกกระเทียม จานวน 731 ไรํ อาเภอที่ปลูกมาก 3 อันดับ ได๎แกํ อาเภอ ยางชุมนอ๎ ย วังหนิ และกันทรารมย์ อตั ลกั ษณ์วถิ ีไทยของจังหวัด วัฒนธรรม หรือกิจกรรมท่โี ดดเด่น เป็นเอกลกั ษณข์ องพนื้ ท่ี จังหวัดศรีสะเกษ มีชุมชนหลายกลมํุ ตัง้ ถิน่ ฐานอาศัยอยูํรํวมกัน ท้ังน้ีเป็นผลมาจากการอพยพย๎ายครัวเข๎า มาของคนในกลํุมชาตพิ นั ธ์ุตาํ งๆ ตัง้ แตํในอดีต ปัจจุบันยังคงปรากฏลักษณะเฉพาะทางกายภาพและวัฒนธรรมของ กลุมํ คนเหลาํ นน้ั อยูํ กลํมุ คนดงั กลาํ วไดแ๎ กํ ชาวลาว ชาวเขมร ชาวกยู (หรือสวํ ยหรือกวย) และเยอ กลมุ่ ชาติพันธไ์ุ ท - ลาว แบงํ ออกเปน็ 2 สวํ นใหญํๆ คอื 1.ชาวไทอสี านดั้งเดมิ ท่ตี ้งั ถ่นิ ฐานมานานแล๎วไมํต่า กวํา 300 ปี ชาวลาวที่โยกย๎ายถ่นิ มาจากประเทศลาวหรอื ฝั่งซ๎าย แมนํ ้าโขงตงั้ แตสํ มยั รัชกาลท่ี 1 เป็นตน๎ มา ท้งั 2 กลุํมมีภาษาใน การส่ือสารเป็นของตนเองท้ังภาษาพูดและภาษาเขียน ได๎แกํ อักษรไทยน๎อยและอกั ษรธรรมอีสาน ซ่งึ เป็นตวั อกั ษรทีพ่ ฒั นามา จากตัวฝกั ขามในสมัยสโุ ขทยั พร๎อมกับการเข๎ามาของศาสนาพุทธ ในดินแดนอีสาน สาเนียงภาษาพูดของกลุํมชาติพันธ์ุชาวไท - ลาว จดั อยใํู นตระกูลภาษาไท - กะได โดยชาวไทอีสานดั้งเดิมจะ มีสาเนียงพูดเป็นภาษาถ่ินอีสานถ่ินใต๎สาเนียงเดียวกับจังหวัด อุบลราชธานี, อานาจเจริญ และยโสธร สํวนชาวลาวท่ีโยกย๎าย แผนพัฒนาจงั หวดั ปี พ.ศ. 2561-2565 (ฉบบั ทบทวน ปี พ.ศ.2563) | จังหวดั ศรีสะเกษ

38 มาทีหลังจะมี 2 กลํุม คือ ชาวลาวเวียงจันทนแ์ ละชาวลาวจาปาสกั โดยสาเนียงลาวเวียงพบได๎มากในตัวอาเภอเมือง ศรสี ะเกษ, อาเภอขนุ หาญ และอาเภอขุขนั ธ์ ซ่งึ เปน็ สาเนียงเดยี วกับนครหลวงเวยี งจนั ทน์ในประเทศลาว มีลักษณะ การพูดเนิบช๎าและเหนํอ และภาษาลาวใต๎ในแขวงจาปาสัก, ประเทศลาว มีสาเนียงการพูดที่ห๎วนส้ัน การเข๎ามา ของชาวลาวฝั่งซ๎ายแมํน้าโขงไมํทราบปีที่แนํชัด แตํพบการเคล่ือนย๎ายครั้งใหญํในสมัยรัชกาลท่ี 3 และรัชกาลที่ 5 และยุคสงครามกลางเมืองลาวคอมมิวนิส (พ.ศ. 2496-2518) ในจังหวัดศรีสะเกษมีความแตกตํางจากสาเนียงของ กลํมุ ชาตพิ นั ธลุ์ าวในจังหวดั ทางตอนบนของภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื เน่อื งจากพ้ืนฐานการพัฒนาและถ่ินฐานเดิมท่ี แตกตํางกันไป โดยรวมแล๎วกลํุมภาษาไทกะไดในจังหวัดศรีสะเกษถูกแบํงออกเป็น 3 สาเนียง คือ ไทอีสาน , ลาว เวยี ง และลาวใต๎ โดยหลอมรวมเป็นวัฒนธรรมไท – ลาวของชาว ศรีสะเกษ อยํางไรก็ดีมักเรียกรวมกลํุมวัฒนธรรม กลมุํ น้วี ําชาวลาว บ๎านเรือน บ๎านของชาวลาวมีลักษณะการกํอสร๎างเหมือนกับบ๎านเรือนของชาวไทยอีสานทั่วๆไป คือ ลักษณะตวั บ๎านทง้ั หลงั สรา๎ งด๎วยไม๎ หลังคามุงกระเบอ้ื ง มีหอ๎ งขนาดใหญํ การแตงํ กาย ผ๎ชู ายแตํงกายดว๎ ยกางเกงผา๎ ฝาู ยขากระบอก เสื้อผา๎ ฝูายคอกลม ผ๎าขาวม๎าคาดเอว สํวนผู๎หญิง นงุํ ผา๎ ซิ่น เสอื้ แขนกระบอกคอกลมหรอื กระโจมอก กลุ่มชาติพันธุ์ส่วย (กูย,กวย หรือกวย) ในเอกสารสมัยต๎นกรุงรัตนโกสินทร์เรียกชาวเขมรปุาดง มีเพียง ภาษาพูดเทําน้ัน สาเนยี งและคาศัพท์รํวมหลายคาคล๎ายภาษาขํา ภาษาแส ภาษาโส๎ จัดล๎วนจัดอยํูในตระกูลภาษา ออสโตรเอเชียติก (มอญ-เขมร) ชํวยให๎สามารถสื่อสารกันได๎ ภาษา กวยยังเป็นภาษาพิเศษท่ีใช๎ในการประกอบพิธีกรรมของหมอควาญ ช๎าง สาหรับการบวงสรวงผีกํอนการออกจับช๎างปุา มีกลุํมชาติพันธุ์ กวยตง้ั ถิน่ ฐานอยูใํ นบางสวํ นของอาเภอราษีไศล, อาเภอเมืองจันทร์, อาเภอหว๎ ยทับทนั , อาเภออุทมุ พรพิสัย,อาเภอปรางค์กูํ, อาเภอเมือง ศรีสะเกษ,อาเภอน้าเกล้ียง, อาเภอศรีรัตนะ, อาเภอไพรบึง, อาเภอ ขนุ หาญ และอาเภอกันทรลักษ์ การแตํงกาย ผู๎ชายจะแตํงตัวด๎วยเสื้อคอกลมผําหน๎า นํุง โสรํงสีสันตํางๆ หรือกางเกงขาก๏วยส้ัน ผ๎าขาวม๎าคาดเอวหรือคล๎อง ไหลํ ผ๎ูหญิงจะนํุงผ๎าถุงมีเชิงหรือไมํมี กระดุมทาด๎วยเงินเส้ือแขน กระบอกสีสนั ตํางๆ ผ๎าเบ่ยี งเปน็ ผา๎ ขาวมา๎ หรอื ผ๎าลายลูกแก๎วสีครมี ดา กลุ่มชาติพันธุ์เยอ มีเพียงภาษาพูด ซึ่งมีคาศัพท์สํวนใหญํคล๎ายกับภาษากวยแตํมีสาเนียงที่แตกตํางและ เพี้ยนไปจากภาษากวยตามสภาพแวดลอ๎ ม นักภาษาศาสตร์ใหค๎ วามเหน็ วาํ ภาษาเยอคือภาษากวยที่มีความใกล๎ชิดกับ ภาษาลาว สํวนภาษากวยคือภาษาเยอท่ีใกล๎ชิดกับภาษาเขมร อยํางไรก็ตาม ภาษาเยอจัดเป็นภาษาในตระกูลภาษาออสโตรเอเชีย ตกิ (มอญ-เขมร) เชํนกัน โดยพบวํามีการพูดภาษาดังกลําวนี้ในบาง พื้นท่ีของอาเภอไพรบึง, อาเภอพยุห์, อาเภอศรีรัตนะ, และอาเภอ นา้ เกลี้ยง การแตํงกาย ผู๎ชายจะนุํงโสรํงหรือผ๎าสีตํางๆ เป็นโจง กระเบน มผี ๎าขาวม๎าคาดเอวหรือคล๎องไหลํเคร่ืองประดับมีสร๎อยคอ รปู แบบตาํ งๆ สวํ นผหู๎ ญงิ จะแตงํ กายดว๎ ยเส้อื แขนกระบอกกคอกลม หรือคอสีสันตํางๆ นุํงผ๎าถุงโจงกระเบน มีเส้ือสีสันตํางๆ แตํไมํมี ลวดลายด๎านใน แตมํ ีต๎ุมหเู ปน็ เครอ่ื งประดบั ท่ีสาคัญ แผนพฒั นาจังหวดั ปี พ.ศ. 2561-2565 (ฉบบั ทบทวน ปี พ.ศ.2563) | จังหวดั ศรสี ะเกษ

39 กลุ่มชาติพันธ์ุเขมร มีภาษาพูดท่ีจัดเป็นภาษาเขมรถ่ินไทย หรือเขมรสูง(ขแมร์เลอ) เน่ืองจากมีสาเนียง และคาศัพทห์ ลายคาแตกตํางไปจากภาษาพูดของชาวเขมรใน ประเทศกัมพูชาซ่ึงจัดเป็นชาวเขมรลุํมหรือเขมรต่า (ขแมร์ กรอม) อยาํ งไรกด็ ี จากผลการวิจัยของทั้ง2สาเนียงคือภาษา เขมรถิน่ ไทยและภาษาเขมรถนิ่ กัมพูชา ภาษาเขมรถิ่นไทยหรือ เขมรสงู สามารถใช๎พดู สอ่ื สารกบั ชาวเขมรในประเทศกัมพูชาได๎ แตํภาษาเขมรลํุมในประเทศกัมพูชามักไมํคํอยเข๎าใจภาษา เขมรสงู โดยในพื้นทีจ่ ังหวัดศรสี ะเกษมกี ลมํุ ชาตพิ นั ธ์ชุ าวเขมร สูงอาศยั อยหํู นาแนนํ ในอาเภอภูสงิ ห์, อาเภอขุขันธ์, อาเภอขุน หาญ, อาเภอกันทรลักษ์, รวมท้ังบางสํวนของอาเภอศรีรัตนะ อาเภอไพรบึง, อาเภอปรางค์กํูและอาเภอห๎วยทับทัน ซ่ึงคิด เป็นสัดสวํ นประมาณร๎อยละ 20 ของประชากร ทัง้ จังหวัด การแตํงกาย ลักษณะการแตํงกายของคนพื้นเมืองเขมร ชายแตํงกายด๎วยเส้ือคอกลมผําหน๎า นุํงโสรํงสีสัน ตํางๆ ผ๎าขาวม๎าคาดเอวหรือคล๎องไหลํ ผ๎าขาวม๎าที่ใช๎ลายขาวดาเล็กกวําคนพื้นเมืองลาวใช๎ สํวนผู๎หญิงจะแตํงกาย ด๎วยการนุํงผา๎ ถงุ ลายตั้ง มีเชงิ ตามขวางสองช้ัน ชั้นบนกว๎าง ช้ันลํางแคบ ระกวํางรอยตํอคาบด๎วยสีแดง เสื้อดาย๎อม มะเกลอื แขนกระบอกรดั รปู ตามรอยตะเข็บถักด๎วยสีตํางๆ ชายเสื้อผําทั้งสองด๎าน ยาวประมาณ 6 นิ้ว กระดุมทา ดว๎ ยเงนิ ผ๎าคล๎องไหลํมสี ีสันตาํ งๆ ผา๎ คลอ๎ งคอนิยมหยํอนชายผ๎าขาวมา๎ ขา๎ งหนา๎ ข้อมลู สนับสนนุ บริการด้านการท่องเทยี่ ว 1). การบริการขนส่งและอานวยความสะดวกในการเข้าเมือง (ทางบก ทางน้า และทางอากาศ) จังหวัดศรีสะเกษ มเี ส๎นทางคมนาคมท่ีติดตํอได๎กับจังหวัดใกล๎เคียงรวมท้ังอาเภอตํางๆ ภายในท๎องที่จังหวัดศรี สะเกษ โดยทางรถยนต์และรถไฟ ซึ่งสามารถให๎บริการรับสํงผ๎ูโดยสาร และขนสํงสินค๎าท้ังขาเข๎าและขาออก แบงํ ออกเป็น การคมนาคมโดยรถไฟ ขบวนรถไฟทวี่ ่งิ ผาํ นสถานีจงั หวดั ศรสี ะเกษ เทย่ี วขึน้ -เทยี่ วลํอง มีวันละ 22 ขบวน ระยะทางจากกรุงเทพฯ ถึงสถานีจังหวัดศรีสะเกษ515 กิโลเมตร ขบวนรถไฟว่ิงผํานภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ต้ังแตํจังหวัดนครราชสีมา บุรีรมั ย์ สุรนิ ทร์ ศรสี ะเกษและส้นิ สุดปลายทางท่ีอาเภอวารินชาราบ จงั หวัดอุบลราชธานี การคมนาคมโดยรถยนต์ ปัจจุบันการขนสํงทางถนนได๎เพ่ิมบทบาทมากย่ิงข้ึน เนื่องจากเป็นกลไกสาคัญประการหนึ่งในการพัฒนา เศรษฐกจิ และสังคมของประเทศให๎ก๎าวหนา๎ ทดั เทียมกับอารยะประเทศ ดงั น้นั จงั หวัดไดจ๎ ัดระเบียบการขนสํงทางบก ในเขตจังหวัดโดยอาศัยอานาจตามความในพระราชบัญญัติการขนสํงทางบก พ.ศ.2522 และนโยบายของจังหวัด เพอ่ื สนองความตอ๎ งการของประชาชน โดยการจดั เสน๎ ทางเดินรถยนต์ ถงึ 4 หมวด ด๎วยกันคอื เสน๎ ทางหมวดท่ี 1 เป็นเสน๎ ทางขนสํงภายในเทศบาล มีจานวน 2 เสน๎ ทาง เสน๎ ทางหมวดท่ี 2 เปน็ เสน๎ ทางที่เริ่มตน๎ จากกรงุ เทพฯ มจี านวน 10 เส๎นทาง เส๎นทางหมวดที่ 3 เป็นเสน๎ ทางระหวํางจงั หวดั หรือคาบเก่ียวระหวาํ งจังหวัดมีจานวน 16 เสน๎ ทาง เสน๎ ทางหมวดที่ 4 เปน็ เสน๎ ทางยอํ ย ซึง่ จากจังหวัดหรืออาเภอเข๎าสูชํ ุมชนยํอย เชนํ ตาบลหรอื หมํูบา๎ น มีจานวน 27 เสน๎ ทาง แผนพัฒนาจังหวดั ปี พ.ศ. 2561-2565 (ฉบับทบทวน ปี พ.ศ.2563) | จังหวดั ศรสี ะเกษ

40 การคมนาคมโดยทางอากาศ จงั หวดั ศรสี ะเกษ อยหํู าํ งจากจังหวดั อบุ ลราชธานี เพยี ง 60 กิโลเมตร ซ่งึ มีเครื่องบินท่ีสามารถเดินทางไปได๎ ทว่ั ประเทศ อกี ทงั้ สนามบินอบุ ลราชธานี เป็นสนามบินนานาชาติท่ีสามารถรองรับเครื่องบินขนาดใหญํท่ีเดินทางมา จากตํางประเทศ โดยมติ อ๎ งแวะพกั ทกี่ รุงเทพฯ 3) ข้อมลู ด้านสงั คมละความม่นั คง ขอ้ มลู การศกึ ษา หนวํ ยงานทร่ี ับผิดชอบในการจัดการศึกษาในจังหวัดศรีสะเกษ มีสถานศึกษา จานวน 1,698 แหํง มีนักเรียน นักศึกษา จานวน 307,898 คน มีครู คณาจารย์ จานวน 13,791 คน และน๎อยที่สุดคือ สานักงาน พระพุทธศาสนาแหํงชาติ จงั หวดั ศรีสะเกษ จานวน 1 แหงํ ตามลาดับ ตารางท่ี 17 อตั รากาลังในสงั กดั สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ท่ี สานกั งานเขตพืน้ ท่ี จานวน จานวน จานวน จานวนตาม สภาพอัตรากาลัง ครูไม่ครบชั้น การศกึ ษา โรงเรียน หอ้ งเรียน นักเรยี น 38,169 จ.18 (ขาด/เกนิ ) (โรงเรยี น) 23,362 1 ศรสี ะเกษ เขต 1 258 2,438 34,505 2,612 +84 26 39,478 2 ศรีสะเกษ เขต 2 184 1,631 48,193 1,759 +127 36 183,707 3 ศรีสะเกษ เขต 3 200 1,901 2,177 -31 78 4 ศรสี ะเกษ เขต 4 209 2,010 2,425 -6 209 5 มัธยมศึกษา เขต 28 56 1,296 2,356 -382 - รวม 907 9,276 11,329 -208 349 ทีม่ า : สานักงานศึกษาธิการจังหวัดศรีสะเกษ 2560 ตารางที่ 18 อัตรากาลังในสังกัดองค์กรปกครองสวํ นท๎องถิ่นจังหวัดศรสี ะเกษ องค์กรปกครองสว่ นท้องถ่ิน จานวน ศูนยพ์ ัฒนาเดก็ เล็ก 863 องค์การบริหารสํวนจงั หวดั ศรีสะเกษ 1,049 เทศบาล 133 รวม 2,045 ตารางท่ี 19 อตั รากาลงั ของศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั ปีการศึกษา 2559 ประเภทบุคลากร จานวน ผู๎บริหาร กศน. จงั หวัด/ศน.อาเภอ 22 ข๎าราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา 25 ครูอาสาสมคั ร กศน. 41 ครู กศน. ตาบล 215 ครู ศรช./ครู ปวช./ครูผูส๎ อนคนพกิ าร 60 พนักงานจา๎ งเหมาบรกิ ารเอกชนดาเนนิ งานสํวนราชการ 64 ข๎าราชการ/พนกั งาน/เจา๎ หนา๎ ท่ี กศน. จังหวัด 44 417 รวม แผนพัฒนาจังหวัด ปี พ.ศ. 2561-2565 (ฉบบั ทบทวน ปี พ.ศ.2563) | จังหวัดศรีสะเกษ