บทที่ 5 การปฏิบัติตามพระราชบัญญตั ิ การส่งเสรมิ การอนรุ ักษ์พลงั งาน สาหรบั โรงงานควบคุมและ อาคารควบคมุ คู่มอื การอนุรักษพ์ ลังงาน 5- V.2022
เครื่องมอื วดั ดา้ นพลงั บงทาทน่ี 2 เครอ่ื งมือวัดเป็นอุปกรณ์สาคัญในงานตรวจวัดด้านพลังงาน ซึ่งจะมีผลต่อความถูกต้องของการ วิเคราะห์ เคร่ืองมือที่นามาใช้ในงานตรวจวัดจะต้องมีท้ังความถูกต้อง(Accuracy) และความเท่ียงตรง (Precision) โดยเมอ่ื นาไปใช้งานในการวดั ขนาดหรือค่าทีต่ ้องการ ค่าที่แสดงออกมาเป็นตัวเลขบนเครื่องมือ วัดเหล่านี้ต้องมีความเช่ือถือได้ ในบทที่จะกล่าวถึงการใช้งานของเครื่องวัดที่สาคัญในด้านพลังงาน ดังต่อไปนี้ 5-2 กล่มุ วจิ ยั EnConLab มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยพี ระจอมเกล้าธนบุรี
บทที่ 5 การปฏิบัตติ าม พระราชบัญญัตกิ ารสง่ เสรมิ การอนุรกั ษพ์ ลังงาน สาหรบั โรงงานควบคมุ และอาคารควบคมุ ความต้องการใช้พลังงานภายในประเทศมีอย่างต่อเนื่องเพื่อตอบสนองการเจริญเติบโตทาง เศรษฐกิจและสังคมท่ีเพิ่มข้ึน ทาให้การจัดหาพลังงานทั้งภายในและภายนอกประเทศเป็นภาระระดับชาติ เพื่อให้การดาเนินการใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพ กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน (พพ.) ได้ยกร่างกฎหมายสง่ เสรมิ การอนุรกั ษพ์ ลังงาน เพื่อกากบั ดแู ล สง่ เสริมและชว่ ยเหลือการใช้พลังงาน ขึ้นมา จนได้มีการประกาศ พระราชบัญญัติการส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน พ.ศ.2535 ในราชกิจจา นุเบกษาเม่ือวันที่ 2 เมษายน 2535 ต่อมามีการแก้ไขเพ่ิมเติมบทบัญญัติบางประการเพ่ือให้สามารถกากับ และส่งเสริมการใช้พลังงานได้มีประสิทธิภาพมากขึ้นจึงได้มี พระราชบัญญัติการส่งเสริมการอนุรักษ์ พลังงาน พ.ศ. 2535 (แกไ้ ขเพมิ่ เตมิ พ.ศ.2550) ในราชกจิ จานเุ บกษาเม่ือวนั ท่ี 4 ธนั วาคม 2550 คมู่ อื การอนรุ ักษ์พลงั งาน 55--1 V.2022
โครงสรา้ งกฎหมายอนรุ กั ษพ์ ลงั งาน 5-2 กลุ่มวิจยั EnConLab มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
พระราชบัญญัติการส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน พ.ศ.2535 (แก้ไขเพ่ิมเติม พ.ศ.2550) มี วัตถุประสงค์ในการกากับ ดูแล ส่งเสริมและสนับสนุนให้โรงงานควบคุม และอาคารควบคุม ดาเนินการ อนรุ กั ษพ์ ลังงานในการผลิตที่ใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพ และส่งเสริมสนับสนุนให้มีการผลิตเครื่องจักร หรืออุปกรณ์ท่ีมีประสิทธิภาพสูง รวมทั้งส่งเสริมการใช้วัสดุหรืออุปกรณ์เพื่อการอนุรักษ์พลังงานข้ึนใน ประเทศและมีการใชอ้ ย่างแพรห่ ลาย 5.1 ขอบเขตการบังคบั ใช้พระราชบญั ญัติ กลุ่มเป้าหมายที่รัฐมุ่งเข้าไปกากับ ดูแล ส่งเสริมและสนับสนุน เพื่อให้เกิดการดาเนินการอนุรักษ์ พลงั งาน มี 3 กลมุ่ คือ กลมุ่ เปา้ หมาย 1. โรงงานควบคมุ 2. อาคารควบคมุ ผผู้ ลติ หรอื ผจู้ าหนา่ ยเครอ่ื งจกั รหรอื อปุ กรณ์ 3. ทม่ี ปี ระสทิ ธภิ าพสงู รวมถงึ วสั ดหุ รอื อปุ กรณ์ เพอื่ การอนรุ กั ษพ์ ลงั งาน ลักษณะโรงงานควบคุมหรืออาคารควบคุมตามท่ีพระราชกฤษฎีกากาหนดโรงงานควบคุม พ.ศ.2550 และพระราชกฤษฎกี ากาหนดอาคารควบคมุ พ.ศ.2538 ดังน้ี โรงงานควบคุมหรืออาคารควบคุม หมายถึงโรงงานหรืออาคารท่ีมีหน้าท่ีดาเนินการอนุรักษ์ พลังงานตามพระราชบัญญัติการส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน พ.ศ.2535 (แก้ไขเพิ่มเติม พ.ศ.2550) ซึ่ง โรงงานหรอื อาคารทีเ่ ขา้ ขา่ ยจะต้องมลี กั ษณะการใชพ้ ลังงานอย่างใดอย่างหนึ่งดังต่อไปนี้ 1. โรงงานหรืออาคารที่ได้รับอนุมัติจากผู้จาหน่ายพลังงานให้ใช้เคร่ืองวัดไฟฟ้าหรือให้ติดต้ังหม้อ แปลงไฟฟ้าชดุ เดียวหรอื หลายชดุ รวมกนั มีขนาดตัง้ แต่ 1,000 กิโลวัตต์ หรือ 1,175 กิโลโวลท์แอมแปร์ขึ้นไป หรอื 2. โรงงานหรืออาคารที่ใช้ไฟฟ้าจากระบบของผู้จาหน่ายพลังงาน ความร้อนจากไอน้า จากผู้ จาหน่ายพลังงาน หรือพลังงานสิ้นเปลืองอื่นจากผู้จาหน่ายพลังงานหรือของตนเอง อย่างใดอย่างหน่ึง รวมกันต้ังแต่วันที่ 1 มกราคมถึงวันที่ 31 ธันวาคมของปีท่ีผ่านมามีปริมาณพลังงานทั้งหมดเทียบเท่า พลงั งานไฟฟ้าตัง้ แต่ 20 ลา้ นเมกะจลู ข้ึนไป กลุ่มผู้ผลิตหรือผู้จาหน่ายเครื่องจักรหรืออุปกรณ์ท่ีมีประสิทธิภาพสูง รวมถึงการวัสดุหรือ อุปกรณเ์ พ่อื การอนรุ ักษ์พลงั งาน จะได้รบั สทิ ธอิ ดุ หนนุ ชว่ ยเหลือทางการเงินเพื่อให้มีการผลิตหรือจาหน่ายท่ี มรี าคาเหมาะสมและไดอ้ ยา่ งแพรห่ ลาย ทาให้ประชาชนท่วั ไปสามารถลดการใชพ้ ลงั งานลงได้ คมู่ อื การอนุรักษ์พลงั งาน 5-3 V.2022
4.2 การปฏิบัตติ ามกฎหมายของโรงงานควบคุมและอาคารควบคุม ท้ังน้ีเพ่ือประโยชน์ในการอนุรักษ์พลังงานได้มีการออกกฎกระทรวงให้โรงงานควบคุม และอาคาร ควบคมุ ดาเนินในเรือ่ งดังต่อไปน้ี กาหนดมาตรฐาน หลักเกณฑ์ และวิธีการจัดการพลังงานให้เจ้าของโรงงานควบคุม หรืออาคาร ควบคมุ ต้องปฏิบัติ กาหนดให้เจ้าของโรงงานควบคุม หรืออาคารควบคุมต้องจัดให้มีผู้รับผิดชอบด้านพลังงานประจา ในโรงงานควบคุม หรืออาคารควบคุมแต่ละแห่ง ตลอดจนกาหนดคุณสมบัติและหน้าท่ีของ ผรู้ บั ผิดชอบด้านพลงั งาน ในกรณีที่เจ้าของโรงงานควบคุมหรือเจ้าของอาคารควบคุมแห่งใดใช้พลังงานต่ากว่าขนาด หรือ ปริมาณที่กาหนดในพระราชกฤษฎีกากาหนดโรงงานควบคุม พ.ศ.2540 หรือพระราชกฤษฎีกากาหนด อาคารควบคมุ พ.ศ.2538 และใช้พลังงานระดับดังกล่าวต่อไปติดต่อกันเป็นเวลาไม่น้อยกว่า 6 เดือน เจ้าของ โรงงานควบคุมหรือเจ้าของอาคารควบคุมแห่งน้ัน สามารถแจ้งคาขอให้อธิบดีกรมพัฒนาพลังงานทดแทน และอนรุ กั ษพ์ ลงั งานผ่อนผันการทจ่ี ะปฏิบัตติ ามพระราชบัญญัติน้ีได้ คาขอดังกล่าวอธิบดีจะมีหนังสือแจ้งผล ให้ทราบว่าสามารถผ่อนผันหรือไม่ผ่อนผันได้แล้วแต่ละกรณีให้รับทราบ หากการแจ้งคาขอดังกล่าวเป็นเท็จ เจ้าของโรงงานควบคุมหรืออาคารควบคุมต้องระวางโทษจาคุกไม่เกิน 3 เดือน หรือปรับไปไม่เกิน 150,000 บาท หรือทัง้ จาทั้งปรับ ขน้ั ตอนการดาเนนิ การตาม พ.ร.บ. การสง่ เสรมิ การอนุรกั ษพ์ ลงั งาน พ.ศ. 2535 (แกไ้ ขเพมิ่ เตมิ พ.ศ.2550) 5-4 กล่มุ วิจยั EnConLab มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ ธนบุรี
โรงงานควบคุมหรืออาคารควบคุม ได้มกี ารแบง่ ขนาดออกเป็น 2 กลมุ่ กลมุ่ ท่ี 1 กลุม่ ที่ 2 โรงงานควบคุมหรอื อาคารควบคุมท่ีได้รบั อนุมัติ โรงงานควบคมุ หรอื อาคารควบคมุ ที่ได้รับอนุมตั ิ จากผู้จาหนา่ ยพลงั งานให้ใช้เครื่องวดั ไฟฟ้าหรือ จากผู้จาหนา่ ยพลงั งานให้ใช้เครื่องวัดไฟฟ้าหรือ ใ ห้ ติ ด ตั้ ง ห ม้ อ แ ป ล ง ชุ ด เ ดี ย ว ห รื อ ห ล า ย ชุ ด ใ ห้ ติ ด ต้ั ง ห ม้ อ แ ป ล ง ชุ ด เ ดี ย ว ห รื อ ห ล า ย ชุ ด รวมกันมขี นาดต่ากวา่ 3,000 กิโลวตั ต์ หรือ รวมกันมขี นาดตง้ั แต่ 3,000 กโิ ลวตั ต์ หรือ 3,530 กโิ ลโวลท์แอมแปร์ หรือมีการใชพ้ ลังงาน 3,530 กโิ ลโวลทแ์ อมแปรข์ นึ้ ไป หรอื มกี ารใชพ้ ลงั งาน ไฟฟ้า พลังงานความร้อนจากไอน้า หรือ ไฟฟ้า พลังงานความร้อนจากไอน้า หรือ พลังงานสิ้นเปลืองอื่นจากผู้จาหน่ายพลังงาน พลังงานสิ้นเปลืองอื่นจากผู้จาหน่ายพลังงาน หรอื ของตนเอง อย่างใดอย่างหน่ึง หรอื รวมกนั หรอื ของตนเอง อย่างใดอย่างหนง่ึ หรือรวมกัน ต้งั แต่วนั ท่ี 1 มกราคมถึงวันท่ี 31 ธันวาคมของ ตงั้ แตว่ นั ที่ 1 มกราคมถึงวันท3่ี 1 ธันวาคมของ ปีที่ผา่ นมา มปี ริมาณพลังงานทงั้ หมดเทียบเท่า ปที ผี่ า่ นมา มีปรมิ าณพลังงานทั้งหมดเทยี บเท่า พลงั งานไฟฟ้าตา่ กวา่ 60 ลา้ นเมกะจูล พลังงานไฟฟ้าตั้งแต่ 60 ลา้ นเมกะจลู การแต่งตัง้ ผู้รับผิดชอบด้านพลังงาน การจัดให้มีผู้รับผิดชอบด้านพลังงานประจาโรงงานควบคุมหรืออาคารควบคุมแต่ละแห่ง เพื่อให้มี บุคลากรที่มีความรู้เฉพาะทางในการช่วยเหลือด้านการอนุรักษ์พลังงานให้แก่เจ้าของโรงงานควบคุมหรือ อาคารควบคมุ โดยท่ีผรู้ บั ผดิ ชอบด้านพลังงานมีคุณสมบัติอย่างใดอย่างหนึ่งดังต่อไปนี้ 1. เปน็ ผไู้ ดร้ บั ประกาศนยี บตั รวชิ าชพี ชน้ั สงู และมปี ระสบการณท์ างานในโรงงานหรอื อาคารอยา่ งนอ้ ย 3 ปี โดยมผี ลงานดา้ นการอนรุ กั ษพ์ ลงั งานตามการรบั รองของเจา้ ของโรงงานควบคมุ หรอื อาคารควบคมุ 2. เป็นผู้ได้รับปริญญาทางวิศวกรรมศาสตร์หรือทางวิทยาศาสตร์ โดยมีผลงานด้านการอนุรักษ์ พลังงานตามการรบั รองของเจา้ ของโรงงานควบคมุ หรอื อาคารควบคมุ 3. เป็นผู้สาเร็จการฝึกอบรมด้านการอนุรักษ์พลังงาน หรือการฝึกอบรมท่ีมีวัตถุประสงค์ คล้ายคลึงกนั ทอ่ี ธิบดีกรมพัฒนาพลงั งานทดแทนและอนรุ กั ษพ์ ลงั งานให้ความเหน็ ชอบ 4. เป็นผู้สาเรจ็ การฝึกอบรมหลกั สูตรผรู้ บั ผิดชอบด้านพลังงานอาวโุ สทอี่ ธิบดีกรมพัฒนาพลังงาน ทดแทนและอนุรักษพ์ ลงั งานให้ความเห็นชอบ 5. เป็นผู้ท่ีสอบได้ตามเกณฑ์ท่ีกาหนดจากการจัดสอบผู้รับผิดชอบด้านพลังงาน ซ่ึงจัดโดยกรม พฒั นาพลังงานทดแทนและอนุรักษพ์ ลังงาน คูม่ ือการอนรุ กั ษ์พลงั งาน 5-5 V.2022
จานวนผ้รู บั ผดิ ชอบดา้ นพลังงาน ของโรงงานควบคมุ และอาคารควบคมุ จะแบง่ ตามกลุม่ กล่มุ ท่ี 1 กลุม่ ที่ 2 ต้องจดั ใหม้ ีผรู้ ับผิดชอบดา้ นพลังงาน ต้องจัดใหม้ ีผรู้ ับผดิ ชอบด้านพลงั งาน อยา่ งนอ้ ย 1 คน ไมน่ อ้ ยกว่า 2 คน โดยอย่างนอ้ ย 1 คน ตอ้ งมคี ณุ สมบตั ผิ รู้ บั ชอบพลงั งานด้านอาวโุ ส กฎกระทรวงเกยี่ วกับผรู้ บั ผดิ ชอบดา้ นพลงั งาน คมู่ ือแตง่ ตงั้ ผรู้ บั ผดิ ชอบด้านพลงั งาน กรณีที่ผู้รับผิดชอบด้านพลังงานพ้นจากหน้าท่ี เจ้าของโรงงานควบคุมหรือเจ้าของอาคารควบคุม จะตอ้ งแจ้งให้อธิบดีรับทราบ และจัดให้มีผรู้ บั ผิดชอบดา้ นพลังงานแทนภายใน 90 วัน การจัดการพลงั งาน เนื่องจากโรงงานควบคุมและอาคารควบคุมมีการใช้ กฎกระทรวง กาหนดมาตรฐาน หลกั เกณฑ์ พลงั งานคอ่ นข้างสูงอย่างต่อเนือ่ ง ทางกรมพัฒนาพลงั งาน และวธิ กี ารจดั การพลงั งานในโรงงานควบคมุ ทดแทนและอนรุ ักษพ์ ลังงาน (พพ.) กระทรวงพลงั งานจึงมี นโยบายให้ดาเนินการจัดการพลังงานข้ึนภายในองค์กร และอาคารควบคมุ พ.ศ.2552 เพ่ือให้ใช้พลังงานอย่างมีประสทิ ธภิ าพอยา่ งเป็นรปู ธรรม ตาม กฎกระทรวงกาหนดมาตรฐาน หลักเกณฑ์ และวิธีการจัด การพลังงานในโรงงานควบคุมและอาคารควบคุม พ.ศ. 2552 ทาให้มีวิธีการจัดการพลังงานอย่างเป็นข้ันตอน รวมถงึ มกี าร วางแผนดาเนินการท่ีดีให้เหมาะสมกับองค์กร โดยแบ่ง วิธดี าเนินการเป็น 8 ขั้นตอน ดงั น้ี 5-6 กลุม่ วจิ ัย EnConLab มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ ธนบุรี
คู่มือการอนรุ กั ษพ์ ลังงาน 5-7 V.2022
ข้ันตอนที่ 1 เจ้าของโรงงานควบคุมและเจ้าของอาคารควบคุมต้องจัดให้มีคณะทางานด้านการจัดการพลังงา น ขึ้นเพ่ือดาเนินการให้เป็นไปตามนโยบายอนุรักษ์พลังงานขององค์กรที่กาหนดข้ึน และข้ึนตรงกับเจ้าของ โรงงานควบคมุ หรือเจ้าของอาคารควบคมุ จงึ ตอ้ งมีคาสงั่ ประกาศแต่งต้ังคณะทางานโดยมกี ารลงลายมือช่อื ของเจ้าของโรงงานควบคุมและเจ้าของอาคารควบคุม หรอื ผบู้ ริหารระดับสูง ให้พนักงานในองคก์ รรบั ทราบ อยา่ งท่ัวถงึ เพ่ือให้เกดิ ความร่วมมือในการดาเนนิ กจิ กรรมดา้ นการจัดการพลังงาน และการประกาศแต่งตง้ั คณะทางานจะตอ้ งมีการกาหนดอานาจหนา้ ทีโ่ ดยมีเนอ้ื หาสาระตามกฎกระทรวงฯ ในขอ้ 5 การวางโครงสรา้ งคณะทางานควรเรม่ิ จากประเมินวัฒนธรรมองคก์ ร เช่น องค์กรทางานเป็น Team โครงสรา้ งจะมาจากตัวแทนหนว่ ยงานต่างๆ ในองค์กร เพือ่ กาหนดทศิ ทางและผลกั ดนั การอนรุ ักษพ์ ลังงาน เปน็ ต้น 5-8 กลุม่ วจิ ัย EnConLab มหาวิทยาลัยเทคโนโลยพี ระจอมเกล้าธนบุรี
ขัน้ ตอนที่ 2 การประเมินสถานภาพการจัดการพลังงานเบื้องต้น เพ่ือให้ทราบจุดอ่อนหรือจุดแข็งในการจัด การพลงั งานขององค์กรในปัจจุบัน คณะทางานสามารถใชต้ ารางประเมินการจดั การพลงั งาน (Energy Management Matrix : EMM) โดยพิจารณา 6 องค์ประกอบ คอื นโยบาย การจดั องคก์ ร การกระตนุ้ และสรา้ งแรงจูงใจ ระบบข่าวสารขอ้ มูล การประชาสมั พนั ธ์ และการลงทุน โดยมีคะแนนระหว่าง 0-4 คะแนน เม่อื ทราบสถานภาพการจดั การพลังงานท่ีแทจ้ รงิ จะทาให้สามารถกาหนดทิศทางของนโยบายอนรุ กั ษ์ พลังงานของปัจจบุ ันไดอ้ ยา่ งชัดเจน ควรเริ่มประเมนิ จากหน่วยงานย่อยตามโครงสรา้ งของโรงงานควบคมุ หรืออาคารควบคมุ กอ่ น แล้วนาผลมาประเมนิ ในภาพรวมอกี คร้งั นอกจากการประเมิน EMM เพื่อดาเนินการจัดการพลังงานในองค์กรในครง้ั แรกแล้ว ยังควร ดาเนนิ การประเมิน EMM เมือ่ มผี ลการทบทวนวเิ คราะห์ และแก้ไขขอ้ บกพรอ่ งของการจดั การพลังงานใน ขน้ั ตอนที่ 8 มีผลต้องปรับปรุงวธิ ีการจดั การพลงั งาน ข้นั ตอนที่ 3 นโยบายอนรุ กั ษ์พลังงาน ต้องจัดทาเนื้อหาทช่ี ัดเจนในการแสดงเจตจานงในการจัดการพลังงานและ สรา้ งจติ สานกึ ดา้ นการอนรุ ักษ์พลงั งานไปตามข้อกาหนดตามกฎกระทรวงฯ ข้อ 4 และมกี ารลงนามด้วย ลายลกั ษณ์อกั ษรโดยเจ้าของโรงงานควบคมุ และเจา้ ของอาคารควบคมุ หรอื ผู้บริหารระดับสูง และมกี าร เผยแพรป่ ระชาสัมพันธ์ใหพ้ นักงานในองคก์ รรับทราบและปฏิบตั ิตามนโยบาย คูม่ อื การอนุรกั ษพ์ ลังงาน 5-9 V.2022
ขนั้ ตอนที่ 4 การประเมินศักยภาพการอนุรักษ์พลังงาน เพ่ือวางแผนและกาหนดเป้าหมายด้านการอนุรักษ์ พลงั งาน มีการประเมิน 3 ระดบั ระดบั องค์กร เปน็ การประเมนิ การใชพ้ ลังงานท้ังองค์กร โดยพิจารณาจากบิลคา่ ไฟฟ้า ปรมิ าณการใช้ เชอ้ื เพลิง และมกี ารเปรยี บเทยี บกบั การใช้พลังงานในอดตี ระดับผลติ ภณั ฑห์ รอื การบริการ เพือ่ สะทอ้ นต้นทุนพลังงานในการผลติ สินคา้ หรือบรกิ าร โดยวิธี วิเคราะห์ดัชนกี ารใช้พลงั งานจาเพาะ (Specific Energy Consumption : SEC) ระดบั เครื่องจกั ร/อุปกรณ์หลกั ท่ีมนี ัยสาคญั เปน็ การประเมินประสิทธิภาพ คน้ หาศักยภาพการอนุรักษ์ พลงั งาน ขน้ั ตอนที่ 5 การกาหนดเป้าหมายและแผนอนรุ กั ษพ์ ลังงาน แผนการฝกึ อบรมและกจิ กรรมส่งเสริมการอนรุ ักษ์ พลังงาน เม่ือได้ประเมินศักยภาพพลังงานการอนุรกั ษพ์ ลังงานแล้ว จะทราบสาเหตกุ ารสูญเสียพลงั งาน จากการใช้พลังงานแล้วนามาวางแผนกาหนดเป้าหมายและแผนอนุรักษ์พลังงาน แนวทางในการกาหนด เป้าหมายอนุรักษ์พลังงานอาจจะกาหนดโดยผู้บริหาร เพื่อกาหนดทิศทางและจุดหมายให้องค์กรใ ช้ ความสามารถอย่างเต็มท่ีในการบรรลุเป้าหมาย หรือกาหนดเป้าหมายโดยใช้ค่าใช้พลังงานท่ีต่าที่สุดท่ี องค์กรทาได้เปน็ มาตรฐาน โดยเฉล่ยี จะตั้งเป้าหมายการอนุรกั ษพ์ ลงั งานรอ้ ยละ 5-10 ของการใชพ้ ลังงานปี กอ่ น การกาหนดมาตรการอนรุ กั ษพ์ ลงั งานมี 3 วธิ ี การใช้ระบบปัจจุบันให้มีประโยชน์สูงสุด (House Keeping) เช่น การจัดโหลดการทางานให้ได้ ประสิทธภิ าพสูงสดุ การบารงุ รักษาเครือ่ งจักร/อุปกรณ์ เป็นต้น การปรบั ปรงุ สงิ่ ท่ีมอี ยู่ (Minor Changes) เชน่ การปรบั ปรงุ ประสิทธภิ าพกระบวนการผลิต เปน็ ต้น การเปลี่ยนแปลงส่ิงท่มี อี ยู่ (Major Replacements) เชน่ การใช้เทคโนโลยใี นการผลติ หรือบรกิ ารที่มี ประสทิ ธภิ าพมากกว่าปัจจุบัน นอกจากมาตรการอนรุ ักษ์พลงั งานตอ้ งสร้างความรู้ความเขา้ ใจในการลดความสญู เสยี การใช้ พลงั งานดงั กลา่ วรวมถงึ การสรา้ งจิตสานึกให้กบั พนกั งานในองค์กรควบคู่ไปด้วย 5-10 กลมุ่ วจิ ยั EnConLab มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีพระจอมเกลา้ ธนบุรี
ขั้นตอนที่ 6 การดาเนินการตามแผนอนุรกั ษพ์ ลงั งาน การตรวจสอบและวเิ คราะหก์ ารปฏิบัตติ ามเป้าหมายและ แผนอนุรกั ษพ์ ลังงาน คณะทางานมีหนา้ ท่ใี นดแู ลควบคมุ และตดิ ตามการดาเนินการอนรุ กั ษพ์ ลงั งานตาม แผนท่ีได้ตั้งไว้ พร้อมทั้งหาสาเหตุการดาเนินการท่ีไม่ประสบผลสาเร็จตามแผน และหาแนวทางแก้ไข ปรับปรงุ ตอ่ ไปในอนาคตเพ่ือเสนอรายงานต่อเจ้าของโรงงานควบคมุ และอาคารควบคุม หรือผู้บริหารสูงสดุ โดยควรทาเป็นประจาอย่างน้อย 3 เดือนตอ่ ครง้ั ผลสรุปการติดตามการดาเนินการมาตรการอนุรักษ์พลังงาน ควรมีรายช่ือมาตรการอนุรักษ์ พลังงาน สถานภาพการดาเนนิ งาน และปัญหาอุปสรรคในการดาเนินงาน และควรมผี ลการตรวจสอบและ วเิ คราะหก์ ารปฏิบตั ิตามมาตรการอนุรักษพ์ ลงั งานท่มี รี ายละเอียดเร่ืองเงินลงทนุ ผลการอนรุ กั ษ์พลงั งาน ผลสรปุ การตรวจตดิ ตามการดาเนนิ การของการฝึกอบรมและกจิ กรรมส่งเสริมการอนุรกั ษ์ พลงั งาน มีรายละเอียดหลักสูตรการฝึกอบรมหรอื กิจกรรม สถานภาพการดาเนนิ การ ปัญหาและอปุ สรรค ในการดาเนินการ และจานวนผู้เข้าร่วมอบรมและกิจกรรมแตล่ ะหลักสูตร ขัน้ ตอนที่ 7 การตรวจติดตามและประเมินการจัดการพลังงาน จะต้องมีการจัดคณะผู้ตรวจประเมินการจั ด การพลงั งานภายในองค์กรเพ่ือติดตามและตรวจสอบวธิ ีการจัดการพลังงานท่ีจดั ทา และมีประกาศแต่งตั้ง พร้อมมีการลงนามด้วยลายลักษณ์อักษรโดยเจ้าของโรงงานควบคุมและเจ้าของอาคารควบคุม หรือผบู้ รหิ ารระดบั สูง และเผยแพรป่ ระชาสมั พันธ์ใหพ้ นกั งานในองคก์ รรับทราบ คณะผตู้ รวจประเมินฯ ต้องมีความเปน็ กลางและมอี สิ ระตอ่ กจิ กรรมที่จะทาการประเมิน ตอ้ งมี สมาชิกอยา่ งน้อย 2 คน พร้อมทงั้ กาหนดวาระการทางานตามความเหมาะสม ผู้ตรวจประเมนิ จะตอ้ งเป็นผ้ทู ่ี มีความเข้าใจในระบบการจัดการพลังงาน การพิจารณาการประเมินน้ันจะต้องมีการตรวจสอบกา ร ดาเนินการโดยรวบรวมเอกสารหลกั ฐานท่ีเกี่ยวขอ้ งหรือการสอบถามพนกั งานในองค์กร เพื่อจดั ทารายงาน การตรวจติดตามระบบการจัดการพลงั านในแต่ละขั้นตอน และควรจดั ทารายงานอย่างนอ้ ยปีละ 1 ครัง้ ใน การทาสรุปผลตรวจตดิ ตามควรมีลงลายมือชอ่ื รบั รองโดยประธานคณะผตู้ รวจประเมนิ ฯ คมู่ อื การอนุรักษพ์ ลังงาน 5-11 V.2022
ขน้ั ตอนท่ี 8 การทบทวน วิเคราะห์ และแกไ้ ขขอ้ บกพรอ่ งของการจัดการพลงั งาน ภายหลังจากการตรวจสอบ และประเมินการจัดการพลังงานจากคณะผู้ตรวจประเมนิ ฯ ภายในองคก์ รแล้ว ควรมกี ารพิจารณผลการ ตรวจประเมินเพอื่ ทาการทบทวน วิเคราะห์และแกไ้ ขขอ้ บพรอ่ ง เพ่ือหาแนวทางในการพัฒนาวิธีการจดั การพลงั งานอยา่ งตอ่ เนื่อง ในการประชมุ ทบทวนควรจดั ข้ึนเปน็ ประจาอยา่ งน้อยปีละ 1 ครงั้ ผเู้ ข้าร่วมประชมุ ควรมีผู้บริหารระดบั สงู ประธานและคณะทางานด้านการจดั การพลังงาน และตัวแทนจากหนว่ ยงานต่างๆ ใน องคก์ าร จากน้ันทาการสรปุ ผลแต่ละขั้นตอนของระบบการจัดการพลงั งานและรายงานใหเ้ จา้ ของโรงงาน ควบคมุ และอาคารควบคุมรับทราบ และเผยแพรผ่ ลการประชุมให้พนกั งานองคก์ รรับทราบอยา่ งทว่ั ถึง หลงั จากทโ่ี รงงานดาเนนิ ระบบการจดั การพลงั งานในแตล่ ะปแี ลว้ จะตอ้ งสง่ รายงานการจดั การพลงั งาน และมผี ลการตรวจสอบและรบั รองการจดั การพลงั งานตามกฎหมายจากผตู้ รวจสอบภายนอกทไ่ี ดร้ บั อนญุ าต ตรวจสอบและรับรองการจัดการพลังงานโดยใช้เกณฑ์ที่ใช้ในการตรวจสอบจากประกาศกระทรวง เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการดาเนินการจัดการพลังงานในโรงงานควบคุมและอาคารควบคุม พ.ศ.2552 ผู้ตรวจสอบพิจารณาความสอดคล้องในการดาเนินการจัดการพลังงานของโรงงานควบคุมหรื อ อาคารควบคุมกับข้อกาหนดของวิธีการจัดการพลังงานโดยต้องมีหลักฐานและเอกสาร การสัมภาษณ์ บุคลากรทเ่ี กี่ยวข้อง การตัดสนิ ความไม่สอดคล้องมี 2 ประเภท คอื ในกฎกระทรวง ประเภทรา้ ยแรง การไมม่ เี อกสารในการดาเนนิ การจดั การพลงั งาน หรอื ไมม่ หี ลกั ฐานการปฏบิ ตั งิ านจรงิ ตามขอ้ ใดขอ้ หนง่ึ ของวิธีการจดั การพลังงานตามทกี่ าหนดไว้ 5-12 กลมุ่ วิจยั EnConLab มหาวิทยาลยั เทคโนโลยพี ระจอมเกล้าธนบุรี
รายละเอยี ดความไม่สอดคลอ้ ง ขน้ั ตอนท่ี •การไมม่ ีคาสั่งแตง่ ต้งั คณะทางานดา้ นการจดั การพลังงานเป็นเอกสาร ขน้ั ตอนที่ 1 (ก.1) •การไมก่ าหนดอานาจหน้าท่ี และความรบั ผิดชอบของคณะทางานดา้ นการจดั การพลังงาน ข้ันตอนท่ี 1 ตามท่กี าหนดไวใ้ นกฎกระทรวง ขน้ั ตอนท่ี 2 •การไม่ประเมินสถานภาพการจดั การพลงั งานเบือ้ งตน้ ทงั้ ในหน่วยงานย่อยตามโครงสร้าง ขั้นตอนท่ี 3 ขั้นตอนที่ 3 (ก.2) และภาพรวมของโรงงานควบคุมหรืออาคารควบคุมในกรณีที่มีการนาวิธีการจัดการพลังงานมาใช้ ขั้นตอนท่ี 4 เปน็ ครง้ั แรก •การไมม่ ีนโยบายอนุรักษพ์ ลังงานเป็นเอกสาร ขั้นตอนท่ี 5 ขั้นตอนที่ 5 (ก.3) •การไม่กาหนดนโยบายอนรุ กั ษพ์ ลงั งานให้มสี าระสาคญั ตามทก่ี าหนดไว้ในกฎกระทรวง ขั้นตอนที่ 6 •การไม่ประเมินศักยภาพการอนุรักษ์พลังงานตามหลักเกณฑ์และวิธีการในข้อใดเลยท่ี ขั้นตอนที่ 6 กาหนดไวใ้ นประกาศน้ี ขั้นตอนที่ 7 •การไม่กาหนดเปา้ หมายและแผนอนุรักษ์พลังงานตามหลักเกณฑ์และวิธีการท่ีกาหนดใน (ก.4) ประกาศน้ี •การไม่กาหนดแผนการฝึกอบรมและกิจกรรมเพอื่ ส่งเสริมการอนรุ ักษ์พลงั งาน •การไม่ดาเนินการตรวจสอบและวิเคราะห์การปฏิบัติตามเป้าหมายและแผนอนุรักษ์ (ก.5) พลงั งานตามหลกั เกณฑ์และวิธกี ารทก่ี าหนดในประกาศนี้ •การไมต่ ดิ ตามผลการดาเนินการของการฝึกอบรมและกิจกรรมเพื่อส่งเสริมการอนุรักษ์ พลังงาน •การไมม่ ีคาสงั่ แตง่ ต้ังคณะผู้ตรวจประเมนิ การจัดการพลังงานภายในองคก์ รเปน็ เอกสาร •การไมต่ รวจประเมนิ การจดั การพลังงานตามหลกั เกณฑแ์ ละวิธีการท่กี าหนดในประกาศน้ี ขน้ั ตอนท่ี 7 •การไม่ทบทวน วิเคราะห์ และแก้ไขข้อบกพร่องของการจัดการพลังงานตามหลักเกณฑ์ ขน้ั ตอนที่ 8 (ก.6) และวธิ กี ารที่กาหนดในประกาศน้ี •การไม่นาผลการตรวจติดตามและประเมินการจัดการพลังงานนาเสนอคณะทางานด้าน ขั้นตอนท่ี 8 การจัดการพลงั งานเพือ่ ทบทวนวเิ คราะห์ และแกไ้ ขขอ้ บกพรอ่ งของการจัดการพลงั งานในรอบปี •การไมม่ ีผลการทบทวน วเิ คราะห์ และแก้ไขขอ้ บกพร่องของการจดั การพลงั งาน ขน้ั ตอนที่ 8 •การไม่เผยแพร่คาส่งั แตง่ ตงั้ คณะทางานด้านการจัดการพลังงาน ขั้นตอนที่ 1 •การไม่เผยแพรค่ าสง่ั แตง่ ตั้งคณะผ้ตู รวจประเมนิ การจดั การพลังงานภายในองคก์ ร ขน้ั ตอนที่ 7 (ก.7) ขั้นตอนที่ 3 •การไมเ่ ผยแพรใ่ นเรือ่ งของนโยบายอนุรกั ษ์พลังงาน •การไม่เผยแพร่แผนการฝึกอบรมและกิจกรรมเพื่อส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงานด้วย ขนั้ ตอนท่ี 5 วิธีการใดๆ ให้บุคลากรในโรงงานควบคมุ หรืออาคารควบคุมทราบอย่างทว่ั ถงึ ค่มู ือการอนุรกั ษพ์ ลังงาน 5-13 V.2022
ประเภทไมร่ า้ ยแรง ความไมส่ อดคล้องของเอกสารขณะท่ปี ฏิบัตจิ ริง ความไมส่ อดคล้องหรือความคลาดเคลอ่ื นในเชงิ ปฏิบัตแิ ละการปฏบิ ตั ิจรงิ ท่โี รงงานควบคมุ และอาคารควบคุม รายละเอยี ดความไม่สอดคลอ้ ง ขน้ั ตอนท่ี •การมคี าสง่ั แต่งตั้งคณะทางานด้านการจดั การพลังงานเป็นเอกสารแต่ยังไม่ได้ลงลายมือ ขั้นตอนท่ี 1 ชอื่ โดยเจา้ ของโรงงานควบคมุ หรือเจา้ ของอาคารควบคุม ขน้ั ตอนท่ี 7 (ข.1) •การมคี าส่ังแตง่ ตงั้ คณะผู้ตรวจประเมนิ การจัดการพลงั งานภายในองคก์ ร เปน็ เอกสารแต่ ยังไมไ่ ดล้ งลายมอื ชอ่ื โดยเจ้าของโรงงานควบคุมหรือเจา้ ของอาคารควบคุม ขั้นตอนท่ี 3 •การมีนโยบายอนุรักษ์พลังงานเป็นเอกสารแต่ยังไม่ได้ลงลายมือชื่อโดยเจ้าของโรงงาน ขน้ั ตอนท่ี 1 ควบคมุ หรือเจ้าของอาคารควบคมุ ขน้ั ตอนท่ี 2 •การกาหนดอานาจหน้าที่และความรับผิดชอบของคณะทางานด้านการจัดการพลังงาน สอดคล้องกบั สาระสาคญั บางข้อตามทีก่ าหนดไว้ในกฎกระทรวง ขั้นตอนท่ี 3 ขั้นตอนที่ 4 •การประเมินสถานภาพการจัดการพลังงานเบ้ืองต้นไม่ครบทุกหน่วยงานย่อยตาม ข้นั ตอนท่ี 7 ขน้ั ตอนที่ 8 โครงสร้างของโรงงานควบคุมหรืออาคารควบคุมหรือการประเมินสถานภาพการจัดการพลังงาน ขัน้ ตอนที่ 4 เบอ้ื งต้นไมค่ รบทกุ องคป์ ระกอบตามท่ีกาหนด ขน้ั ตอนที่ 5 (ข.2) •ก า ร ก า ห น ด น โ ย บ า ย อ นุ รั ก ษ์ ส อ ด ค ล้ อ ง กั บ ส า ร ะ ส า คั ญ บ า ง ข้ อ ต า ม ท่ี ก า ห น ด ใ น ข้ันตอนท่ี 6 กฎกระทรวง ขน้ั ตอนที่ 6 ขน้ั ตอนที่ 1 •มีการประเมินศักยภาพการอนุรักษ์พลังงาน การตรวจประเมินการจัดการพลังงาน และ ขัน้ ตอนที่ 3 การทบทวน วิเคราะห์และแก้ไขข้อบกพร่องของการจัดการพลังงานในบางข้อหรือไม่ครบทุก ขั้นตอนท่ี 5 องค์ประกอบตามหลกั เกณฑ์และวิธกี ารท่กี าหนดในประกาศนี้ ขั้นตอนที่ 7 •ผลการตรวจวัดและวิเคราะห์ข้อมูลท่ีได้จากการประเมินศักยภาพการอนุรักษ์พลังงาน รวมถึงผลการตรวจสอบและวเิ คราะห์ข้อมูลทใี่ ชใ้ นการกาหนดมาตรการอนุรักษ์พลังงานด้านไฟฟ้า และด้านความร้อนและผลการตรวจสอบและวิเคราะห์ข้อมูลการปฏิบัติตามเป้าหมายและแผน (ข.3) อนุรักษพ์ ลงั งานในแต่ละมาตรการไมถ่ ูกต้องตามหลักวิศวกรรม •ผลการติดตามการจัดฝึกอบรมและกิจกรรมเพื่อส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงานไม่เป็นไป ตามแผนที่กาหนดไว้ •มีการเผยแพร่คาสง่ั แต่งตั้งคณะทางานดา้ นการจดั การพลงั งานคาสั่งแตง่ ต้งั คณะผ้ตู รวจ (ข.4) ประเมินการจดั การพลังงานภายในองคก์ ร นโยบายอนรุ ักษ์พลงั งาน แผนการฝึกอบรมและกิจกรรม เพือ่ สง่ เสรมิ การอนรุ กั ษพ์ ลงั งานดว้ ยวธิ กี ารใดวธิ กี ารหนง่ึ แลว้ แตบ่ ุคลากรของโรงงานควบคุมหรือ อาคารควบคุมได้รับทราบไมท่ ว่ั ถึง เป็นต้น 5-14 กลุ่มวิจัย EnConLab มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีพระจอมเกลา้ ธนบุรี
คู่มือการอนรุ กั ษ์พลังงาน 5-15 V.2022
Search
Read the Text Version
- 1 - 17
Pages: