Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore บทที่ 7

บทที่ 7

Published by 6032040026, 2018-08-27 00:01:35

Description: บทที่ 7

Search

Read the Text Version

แบบฝกึ หดั เครอื ขา่ ย LAN ไร้สาย1.เครอื ขา่ ยแลนไรส้ าย มขี ้อแตกต่างจากเครอื ขา่ ยแลนแบบมสี ายอยา่ งไร จงอธบิ าย IEEE ได้นิยามข้อกาหนดเพื่อนามาใช้กับเครือข่ายแลนไร้สาย ๖ (Wireless LAN: WLAN) ซ่ึงมาตรฐานดังกล่าวเรียกว่า IEEE 802.11 ท่ีครอบคลุมชั้นสื่อสารฟิสิคัลและดาต้าลิงก์บนแบบจาลอง OSI โดยเครือข่ายแลนไร้สายจัดเป็นเทคโนโลยีท่ีได้รับความสนใจมากในขณะน้ี เนื่องจากสามารถส่ือสารได้โดยไม่ต้องใช้สายเคเบิลเพื่อการเช่ือมต่ออีกต่อไป อย่างไรก็ตาม เทคโนโลยีเครือข่ายไร้สายมิใช่วัตถุประสงค์เพ่ือนามาใช้ทดแทนเครือข่ายแบบมี สาย ทั้งนี้เครือข่ายแบบใช้สายก็ยังมีข้อเด่นบางประการที่เหนือกว่าเครือข่ายแบบ ไร้สาย ในขณะท่ีเครือข่ายไร้สายก็มีข้อเด่นคือ การได้สร้างทางเลือกทสี่ ะดวกตอ่ การเช่ือต่อเครอื ข่ายของผู้ใช้ โดยไม่ต้องใช้สาย และไม่จาเป็นต้องจากัดพ้ืนที่บนโต๊ะทางานเท่าน้ัน แต่สามารถนาไปใช้งานบรเิ วณทอี่ ยู่ภายในขอบเขตของคล่ืน

2.ในอนาคตเครอื ข่ายไรส้ ายจะนามาใช้ทดแทนเครอื ข่ายแบบมีสายทง้ั หมด เปน็ คากล่าวที่จรงิ หรือไม่ จงบอกเหตผุ ล เทคโนโลยีไร้สายที่พบมากท่ีสุดใช้คล่ืนแม่เหล็กไฟฟ้า เช่นคล่ืนวิทยุ ซ่ึงอาจใช้ในระยะทางสั้นๆไม่กี่เมตรสาหรับโทรทศั น์ หรือไกลเป็นลา้ นกโิ ลเมตรลึกเข้าไปในอวกาศสาหรับวิทยุ การสือ่ สารไรส้ ายรวมถึงหลากหลายชนิดของการใช้งานอยู่กับท่ี, เคลื่อนท่ีและแบบพกพา ได้แก่ วิทยุสองทาง, โทรศัพท์มือถือ, ผู้ช่วยดิจิตอลส่วนตัว (personal digitalassistants หรือ PDAs) และเครือข่ายไร้สาย ตัวอย่างอื่น ๆ ของการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีวิทยุไร้สายรวมถึง GPS, รีโมตประตูโรงรถ เมาส์คอมพิวเตอร์ไร้สาย, แป้นพิมพ์และชุดหูฟังไร้สาย, หูฟังไร้สาย, เครื่องรับวิทยุไร้สาย, โทรทัศน์ผ่านดาวเทียมไร้สาย, เครื่องรับโทรทัศนท์ ว่ั ไปและโทรศัพท์บ้านไรส้ าย3.วิธกี ารเช่อื มตอ่ เครือขา่ ยแลนไร้สายแบบ Ad-Hoc แตกตา่ งจากInfrastructureอย่างไร จงอธิบาย Ad-Hocเปน็ การเชอื่ มต่อทป่ี ระกอบด้วยเครื่องคอมพวิ เตอรต์ ้ังแต่ 2 เครือ่ งข้ึนไป ตดิ ต้ังการด์ ไวเลสแลน (หรอืCentrino Notebook) ทาการเช่อื มตอ่ สอ่ื สารกนั โดยตรง ไม่ต้องผ่านอุปกรณ์กระจายสัญญาณ (Access Point) โดยเครื่องคอมพิวเตอร์ที่เช่ือมตอ่ วิธีน้ีสามารถแลกเปลย่ี นขอ้ มูลกันได้เช่น การแชร์ไฟล์ การแชร์เครื่องพิมพ์ หรืออุปกรณ์ต่อพ่วงต่างๆการสนทนาแบบวิดีโอคอนเฟอเรนซ์ (VDO Conference) และการเล่นเกมส์แบบวงแลนได้ ซ่ึงช่วยให้เคร่ืองคอมพิวเตอร์สามารถเชื่อมต่อกนั ไดโ้ ดยไมต่ อ้ งมีสายสญั ญาณ ขณะท่ีการเช่ือมต่อแบบ Ad-Hoc จะไมส่ ามารถติดตอ่ สื่อสารกับเครือข่ายมีสายสัญญาณได้ นอกจากจะทาการติดตั้งอุปกรณ์ Acces Point เพ่ือให้ Access Point ทาการเชื่อมต่อและส่งข้อมูลไปเครือขา่ ยมสี ายอีกครง้ั หน่งึ

Infrastructure เป็นการเชื่อมต่อท่ีมีอุปกรณ์กระจายสัญญาณไวเลสแลน (Access Point) เป็นตัวกลาง (ดังภาพด้านประกอบ) ทาหน้าที่รับส่งสัญญาณและข้อมูลจากเครื่องคอมพิวเตอร์พกพาไปเครือข่ายมีสาย หากสังเกตจะพบว่าAccess Point มกี ารทางานเหมือนอปุ กรณ์ฮับ (HUB) ในเครือขา่ ยคอมพิวเตอรแ์ บบมสี าย และที่สาคัญหากมีการเข้าใช้งานเครือข่ายไวเลสแลนพร้อมกันจานวนมาก จะมีผลทาให้ความเร็วในการส่ือสารข้อมูลช้าลงด้วยเช่นกัน ปัจจุบันเครือข่ายไร้สายแบบ Infrastructure ได้รับความนิยมสูง และเป็นเครือข่ายที่มีการพัฒนาอย่างต่อเน่ืองท้ังทางด้านความเร็วในการส่ือสารและความปลอดภยั ในการแลกเปล่ยี นข้อมลู เครือข่ายไร้สายช่วยทาให้เกิดความสะดวกในการใชง้ านมากขึ้นเพราะไม่ต้องเดินสายสัญญาณ (หรือสายแลน) สาหรับเคร่ืองคอมพิวเตอร์ และสามารถปรับเปล่ียน เคล่ือนย้าย ขยายขนาดของเครือข่ายไวเลสแลนได้ตลอดเวลา ด้วยความสะดวกสบายของเครือข่ายไวเลสแลนทาให้เครือข่ายไวเลสแลนได้รับการยอมรบั จากผ้ใู ช้มากขนึ้ และมีการพฒั นาอยา่ งตอ่ เน่ืองดว้ ยเชน่ กัน4.การจัดการกับระบบความปลอดภัยบนเครอื ขา่ ยไรส้ าย ดว้ ย SSID เปน็ อย่างไร จงอธิบาย SSIDหรอื ช่อื เครือขา่ ย จะมขี นาด 32 บิต ทจี่ ะถกู นาไปบรรจุลงในเฮดเดอร์ของแตล่ ะแพ็กเก็ตที่ถูกโปรเซสโดยแอกเซสพอยต์ เคร่ืองลูกข่ายท่ีต้องการเช่ือมต่อจะต้องกาหนดช่ือ SSID ให้ตรงกันจึงสามารถเข้าถึงเครือข่ายไร้สายได้ ซ่ึงปกติช่ือเครือข่ายหรือ SSID จะถูกกาหนดเป็นค่าปกติ (Default) ท่ีติดตั้งไว้มาจากโรงงาน ตัวอย่างเช่น ค่าดีฟอลต์ SSIDของบรษิ ัท Linksys จะใช้ชื่อวา่ “Linksys” หรอื ของบรษิ ทั Net gear กจ็ ะใช้ชอื่ วา่ “wireless” เปน็ ต้น ดงั นน้ั เพื่อมิให้ค่านี้เป็นค่าท่ีคาดเดาง่าย จึงสมควรตั้งชื่อใหม่ รวมถึงควรเปลี่ยนชื่อล็อกอินและรหัสผ่านใหม่ท้ังหมด และหากเป็นไปได้ก็ให้ปิดการทางานของการบรอดคาสต์ชื่อ SSID สิ่งเหล่าน้ีถือเป็นการจัดการระบบความปลอดภัยอย่างง่ายที่สามารถพึงทาได้ เพ่ือปอ้ งกันแฮกเกอร์ท่ีอาจใช้ชื่อ SSID และคา่ ดฟี อลต์ตา่ ง ๆ จากอปุ กรณ์ของผลติ ภัณฑ์น้ัน ๆ เพ่ือลกั ลอบเขา้ มายังเครอื ขา่ ยได้

5.การจดั การกบั ระบบความปลอดภัยบนเครอื ข่ายไร้สาย ด้วยการกลัน่ กรองหมายเลขแมคแอดเดรส มีประโยชนอ์ ยา่ งไร โดยทั่วไปแล้ว อุปกรณ์แอกเซสพอยต์ล้วนสนับสนุนการกล่ันกรองหมายเลขแมคแอดเดรส วิธีการนี้ต้องการจากดั บุคคลที่เข้าถึงเครือข่าย โดยหมายเลขแมคแอดเดรสที่บันทึกเข้าไปคือแอดเดรสท่ีได้รับการอนุญาตให้เข้าถึงเครือข่ายได้ อย่างไรก็ตาม การใช้หมายเลขแมคแอดเดรสในการกล่ันกรองบุคคลที่สามารถเข้าถึงเครือข่ายนั้น เป็นงานค่อนข้างเสียเวลา อีกท้งั หากเครอ่ื งมกี ารเปลีย่ นการด์ เครือข่าย กจ็ าเปน็ ต้องมกี ารบนั ทกึ เข้าไปใหม่ รวมถึงกรณกี ารรีเซตอุปกรณ์แอกเซสพอยต์ นั่นหมายถึงหมายเลขแมคแอดเดรสที่เคยบันทึกไป ก็จะถูกลบทิ้งไปทั้งหมดด้วย อย่างไรก็ตาม ถึงแม้วิธีการกลั่นกรองหมายเลขแมคแอดเดรสสามารถเพ่ิมระดับความปลอดภัยย่ิงข้ึนก็ตาม แต่ทั้งสองวิธีข้างต้นก็ยังถือว่าเป็นความปลอดภัยระดับต่า เน่ืองจากแฮกเกอร์ยังสามารถลักลอบเพื่อค้นหาแมคแอดเดรสท่ีได้รับสิทธิ์ในการเข้าถึงเครือข่าย และปลอมตวั ลกั ลอบเขา้ มายงั เครอื ขา่ ยได้ในทสี่ ุด6.จงสรุปความแตกตา่ งของวธิ กี ารเขา้ รหัสลบั แบบWEPกบั WPA มาพอเขา้ ใจ WEP (Wired Equivalent Privacy) วิธีนี้รหัสที่ใช้ในการเข้ารหัส และถอดรหัสเป็นอันเดียวกัน โดยการใช้key ขนาด 64 บิต หรือ 128 บิต อย่างไรก็ตามกลไกการเข้ารหัสแบบ WEP นี้มีช่องโหว่อยู่มาก เพราะรหัสที่ใช้สามารถถูกถอดรหัสได้จากผใู้ ชง้ านโดยตรง นอกจากนี้ key ที่ใช้ในการเขา้ รหสั กไ็ ม่มีการเปล่ียนแปลงตลอดการใชง้ าน

WPA (Wi-Fi Protected Access) คือรูปแบบการเข้ารหัสที่มีความปลอดภัยสูงกว่าแบบ WEP เพราะใช้กลไกการเข้ารหัสและถอดรหัสแบบ TKIP (Temporal Key Integrity) ซึ่งเป็น key ชั่วคราวที่จะเปลี่ยนอยู่เรื่อยๆ ทาให้ยากแก่การคาดเดาท่ถี กู ตอ้ งรว่ มกบั MIC (Message Integrity Code) เพ่ือทาใหแ้ น่ใจวา่ ข้อมูลทอ่ี ย่รู ะหว่างการส่ือสารจะไม่ถูกปลอมแปลงจากผบู้ ุกรกุ WPA2 คือการรักษาความปลอดภัยระดับสูงสุดในปัจจุบันที่ถูกพัฒนาขึ้นโดยใช้กลไกการเข้ารหัสและถอดรหสั แบบ AES (Advanced Encryption Standard)7.ความเรว็ ของเครือข่ายไร้สาย ขึ้นอย่กู บั ปัจจัยอะไรบ้าง จงอธิบาย ความเร็วบนเครอื ข่าย WLAN ขน้ึ อยู่กับปจั จัยบางประการ ซ่งึ เกย่ี วขอ้ งกบั มาตรฐานเครอื ข่ายท่ีนามาใช้งานบนเครือข่ายไร้สายด้วย เช่น มาตรฐาน 802.11b จะมีความเร็วที่ 11 Mbps ในขณะท่ี 802.11g จะมีความเร็วท่ี 54Mbps เป็นต้น นอกจากนี้ปัจจัยด้านระยะทางก็ส่งผลต่อความเร็ว กล่าวคือหากระยะทางของโหนดที่ติดต่อกับอุปกรณ์แอกเซสพอยต์นั้นอยู่ห่างเกินรัศมีของสัญญาณ ดังน้ันบริเวณนอกขอบเขตรัศมีดังกล่าว อาจติดต่อสื่อสารได้อยู่ แต่ความเร็วจะลดลงซ่ึงอาจเหลือเพียง 1 Mbps เท่าน้ัน หรืออาจติดต่อไม่ได้เลยกรณีขอบเขตท่ีไกลออกไป สาหรับปัจจัยสุดท้ายที่จะกล่าวถึงก็คือ การถูกแทรกแซงด้วยสัญญาณรบกวน เช่น บริเวณใกล้เคียงมีเสารับส่งวิทยุที่ทาให้มีคล่ืนวิทยุแทรกแซงเข้ามา รวมถึงอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ท่ีใช้งานตามบ้านท่ัวไป เช่น เครื่องทาความเย็น มอเตอร์ไฟฟ้า และเคร่อื งปรบั อากาศ เปน็ ต้น

ขอบเขตรศั มขี องเครอื ข่ายไร้สาย (Wireless Networking Range) หากว่ากนั ไปแล้ว ขอบเขตรัศมขี องอาณาบริเวณท่คี ลืน่ สัญญาณไรส้ ายสามารถครอบคลุมไปถงึ นน้ั ยากต่อการกาหนดใหช้ ดั เจนลงไปได้ ตัวอยา่ งเช่น เครือข่ายไร้สายจะครอบคลุมอาณาบริเวณประมาณ 150 ฟุต หรือ 300 ฟุต เป็นต้นแต่ความจริงแล้ว รัศมีที่สัญญาณไร้สายสามารถครอบคลุมได้ระยะไกล แต่หากบริเวณนั้นมีตึกอาคาร ซ่ึงเป็นคอนกรีต ก็จะสง่ ผลให้สญั ญาณลดทอนลงไป ทาให้สญั ญาณครอบคลมุ ระยะทางไมไ่ กลนกั8.ขอบเขตรศั มขี องเครือข่ายไรส้ ายทคี่ รอบคลุมตามบริเวณตา่ งๆ จะถกู ลดทอนลงด้วยอะไรบ้าง หากวา่ กนั ไปแลว้ ขอบเขตรศั มีของอาณาบริเวณท่คี ลืน่ สญั ญาณไรส้ ายสามารถครอบคลุมไปถึงน้นั ยากต่อการกาหนดให้ชัดเจนลงไปได้ ตัวอย่างเช่น เครือข่ายไร้สายจะครอบคลุมอาณาบริเวณประกาณ 150 ฟุต หรือ 300 ฟุต เป็นต้นแตค่ วามจรงิ แล้ว รัศมีที่สัญญาณไร้สายสามารถครอบคลุมได้ระยะไกล แต่หากบริเวณนั้นมีตึกอาคาร ซึ่งเป็นคอนกรีต ก็จะสง่ ผลใหส้ ญั ญาณลดทอนลงไป ทาใหส้ ัญญาณครอบคลมุ ระยะทางไม่ไกลนัก9.หากต้องการเช่ือมโยงเครือขา่ ยไรส้ ายใหไ้ กลย่งิ ย่งิ ข้ึนกวา่ เดมิ ควรใช้วธิ ีใด จงอธบิ าย คือ การเช่ือมต่อเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระยะไกล ซ่ึงมีอยู่ท่ัวโลกเข้าด้วยกัน โดยอุปกรณ์แปลงสัญญาณ เช่นโมเด็ม ช่วยในการติดต่อสื่อสารหรือสามารถนาเครือข่ายท้องถิ่นมาเชื่อมต่อกันเป็นเครือข่ายระยะไกล เช่น เครือข่ายอนิ เทอรเ์ นต็ เครอื ขา่ ยระบบธนาคารทวั่ โลก หรอื เครอื ข่ายของสายการบิน เป็นตน้

เครือข่าย WAN สามารถแบง่ เปน็ ประเภทใหญ่ๆ คอื 1. เครือข่ายสว่ นตัว (private network) เป็นการจัดตัง้ ระบบเครอื ขา่ ยซึ่งมีการใชง้ านเฉพาะองคก์ ร เช่นองค์กรทีม่ สี าขาอาจทาการสรา้ งระบบเครอื ข่าย เพื่อเชอื่ มตอ่ ระหวา่ งสานักงานใหญก่ บั สาขาท่ีมีอยู่ เป็นตน้ การจดั ตั้งระบบเครอื ข่ายส่วนตวั มจี ุดเด่นในเรอื่ งของการรักษาความลับของ ข้อมลู สามารถควบคมุ ดแู ลเครือขา่ ยและขยายเครอื ขา่ ยไปยังจดุ ท่ีต้องการ ส่วนข้อเสียคือในกรณีท่ีไม่ได้มกี ารส่งข้อมูลตอ่ เนอื่ งตลอดเวลา จะเสียคา่ ใชจ้ ่ายสูงมากเมอ่ื เทียบกบั การสง่ขอ้ มูลผ่านเครือข่ายสาธารณะ และหากมกี ารสง่ ขอ้ มูลระหวา่ งสาขาต่างๆ จะตอ้ งมกี ารจดั หาช่องทางสื่อสารเชอื่ มโยงระหว่างแต่ละสาขาดว้ ย ซึง่ อาจจะไม่สามารถจดั ช่องทางการส่ือสารไปยังพืน้ ทที่ ีต่ อ้ งการได้ 2. เครือข่ายสาธารณะ (PDN: public data network) หรือบางครัง้ เรียกว่าเครอื ขา่ ยมลู คา่ เพ่ิม (VAN: ValueAdded Network) เปน็ เครอื ข่าย WAN ที่จะมอี งค์กรหน่งึ (third party) เปน็ ผทู้ าหน้าทีใ่ นการเดนิ ระบบเครือข่าย และให้เช่าช่องทางการสอ่ื สารใหก้ ับ บรษิ ทั ต่างๆ ทีต่ อ้ งการสรา้ งระบบเครอื ขา่ ย ซง่ึ บรษิ ัทจะลดค่าใช้จา่ ยของตนลงได้ เน่ืองจากมีบุคคลอืน่ มาช่วยแบ่งปนั คา่ ใช้จา่ ยไป ซ่ึงจะนิยมใช้กันมาก เนือ่ งจากมคี า่ ใชจ้ ่ายตา่ กว่าการจัดต้ังเครอื ขา่ ยสว่ นตวั สามารถใช้งานได้ทนั ทโี ดยไมต่ อ้ งเสียเวลาในการจดั ต้ังเครอื ขา่ ยใหม่ รวมทัง้ มีบรกิ ารใหเ้ ลอื กอยา่ ง หลากหลาย ซง่ึ แตกต่างกันไปทั้งในส่วนของราคา ความเรว็ ขอบเขตพ้ืนทีบ่ รกิ าร และความเหมาะสมกบั งานแบบต่าง ๆ

10. Wi-Fi Allianceคอื อะไร มีบทบาทสาคัญตอ่ เครือข่ายไรส้ ายอย่างไร แม้ Wi-Fi จะพัฒนาขึ้นมายาวนาน แต่ในโทรศพั ท์ทุกวนั น้ีเวลาทีเ่ ราตอ้ งการส่งไฟลห์ รอื ขอ้ มูลอืน่ ๆ ระหว่างกนัในโทรศัพท์มือถือก็ยังต้องการ Bluetooth ท่ีมีมาตรฐานครบถ้วนให้ใช้งานได้มากกว่า เช่นการส่งข้อมูลไฟล์ระหว่างกันโดยตรง แต่ Wi-Fi Direct ก็จะมาช่วยอุดช่องโหว่น้ีแล้ว โดยหลักการแล้ว Wi-Fi Direct จะคล้ายกับการทาเครือข่ายAdhoc แบบเดิมๆ เพราะมีส่วนของ Device Discovery ไว้หาเคร่ืองรอบๆ โดยไม่ต้องเข้าร่วมเครือข่ายกันเสียก่อน และService Discovery ท่ีใช้แจ้งวา่ เครอื่ งปลายทางสามารถรับบรกิ ารอะไรได้บ้าง จุดขายสาคัญของ Wi-Fi Direct คงเป็นเร่ืองของความเรว็ ท่ที ุกวนั นโ้ี ทรศพั ท์จานวนไม่นอ้ ยทาความเรว็ ได้ท่ี 54Mbps กันเปน็ เรอ่ื งปรกติ และโทรศัพท์จานวนมากรองรับ802.11n ทาให้ทาความเร็วไปได้ถึง 150Mbps ทาให้เราอาจจะส่งไฟล์ภาพความละเอียดสูงมากไปยังเคร่ืองพิมพ์ หรือไฟล์วีดีโอแบบ HD จากโทรศัพทไ์ ปยงั เครอื่ งเพอ่ื นขา้ งเคียงโดยไมล่ าบากมีเรื่องให้แบตเตอร่ีหมดเร็วขึ้นอกี แลว้11.ฮอตสปอต หมายถึงอะไร จงยกตัวอยา่ งสถานทีท่ น่ี ักศึกษาเคยใชบ้ ริการ Hotspot การเช่ือมต่ออินเตอร์สาธารณะความเร็วสูงผ่านเครือข่าย Wi-Fi เพ่ือเช่ือมโยงไปในการให้บริการอินเตอร์เน็ต Hotspot มักใช้เทคโนโลยี Wi-Fi ทาให้ผู้ใช้งานสามารถออนไลน์ได้ทุกที่ ทุกเวลา ท้ังการรับส่งอีเมล ดาวน์โหลดขอ้ มูล

12.จงสรปุ วธิ ีการกระจายคลื่นเครือขา่ ยไรส้ ายด้วยวธิ ี DSSS, FHSSและOFDM มาตรฐาน 802.11 ใช้การส่งสัญญาณแบบคลื่นวิทยุท่ีความถี่ 2.4 GHz ซ่ึงเป็นความถ่ี ISM (Industrial,Scientific and Medical) Band สามารถส่งข้อมูลได้ด้วยอัตราความเร็วค่อนข้างต่า คือ 1 และ 2 Mbps เท่านั้น โดยใช้เทคนิคการส่งสัญญาณหลักอยู่ 2 รูปแบบ คือ DSSS (Direct Sequent Spread Spectrum) และ FHSS (FrequencyHopping Spread Spectrum) ซึ่งถูกคิดค้นมาจากหน่วยงานทหาร การส่งสัญญาณท้ัง 2 รูปแบบจะใช้ความกว้างของช่องสัญญาณ (Bandwidth) ท่ีมากกว่าการส่งสัญญาณแบบ Narrow Band แต่ทาให้สัญญาณมีความแรงมากกว่าซ่ึงง่ายต่อการตรวจจับมากกว่าแบบ Narrow Band หน่วยงานทหารใช้วิธีการเหล่านี้ในการปิดก้ันการใช้งานจากอุปกรณ์อ่ืนๆ ท่ีจะมาทาให้ระบบเกิดปัญหา โดยการส่งสัญญาณแบบ FHSS สัญญาณจะกระโดดจากความถ่ีหน่ึงไปยังอีกความถี่หน่ึงในอัตราที่ได้กาหนดไว้แล้ว ซึ่งจะรู้กันเฉพาะตัวรับกับตัวส่งเท่าน้ัน ส่วนการส่งสัญญาณแบบ DSSS จะมีการส่ง ChippingCode ไปกับสัญญาณแต่ละคร้ังด้วย ซ่ึงจะมีเฉพาะตัวรับกับตัวส่งเท่าน้ันท่ีจะรู้ลาดับของ Chip การใช้งานระบบเครือข่ายแบบไร้สายทุกวนั นี้ DSSS มีคณุ สมบัติท่ีโดดเด่นและให้ Throughput ท่ีมากกว่า และจากท่ีได้มีการพัฒนาจนได้อัตราการส่งข้อมูล 11 Mbps ผ่านการส่งแบบ DSSS และเป็นมาตรฐานที่โดดเด่นของ WLAN ผลิตภัณฑ์ซึ่งรองรับมาตรฐาน802.11b (อัตราส่งถ่ายข้อมูลสูง 11 Mbps) น้ีสามารถทางานร่วมกับผลิตภัณฑ์ซ่ึงทางานกับมาตรฐาน DSSS แบบเก่า802.11 (อัตราส่งถ่ายข้อมูล 1 และ 2 Mbps) ได้ แต่ระบบ FHHS จะถูกใช้กับอุปกรณ์ที่มีกาลังส่งต่า หรือเป็นApplication ท่ีใช้งานในย่านต่าๆ เช่น โทรศัพท์ไร้สายความถี่ 2.4 GHz แต่จะไม่สามารถใช้งานร่วมกับผลิตภัณฑ์ DSSSได้

13.แอกเซสพอยต์ท่มี เี สารบั ส่งสัญญาณหลายตน้ ดีอย่างไร และนาไปใชก้ ับมาตรฐาน WLAN ใดไดบ้ ้าง คอื อปุ กรณ์ที่มีหนา้ ท่ีในการกระจายสญั ญาณ wireless (ไวร์เลส) เปน็ อปุ กรณ์พนื้ ฐานตวั หนงึ่ ท่สี ามารถสร้างเครือขา่ ยไร้สายจากระบบเครอื ข่าย Land (แลน) ไดง้ า่ ยทส่ี ุด แอคเซสพอยท์ทาหนา้ ทกี่ ระจายสัญญาณออกไปยังเครื่องลูกข่ายที่อยู่ในรัศมีการกระจายสัญญาณโดยรอบ ซึ่งลักษณะของตัวแอคเซสพอยท์น้ันจะมีลักษณะท่ีแตกต่างกันอยู่กับผู้ผลิตจะดีไซน์ให้มีรูปร่างหน้าตาแบบไหน แต่ท่ีเหมือนกันก็คือ AP (เอพี) จะมีช่องเชียบสายแลนเพียงช่องเดียวเท่าน้ัน ช่องดังกล่าวจะเป็นชอ่ งทรี่ ับสัญญาณอินเตอร์เน็ตหรือใช้เช่ือมต่อกับเน็ตเวิร์คจากเครือข่ายแลนเข้ากับเครื่องลูกข่ายที่เช่ือมต่อแบบไร้สาย การทางานของ AP (เอพี) จะทางานภายใต้มาตรฐานของ ซึ่งทาให้อุปกรณ์ท่ีมีมาตรฐานนี้สามารถใช้งาน AP(เอพี) ไดอ้ ย่างเต็มประสิทธิภาพ แอคเซสพอยท์จะมีเสาสัญญาณ 1 เสา และแอคเซสพอยท์ที่มีมากกว่า 2 เสา เพ่ือให้การกระจายสญั ญาณของ AP สามารถกระจายสัญญาณไดม้ คี ณุ ภาพมากยงิ่ ขึ้น ควรเลอื กซอ้ื แบบ 2 เสาข้ึนไป

14.จงอธิบายความแตกตา่ งระบบSU-MIMOกับMU-MiMo อีกหนึ่งความสาคัญของ Beamforming คือ ช่วยสนับสนุนเทคนิค MU-MIMO (Multi-user MultipleInput Multiple Output) จนถึงกอ่ นหน้ามาตรฐาน 802.11ac Wave 2 การรับส่งข้อมูลผ่าน Wi-Fi จะเป็นแบบ SingleUser-MIMO คือ AP จะรับส่งข้อมูลกับ Client ได้คร้ังละเคร่ืองเท่าน้ัน แต่ภายในการรับส่งข้อมูลแบบ 1 ต่อ 1 นี้เอง มีการแยกข้อมูลออกเป็นชิ้นๆ เรียกว่า Spatial Streams แล้วส่งข้อมูลออกไปหลายๆ เส้นทางพร้อมกันโดยอาศัยคุณสมบัติของ Multipath (สูงสุด 4 เส้นทาง สาหรับ 802.11n และ 802.11ac Wave 1) อย่างไรก็ตาม SpatialStreams ไม่สามารถส่งข้อมูลไปยังหลายๆ Client พร้อมกันได้แต่ด้วยเทคนิค MU-MIMO บน 802.11ac Wave 2 ช่วยให้รูปแบบการรับส่งข้อมูลเปลี่ยนจาก Hub กลายเป็น Switching นั่นคือ สามารถส่ง Spatial Streams ไปยังหลายๆClient พร้อมกนั ได้ (ปจั จุบนั น้สี ูงสุดคือ 3 เครื่องพร้อมกัน) ดว้ ยเทคนคิ นี้ ถึงแม้วา่ จะไมไ่ ด้ทาให้ความเร็วสูงสุดเพ่ิมขึ้น แต่ชว่ ยให้ความเรว็ โดยเฉล่ียที่ Client แต่ละเครื่องได้รับดีกว่าเดิม MU-MIMO นับว่าเป็นเทคนิคที่ Implement ได้ยากมากจากรูปด้านล่าง การส่งข้อมูลหา User 1 นั้น AP จะต้องสร้างสัญญาณส่งไปยัง User 1 ให้มีความแรงสูง (เส้นกลีบสีน้าเงินด้านบน) ในขณะที่ต้องลดความแรงของสัญญาณท่ีส่งไปยัง User อ่ืนลง ดังท่ีเห็นเป็นรอยบากตรง User 2 และ 3เรียกเทคนิคนี้ว่า “Null Steering” การส่งข้อมูลหา User 2 และ 3 ก็ทาเช่นเดียวกัน ดังปรากฏตามเส้นกลีบสีแดงและเหลืองตามลาดับ ด้วยวิธีการนี้ ทาให้ AP และ User 1, 2, 3 สามารถรับส่งข้อมูลพร้อมกันได้ ในขณะที่ได้รับสัญญาณกวนระหว่างกันน้อยทสี่ ุด

15.จงสรุปรายละเอยี ดWLANตามมาตรฐาน802.11a,802.11b,802.11g,802.11nและ802.11ac IEEE 802.11 ถือเป็นมาตรฐานเครือข่ายไวเลสแลน โดยมีการกาหนดอักษรย่อของมาตรฐานต่างๆ แบ่งออกเปน็ a, b, g และ n โดยแต่ละมาตรฐานมีความเร็วและใชค้ ลื่นความถี่ทแ่ี ตกตา่ งกันออกไปดงั ต่อไปนี้ IEEE 802.11a คลื่นความถี่ 5 GHz ความเร็วในการรับส่งข้อมูล 54 Mbps ในประเทศไทยไม่อนุญาตให้ใช้คลนื่ ความถ่ีน้ี IEEE 802.11b คลนื่ ความถ่ี 2.4 GHz ความเร็วในการรับสง่ ขอ้ มูล 11 Mbps IEEE 802.11g คลนื่ ความถ่ี 2.4 GHz ความเรว็ ในการรับสง่ ข้อมูล 54 Mbps IEEE 802.11n คลื่นความถ่ี 2.4 ความเร็วในการรบั สง่ ข้อมูล 300 Mbps IEEE 802.11ac คล่นื ความถี่ 5.1 GHz มาตรฐานใหม่ลา่ สุด ความเร็วในการรับส่งข้อมูล 6,930 Mbps หรือประมาณ 6.93 Gbps


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook