การบญั ชเี บ้อื งตน้ (Basic Accounting) รหสั วิชา 20200-1002
จดุ ประสงคร์ ายวชิ า เพื่อให้ 1. มีความเข้าใจหลักการ วิธีการ และข้ันตอนการจัดทา บัญชีสาหรบั กจิ การเจา้ ของคนเดียวประเภทธรุ กจิ บริการ 2. มที กั ษะปฏิบัตงิ านบัญชีตามหลักการบัญชีที่รับรองทั่วไป สาหรบั กิจการเจา้ ของคนเดียวประเภทธรุ กจิ บริการ 3. มีกิจนิสัย มีระเบียบ ละเอียด รอบคอบ ซ่ือสัตย์ มีวินัย ตรงต่อเวลา และมีเจตคตทิ ีด่ ีต่อวชิ าชพี บัญชี
สมรรถนะรายวชิ า 1. แสดงความรู้เก่ียวกับหลักการ วิธีการ และขั้นตอนการ จัด ทาบัญชีสาหรับกิจการเจ้าของคนเดียวประเภท ธรุ กจิ บรกิ าร 2. ปฏิบัติงานบัญชีสาหรับกิจการเจ้าของคนเดียวประเภท ธุรกิจบรกิ ารตามหลกั การบญั ชีท่รี ับรองทั่วไป
หนว่ ยท่ี 1 ความรูเ้ บอ้ื งต้นเกีย่ วกับ การบญั ชี
กฎหมายทีเ่ กี่ยวขอ้ ง การรายงานทางการเงนิ รปู แบบของธรุ กิจ กิจกรรมพื้นฐานทางธรุ กจิ การเขียนตัวเลขตามหลักบญั ชี
ความหมายของการบัญชี สมาคมนกั บัญชีแหง่ ประเทศสหรัฐอเมรกิ า American Institute of Certified Public Accountants หรอื AICPA “การบัญชีเป็นศิลปะของการจดบันทึกรายการหรือเหตุการณ์ และรายการต่างๆ ท่ีเกี่ยวข้อง กับการเงินไว้ในรูปของเงินตรา การจัดหมวดหมู่รายการเหล่าน้ัน การสรุปผล รวมทั้งการ ตคี วามหมาย ของผลนัน้ ”
กระบวนการทางการบญั ชี (The Accounting Process) มี 4 ขัน้ ตอน ไดแ้ ก่ ขั้นตอนที่ 1 การรวบรวมขอ้ มลู (Data gathering) ขั้นตอนท่ี 2 การบันทกึ รายการ (Recording) ข้ันตอนที่ 3 การสรปุผล (Summarizing) ขนั้ ตอนท่ี 4 การสอ่ื ข้อมลู เพ่อื การตดั สินใจ (Communicating)
การรวบรวมขอ้ มูล Data gathering เปน็ การรวบรวมขอ้ มลู และข้อเท็จจริงในรูปแบบของเอกสารและ จัดเก็บเข้าแฟ้ม โดยเรียงลาดับวันท่ีข้อมูลหรือรายการใดไม่มีเอกสาร เช่น ค่าใช้จ่ายที่ผู้รับเงินไม่สามารถออกหลักฐาน การรับเงินได เช่น ค่ารถ รับจ้าง ค่าจา้ งคนสง่ เอกสาร ใหจ้ ัดทา ใบรับรองแทนใบสาคัญรับเงิน
การบันทกึ รายการทเ่ี กดิ ข้ึนประจาวนั (Recording) เป็นการจดบันทึกรายการค้าเฉพาะที่สามารถตีค่าเป็นตัวเงินได้ โดย เรียงลาดับวันที่ ที่เกิดรายการในสมุดบันทึกรายการขั้นต้นและผ่าน รายการไปสมุดบันทึกรายการขั้นปลาย
การสรุปผลของขอ้ มลู (Summarizing) เป็ นการตีความหมายของรายการในสมุดบันทึกรายการข้นั ปลาย และนามาสรุปในรูปของ รายงานทางการเงิน
การสอ่ื สารขอ้ มูลเพอื่ การตัดสินใจ (Communicating) เป็นการนาเสนอรายงานทางการเงินเพื่อการตัดสินใจของผู้ที่เก่ียวข้อง เช่น ผู้บริหาร สถาบันการเงนิ ผถู้ อื หุ้น
วัตถปุ ระสงคแ์ ละประโยชนข์ องการบัญชี 1. เพ่ือจดบันทึกรายการค้าที่เกิดข้ึนตามลาดับก่อนหลัง และ จาแนกประเภทรายการคา้ ออกเป็นหมวดหมู่ 2. เพ่ือเปน็ หลกั ฐานในการอา้ งอิง 3. เพื่อให้เจ้าของกิจการ ควบคุมดูแล รักษาสินทรัพย์ของกิจการ ได้ เชน่ เงินสด สินค้า คงเหลอื ท่ีดิน อาคารและอุปกรณ์ 4. เพ่ือให้เจ้าของกิจการทราบผลการดาเนินงานของกิจการใน รอบระยะเวลาใดเวลาหน่ึง และทราบฐานะการเงินของกิจการ ณ วันใดวนั หนงึ่
5. เพ่ือเป็นข้อมูลในการตัดสินใจ และวางแผนการดาเนินงาน เช่น การขยายกิจการ การกู้ยืม การเลิกกิจการ และควบคุมกิจการให้ ประสบความสาเร็จตามวตั ถปุ ระสงค์ 6. เพอ่ื ควบคมุ ภายในกิจการและการตรวจสอบ 7. เพื่อให้ถูกต้องตามพระราชบัญญัติว่าด้วยการทาบัญชี เช่น พระราชบัญญัติการบัญชี พ.ศ. 2543 และพระราชบัญญัติวิชาชีพ บญั ชพี .ศ. 2547 8. เพ่ือให้ถูกต้องตามข้อกาหนดหรือประกาศของหน่วยงานราชการ หรือหน่วยงาน ที่เกี่ยวข้องกับการบัญชี เช่น กรมพัฒนาธุรกิจการค้า กรมสรรพากร สภาวิชาชพี บัญชี เปน็ ตน้
ประวัติความเป็นมาของบญั ชี การบัญชีเกิดขึ้นคร้ังแรกในประเทศอิตาลี โดยลูกา ปาซิโอลิ (Luca Pacioli) ชาวอิตาเลียน เป็นคนแรกท่ีวางรากฐานทางการบัญชี จนได้รับฉายา วา่ เปน็ บิดาแหง่ งบดลุ (The Father of the Balance Sheet) ปาซิโอลิ เป็นคนที่ช่างสังเกต เขาสังเกตว่าพ่อค้าชาวอิตาเลียน นิยมเก็บข้อมูล ทางธุรกิจโดยแบ่งเป็น 2 ด้าน คือ เดบิตและเครดิต และข้อมูลน้ันจะถูกแยก ออกเป็นหมวดหมู่ แนวคิดของปาซิโอลิเกี่ยวกับระบบบัญชีคู่เป็นท่ียอมรับ และ ถือปฏิบัติมาจนทุกวันนี้ ดังน้ัน ปาซิโอลิ จึงได้รับการยกย่องว่าเป็น บิดา แห่งการบัญชี
ขอ้ สมมติทางบัญชี ขอ้ สมมติทางบญั ชีตามมาตรฐานการรายงานทางการเงินสาหรับกิจการที่ไม่มีส่วนไดเ้ สีย สาธารณะ สภาวชิ าชีพบญั ชีในพระบรมราชปูถมั ภม์ ีรายละเอียดดงั น้ี 10 ขอ้ สมมตทิ ี่ใช้ในการนาเสนองบการเงินตามมาตรฐานการรายงานทางการเงินสาหรับกิจการท่ี ไม่มี สว่ นได้เสยี สาธารณะ ไดแ้ ก่ เกณฑ์คงค้าง และการดาเนนิ งานต่อเนอ่ื ง 11 เกณฑ์คงค้าง (Accrual Basis) กาหนดให้กิจการต้องรับรู้รายการนั้นซึ่งอาจเป็นรอบระยะเวลา บญั ชีเดียวกันหรือต่างกันกบั รอบระยะเวลาบัญชีที่กจิ การไดร้ บั หรือจ่ายชาระเงินสด 12 การดาเนินงานต่อเน่ือง (Going Concern) คือ ข้อสมมติว่ากิจการจะยังคงดาเนินงานอยู่ต่อไป ใน อนาคตหากมีข้อสงสัยเก่ียวกับการดาเนินงานต่อเน่ือง กิจการต้องวัดมูลค่ารายการที่รับรู้ในงบการเงิน ดว้ ยเกณฑท์ ต่ี ่างจากเกณฑ์ท่มี ีมาตรฐานการรายงานทางการเงนิ ฉบบั นก้ี าหนดไว้
ความแตกตา่ งระหว่างนักบัญชีและผู้ทาบญั ชี นักบญั ชี ผู้ทำบญั ชี Accountants Bookkeepers ปฏิบตั ิงานเกี่ยวกบั การบญั ชี บนั ทึก และรวบรวมขอ้ มูลเกี่ยวกบั การเงินประจาวนั ออกแบบเอกสารทางธุรกิจ หรือวาง เกบ็ รวบรวมขอ้ มูล ระบบบญั ชี จดั ทางบประมาณ จดบนั ทึกขอ้ มูลประจาวนั ออกแบบรายงานทางบญั ชี จดั ทารายงานทางการเงิน
รายงานทางการบัญชี รายงานทางการบริหาร รายงานเฉพาะหรือรายงานพิเศษ รายงานทางการเงนิ Financial Reports Managerial Reports Special Reports
ผู้ใช้ ขอ้ มูล ภายใน ผู้ใช้ ข้อมูล ผใู้ ช้ ทางบญั ชี ขอ้ มลู ภายนอก
อาชพี ทางการบญั ชี การบญั ชสี ว่ นบคุ คล การบญั ชสี าธารณะ การบญั ชรี ฐั บาลหรอื ส่วนราชการ Private Accounting Public Accounting Government Accounting
จรรยาบรรณผปู้ ระกอบวชิ าชีพบญั ชี ความซือ่ สตั ยส์ ุจริต ความเทยี่ งธรรม และความเปน็ อสิ ระ ความรู้ ความสามารถ ความเอาใจใส่ การรักษาความลับ และการรักษามาตรฐานการปฏิบัติงาน ความโปร่งใส พฤติกรรมทาง วิชาชพี
พระราชบญั ญตั ิการบญั ชี พ.ศ. 2543 และพระราชบัญญัตวิ ิชาชีพบญั ชี พ.ศ. 2547 พระราชบญั ญัตกิ ารบญั ชี พ.ศ. 2543 โ ด ย ที่ เ ป็ น ก า ร ส ม ค ว ร ป รั บ ป รุ ง ก ฎ ห ม า ย ว่ า ด้ ว ย ก า ร บั ญ ชี พระราชบัญญัติน้ีมีบทบัญญัติ บางประการเก่ียวกับการจากัดสิทธิและ เสรีภาพของบุคคล ซ่ึงมาตรา 29 ประกอบกับมาตรา 35 มาตรา 48 และ มาตรา 50 ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย บัญญัติให้กระทาได้โดย อาศัยอานาจตามบทบัญญัติแห่งกฎหมาย ในที่นี้จะกล่าวถึงเฉพาะบาง มาตราเทา่ นนั้
มาตรา 4 ในพระราชบญั ญัตินี้ “งบการเงิน” หมายความว่า รายงานผลการดาเนินงาน ฐานะการเงิน หรือการเปล่ียนแปลงฐานะการเงินของกิจการ ไม่ว่าจะรายงานโดยงบดุล (งบ แสดงฐานะการเงิน) งบกาไรขาดทุน งบกาไรสะสม งบกระแสเงินสด งบแสดง การเปล่ียนแปลงส่วนของผู้ถือหุ้น งบประกอบหรือ หมายเหตุประกอบงบ การเงนิ หรอื คาอธิบายอนื่ ซ่งึ ระบไุ วว้ ่าเป็นสว่ นหนึ่งของงบการเงิน “มาตรฐานการบัญชี” หมายความว่า หลักการบัญชีและวิธีปฏิบัติ ทางการบัญชีท่ีรับรองท่ัวไป หรือมาตรฐานการบัญชีท่ีกาหนดตามกฎหมายว่า ดว้ ยการนนั้
“ผู้มีหน้าที่จัดทาบัญชี” หมายความว่า ผู้มีหน้าที่จัดให้มีการทาบัญชี ตาม พระราชบัญญัตินี้ “ผู้ทาบัญชี” หมายความว่า ผู้รับผิดชอบในการทาบัญชีของผู้มีหน้าที่จัดทา บญั ชไี ม่ว่าจะไดก้ ระทาในฐานะเป็นลกู จา้ งของผูม้ หี นา้ ท่ีจดั ทาบญั ชีหรอื ไม่ก็ตาม “สารวัตรใหญ่บัญชี” หมายความว่า อธิบดี และให้หมายความถึงผู้ซึ่งอธิบดี มอบหมายดว้ ย “สารวัตรบัญชี” หมายความว่า ผู้ซึ่งอธิบดีแต่งต้ังให้เป็นสารวัตรบัญชีประจา สานกั งานบญั ชีประจาทอ้ งที่ “อธบิ ด”ี หมายความวา่ อธิบดีกรมทะเบยี นการค้า “รฐั มนตรี” หมายความว่า รฐั มนตรผี รู้ ักษาการตามพระราชบัญญตั ินี้
ผ้มู ีหนา้ ที่จัดทาบญั ชี มาตรา 8 ใหห้ า้ งหนุ้ ส่วนจดทะเบยี น บริษัทจากดั บริษทั มหาชนจากดั ท่จี ัดตั้งขน้ึ ตาม กฎหมายไทย นติ ิบคุ คลทีต่ ้งั ขึ้นตามกฎหมายต่างประเทศทีป่ ระกอบธรุ กิจในประเทศไทย กิจการ รว่ มคา้ ตามประมวลรัษฎากร เปน็ ผมู้ หี น้าท่จี ัดทาบัญชี และต้องจดั ใหม้ ีการทาบญั ชสี าหรับ การ ประกอบธรุ กิจของตนโดยมีรายละเอียด หลักเกณฑ์และวิธกี ารตามที่บัญญตั ไิ ว้ในพระราชบัญญัตนิ ้ี มาตรา 10 ผ้มู หี น้าที่จัดทาบัญชีตอ้ งปิดบัญชคี ร้งั แรกภายในสิบสองเดอื นนบั แต่วันเริม่ ทา บัญชที ีก่ าหนดตามมาตรา 8 วรรคหกหรือวันเรม่ิ ทาบัญชีตามมาตรา 9 แล้วแตก่ รณี และปดิ บญั ชี ทุกรอบสิบสองเดอื นนับแตว่ นั ปดิ บญั ชคี ร้งั ก่อน เวน้ แต่ 1. เม่ือได้รับอนุญาตจากสารวัตรใหญ่บัญชีหรือสารวัตรบญั ชใี ห้เปล่ียนรอบบญั ชแี ลว้ อาจ ปิดบัญชกี ่อนครบรอบสิบสองเดอื นได้ 2. ในกรณมี หี น้าที่จัดทาบญั ชตี ามมาตรา 8 วรรคสอง ใหป้ ดิ บัญชีพรอ้ มกบั สานักงานใหญ่
มาตรา 11 ผู้มีหน้าที่จัดทาบัญชีซึ่งเป็นห้างหุ้นส่วนจดทะเบียนท่ีจัดต้ังข้ึนตาม กฎหมายไทย นิติบุคคลท่ีต้ังขึ้นตามกฎหมายต่างประเทศ และกิจการร่วมค้าตาม ประมวลรัษฎากร ต้องจัดทางบการเงิน และย่ืนงบการเงินดังกล่าวต่อสานักงานกลาง บัญชี หรือสานักงานบัญชีประจาท้องที่ภายในห้าเดือนนับแต่วันปิดบัญชีตามมาตรา 10 สาหรับกรณีของบริษัทจากัดหรือบริษัทมหาชนจากัดที่จัดตั้งตามกฎหมายไทย ให้ยื่น ภายในหนึ่งเดือนนับแตว่ ันที่งบการเงินนั้นได้รับอนุมัติในท่ีประชุมใหญ่ ท้ังนี้ เว้นแต่มีเหตุ จาเป็นทาให้ผู้มีหน้าที่จัดทาบัญชีไม่สามารถจะปฏิบัติตามกาหนดเวลาดังกล่าวได้ อธิบดี อาจพิจารณาสัง่ ให้ขยายหรือเล่ือนกาหนดเวลาออกไปอกี ตาม ความจาเป็นแกก่ รณีได้
มาตรา 12 ในการจัดทาบัญชผี ู้มีหนา้ ท่จี ัดทาบญั ชตี ้องส่งมอบเอกสารทต่ี อ้ งใช้ ประกอบการลงบัญชใี ห้แก่ผู้ทาบัญชใี หถ้ ูกต้องครบถ้วน เพือ่ ใหบ้ ญั ชที ีจ่ ดั ทาข้นึ สามารถแสดงผล การดาเนนิ งาน ฐานะการเงนิ หรอื การเปลีย่ นแปลงฐานะการเงินทเี่ ปน็ อยู่ตามความเปน็ จริงและ ตามมาตรฐานการบญั ชี มาตรา 13 ผมู้ ีหน้าทีจ่ ดั ทาบัญชตี อ้ งเกบ็ รกั ษาบญั ชีและเอกสารทตี่ อ้ งใชป้ ระกอบ การ ลงบญั ชไี ว้ ณ สถานท่ที าการ หรือสถานท่ีที่ใชเ้ ปน็ ทท่ี าการผลิตหรอื เก็บสนิ ค้าเป็นประจาหรือ สถานทที่ ใ่ี ชเ้ ป็นที่ทางานเป็นประจา เวน้ แต่ผูม้ ีหน้าที่จดั ทาบัญชจี ะได้รับอนญุ าตจากสารวตั รใหญ่ บญั ชี หรอื สารวัตรบญั ชี ให้เก็บรกั ษาบัญชีและเอกสารที่ต้องใชป้ ระกอบการลงบัญชีไว้ ณ สถานที่ อนื่ ได้ การขออนญุ าตและการอนญุ าตตามวรรคหนึ่งใหเ้ ปน็ ไปตามหลักเกณฑแ์ ละวธิ ีการที่อธิบดี กาหนด และระหว่างรอการอนญุ าตให้ผูม้ ีหน้าท่ีจดั ทาบญั ชเี ก็บรกั ษาบัญชแี ละเอกสารทตี่ อ้ งใช้ ประกอบการลงบญั ชไี ว้ในสถานท่ีทีย่ ่นื ขอนนั้ ไปพลางกอ่ นได้
ในกรณที จี่ ดั ทาบัญชดี ว้ ยเคร่ืองคอมพิวเตอรห์ รือเครอื่ งมอื อื่นใด ในสถานที่อื่นใด ใน ราชอาณาจักร ทม่ี ใิ ชส่ ถานท่ีตามวรรคหนึ่ง แต่มกี ารเชือ่ มโยงเครือขา่ ยคอมพิวเตอร์หรือ เครื่องมือนัน้ มายังสถานท่ตี ามวรรคหนงึ่ กรณีดงั กล่าวนใี้ ห้ถอื ว่าได้มกี ารเกบ็ รกั ษาบัญชีไว้ ณ สถานทตี่ ามวรรคหนงึ่ แล้ว มาตรา 14 ผู้มีหนา้ ทจ่ี ดั ทาบญั ชีตอ้ งเกบ็ รกั ษาบัญชีและเอกสารท่ีตอ้ งใช้ประกอบการ ลงบัญชีไวเ้ ป็นเวลาไมน่ ้อยกว่าหา้ ปี นับแต่วนั ปดิ บัญชีหรอื จนกวา่ จะมกี ารส่งมอบบัญชีและ เอกสารตามมาตรา 17 เพ่ือประโยชน์ในการตรวจสอบบญั ชีของกิจการประเภทใดประเภทหนงึ่ ใหอ้ ธิบดโี ดย ความเหน็ ชอบของรัฐมนตรีมีอานาจกาหนดใหผ้ ูม้ ีหน้าทีจ่ ัดทาบัญชเี ก็บรกั ษาบัญชแี ละเอกสารที่ ต้องใชป้ ระกอบการลงบญั ชไี วเ้ กินหา้ ปี แตต่ ้องไมเ่ กนิ เจ็ดปไี ด้
มาตรา 17 เม่ือผู้มีหน้าที่จัดทาบัญชีเลิกประกอบธุรกิจด้วยเหตุใดๆ โดยมิได้มีการ ชาระบัญชี ใหส้ ่งมอบบัญชีและเอกสารท่ีต้องใช้ประกอบการลงบัญชีแก่สารวัตรใหญ่บัญชี หรือสารวัตรบัญชีภายในเก้าสิบวันนับแต่วันเลิกประกอบธุรกิจ และให้สารวัตรใหญ่บัญชี หรือสารวัตรบัญชี เก็บรักษาบัญชีและเอกสารท่ีต้องใช้ประกอบการลงบัญชีดังกล่าวไว้ไม่ นอ้ ยกว่าห้าปี มาตรา 19 ผู้มีหน้าที่จัดทาบัญชีต้องจัดให้มีผู้ทาบัญชีซ่ึงเป็นผู้มีคุณสมบัติตามที่ อธิบดีกาหนด ตามมาตรา 7(6) เพื่อจัดทาบัญชีตามพระราชบัญญัตินี้ และมีหน้าที่ ควบคุมดแู ลผู้ทาบญั ชีให้จัดทาบญั ชีตรงต่อความเปน็ จรงิ และถกู ต้องตามพระราชบัญญัตนิ ้ี
มาตรา 17 เม่ือผู้มีหน้าที่จัดทาบัญชีเลิกประกอบธุรกิจด้วยเหตุใดๆ โดยมิได้มีการ ชาระบัญชี ให้ส่งมอบบัญชีและเอกสารท่ีต้องใช้ประกอบการลงบัญชีแก่สารวัตรใหญ่บัญชี หรอื สารวัตรบัญชภี ายในเกา้ สบิ วนั นับแตว่ ันเลกิ ประกอบธุรกจิ และใหส้ ารวัตรใหญ่บัญชีหรือ สารวัตรบญั ชี เกบ็ รักษาบัญชีและเอกสารท่ีตอ้ งใช้ประกอบการลงบญั ชดี งั กล่าวไว้ไม่น้อยกว่า หา้ ปี มาตรา 19 ผู้มีหน้าที่จัดทาบัญชีต้องจัดให้มีผู้ทาบัญชีซึ่งเป็นผู้มีคุณสมบัติตามท่ี อธิบดีกาหนด ตามมาตรา 7(6) เพื่อจัดทาบัญชีตามพระราชบัญญัติน้ี และมีหน้าท่ี ควบคุมดแู ลผู้ทาบญั ชีใหจ้ ัดทาบัญชีตรงตอ่ ความเป็นจริงและถกู ต้องตามพระราชบัญญตั นิ ้ี
ผู้มีหน้าที่จัดทาบัญชีซ่ึงเป็นบุคคลธรรมดาจะเป็นผู้ทาบัญชีสาหรับกิจการของ ตนเองกไ็ ด้ มาตรา 20 ผู้ทาบัญชีต้องจัดทาบัญชีเพื่อให้มีการแสดงผลการดาเนินงาน ฐานะ การเงนิ หรือการเปลี่ยนแปลงฐานะการเงินของผู้มีหน้าที่จัดทาบัญชีท่ีเป็นอย่ตู ามความเป็น จริงและตามมาตรฐานการบัญชี โดยมีเอกสารที่ต้องใช้ประกอบการลงบัญชีให้ถูกต้อง ครบถว้ น มาตรา 21 ในการลงรายการในบญั ชี ผ้ทู าบัญชตี ้องปฏบิ ตั ิดังตอ่ ไปน้ี 1. ลงรายการเป็นภาษาไทย หากลงรายการเป็นภาษาต่างประเทศให้มีภาษาไทย กากับ หรอื ลงรายการเปน็ รหสั บญั ชีให้มีคู่มือคาแปลรหสั ทีเ่ ป็นภาษาไทยไว้ 2. เขียนดว้ ยหมึก ดดี พมิ พ์ ตพี ิมพ์ หรือทาด้วยวธิ ีอืน่ ใดท่ไี ดผ้ ลในทานองเดียวกนั
พระราชบญั ญัติวิชาชีพบญั ชี พ.ศ. 2547 เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉบับนี้ คือ เน่ืองจากใน ปัจจุบันน้ีการประกอบ วิชาชีพบัญชีได้ขยายครอบคลุมออกไปหลายด้านไม่ว่า การทาบัญชี การสอบบัญชี การบัญชีบริหาร การวางระบบบัญชี การบัญชี ภาษีอากร การศึกษาและเทคโนโลยีการบัญชี หรือบริการด้านอ่ืน ซึ่งมีความ เกี่ยวข้องสัมพันธ์กับกิจกรรมในทางธุรกิจต่างๆ อย่างกว้างขวาง สมควร ส่งเสริมให้ ผู้ประกอบวิชาชีพบัญชีอยู่ภายใต้การดูแลของสภาวิชาชีพเดียวกัน เพ่ือเป็นศูนย์รวมและส่งเสริมความเป็นปึกแผ่น รวมทั้งให้ความรู้และพัฒนา ส่งเสริมมาตรฐานการประกอบวิชาชีพ เพื่อให้ ผู้ประกอบวิชาชีพมีคุณภาพ และมาตรฐาน และมีความก้าวหน้าในวิชาชีพ ตลอดจนเพื่อให้มีการควบคุม จรรยาบรรณการประกอบวิชาชีพ จึงจาเป็นต้องตราพระราชบัญญัตินี้ ในที่นี้ จะกลา่ วถงึ เฉพาะบางมาตราเท่านนั้
สภาวิชาชพี บญั ชี มาตรา 6 ให้มีสภาวิชาชีพบัญชี มีฐานะเป็นนิติบุคคล โดยมีวัตถุประสงค์ เพอ่ื สง่ เสรมิ และพฒั นาวชิ าชีพบัญชี มาตรา 7 สภาวิชาชพี บัญชีมีอานาจหนา้ ท่ี ดังต่อไปนี้ (1) สง่ เสริมการศกึ ษา การอบรม และการวจิ ัยเกี่ยวกับวิชาชพี บญั ชี (2) ส่งเสริมความสามัคคีและผดุงเกียรติของสมาชิก จัดสวัสดิการและ การสงเคราะห์ระหว่างสมาชิก (3) กาหนดมาตรฐานการบัญชี มาตรฐานการสอบบัญชี และมาตรฐาน อื่นทเี่ กย่ี วกับวชิ าชีพบัญชี (4) กาหนดจรรยาบรรณผูป้ ระกอบวิชาชพี บัญชี (5) รับขึ้นทะเบียนการประกอบวิชาชีพบัญชี ออกใบอนุญาต พักใช้ หรือ เพิกถอน ใบอนญุ าตผปู้ ระกอบวิชาชีพบัญชี
(6) รบั รองปริญญาหรอื ประกาศนียบัตรในวิชาการบัญชีของสถาบนั การศกึ ษาต่างๆ เพอื่ ประโยชน์ในการรับสมัครเปน็ สมาชกิ (7) รับรองความร้คู วามชานาญในการประกอบวิชาชีพบัญชี (8) รบั รองหลักสูตรการฝกึ อบรมเปน็ ผชู้ านาญการและการศึกษาต่อเนื่องในดา้ นต่างๆ ของผ้ปู ระกอบวิชาชพี บญั ชี (9) ควบคมุ ความประพฤติและการดาเนินงานของสมาชกิ และผู้ข้นึ ทะเบยี นอนั เก่ียวกับ การประกอบวชิ าชพี บญั ชใี หถ้ ูกต้องตามจรรยาบรรณแห่งวิชาชพี บญั ชี (10) ชว่ ยเหลือ แนะนา เผยแพร่ และให้บรกิ ารวิชาการแกป่ ระชาชนเกย่ี วกบั วิชาชพี บญั ชี (11) ออกข้อบังคบั สภาวิชาชพี บัญชี (12) เป็นตวั แทนของผปู้ ระกอบวชิ าชพี บญั ชี (13) ให้คาปรกึ ษาและเสนอแนะต่อรฐั บาลเกยี่ วกับนโยบายและปญั หาของวิชาชีพบัญชี (14) ดาเนนิ การอน่ื เพอ่ื ใหเ้ ป็นไปตามวตั ถุประสงคแ์ ละอานาจหนา้ ท่ีของสภาวชิ าชีพบัญชี ตามพระราชบญั ญตั ิน้ี
มาตรา 9 ภายใต้บังคับบทบัญญัติหมวด 5 การควบคุมการประกอบวิชาชีพ บัญชี ด้านการสอบบัญชีและหมวด 6 การควบคุมการประกอบวิชาชีพด้านการทาบัญชี ในกรณที ี่การประกอบ วิชาชพี บัญชีด้านใดมีผลกระทบต่อประโยชน์ได้เสียของประชาชน หรือเพื่อประโยชน์ที่จะให้มีการคุ้มครองประชาชนและพัฒนาหรือจัดระเบียบการ ประกอบวิชาชีพบัญชีด้านใด จะตรา พระราชกฤษฎีกากาหนดให้การประกอบวิชาชีพ บัญชดี ้านนัน้ ตอ้ งไดร้ ับใบอนุญาตหรือต้องขึ้นทะเบียนไวก้ บั สภาวชิ าชพี บญั ชีก็ได้
มาตรา 10 เมื่อมีพระราชกฤษฎีกาตามมาตรา 9 ใช้บังคับสาหรับ วิชาชีพด้านใด ห้ามมิให้ผู้ใดประกอบวิชาชีพบัญชีด้านนั้นเว้นแต่ได้รับ ใบอนุญาตหรือขึ้นทะเบียนกับสภาวิชาชีพบัญชีการขอรับใบอนุญาตการ อนญุ าตการออกใบอนญุ าตและการขึน้ ทะเบยี นผู้ประกอบวชิ าชพี ตามวรรคหน่ึง ให้เป็นไปตามแบบหลักเกณฑ์วิธีการและเง่ือนไขที่กาหนดในข้อบังคับสภา วิชาชีพบัญชีในการข้ึนทะเบียนประกอบวิชาชีพบัญชี สภาวิชาชีพบัญชีจะ กาหนดใหผ้ ู้ขึ้นทะเบียนซ่ึงมิได้เป็น สมาชิกต้องเสียค่าธรรมเนียมเป็นรายปีก็ได้ แต่จะกาหนดค่าธรรมเนียมดังกล่าวให้สูงกว่า ค่าบารุงสมาชิก และ คา่ ธรรมเนียมใบอนญุ าตทเี่ รียกเกบ็ จากสมาชกิ สภาวชิ าชีพบัญชีเป็นรายปีไม่ได้
การควบคุมการประกอบวชิ าชีพด้านการสอบบญั ชี มาตรา 38 ผู้ใดจะเป็นผู้สอบบญั ชรี บั อนญุ าตตอ้ งได้รับใบอนุญาตจากสภาวิชาชพี บัญชี การขอรบั ใบอนุญาต การอนญุ าต และการออกใบอนุญาตเป็นผู้สอบบัญชรี ับอนุญาต ให้เป็นไป ตามแบบและหลกั เกณฑท์ ี่กาหนดในข้อบงั คับสภาวิชาชีพบญั ชี การควบคมุ การประกอบวิชาชีพดา้ นการทาบัญชี มาตรา 44 ห้ามมิให้ผู้ใดประกอบวิชาชพี เป็นผู้ทาบัญชี เว้นแต่เป็นสมาชิกสภาวิชาชีพ บญั ชี หรอื ข้ึนทะเบียนไว้กับสภาวิชาชีพบัญชี หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการข้ึนทะเบียน ตามวรรคหนึง่ ให้เป็นไปตามข้อบังคับสภาวชิ าชีพบัญชี บทกาหนดโทษ มาตรา 65 ผู้ใดฝ่าฝืนมาตรา 10 ต้องระวังโทษจาคุกไม่เกินสามปีหรือปรับไม่เกินหก หมื่นบาท หรอื ทั้งจาทงั้ ปรับ
กรอบแนวคิดสาหรบั การรายงานทางการเงนิ สภาวิชาชีพบัญชี ในพระบรมราชูปถัมภ์ ได้ปรับปรุงแม่บทการบัญชี (ปรับปรุง 2 552) เพื่อให้สอดคล้องกับสภาพแวดล้อมธุรกิจในประเทศไทยและเพ่ือให้เป็นไปตาม เกณฑ์ท่ีกาหนดข้ึนโดยมาตรฐานการบัญชีระหว่างประเทศ เร่ือง กรอบแนวคิดสาหรับ การรายงานทางการเงิน ถึงแม้ว่ากรอบแนวคิดสาหรับการรายงานทางการเงิน จะกล่าวถึงแนวคิดหลัก เกี่ยวกับ การจัดทาและการนาเสนองบการเงินแก่ผู้ใช้งบการเงิน แต่ไม่ถือเป็นมาตรฐาน การรายงาน ทางการเงิน เน่ืองจากไม่ได้กาหนดรายละเอียดเก่ียวกับการวัดมูลค่าหรือ การเปดิ เผยขอ้ มลู สาหรับ การจดั ทางบการเงินโดยเฉพาะ
วตั ถปุ ระสงคแ์ ละสถานะ กรอบแนวคิดฉบับนี้กาหนดแนวคิดที่ใช้เป็นเกณฑ์ในการจัดทาและการนาเสนองบ การเงินสาหรับผูใ้ ช้ภายนอก วัตถุประสงค์ของกรอบแนวคิด คือ 1. เพ่ือช่วยคณะกรรมการฯ พัฒนามาตรฐานการรายงานทางการเงินในอนาคตและ ทบทวนมาตรฐานการรายงานทางการเงนิ ทีม่ ีอยู่ 2. เพ่ือช่วยคณะกรรมการฯ ส่งเสริมการทาให้กฎระเบียบ มาตรฐานการบัญชีและ กระบวนการเกี่ยวกับการนาเสนองบการเงนิ สอดคล้องกนั โดยให้เกณฑเ์ พื่อลดวิธปี ฏบิ ตั ิทางบญั ชี ที่เป็นทางเลือกตามทมี่ าตรฐานการรายงานทางการเงนิ อนุญาต 3. เพื่อช่วยหน่วยงานกาหนดมาตรฐานการรายงานทางการเงินของประเทศพัฒนา มาตรฐานการรายงานทางการเงนิ ของประเทศ 4. เพื่อช่วยผู้จัดทางบการเงินปฏิบัติตามมาตรฐานการรายงานทางการเงินและจัดการ กบั ประเด็นทย่ี งั ไม่ไดม้ กี ารนามาพจิ ารณากาหนดเปน็ มาตรฐานการรายงานทางการเงนิ
วตั ถุประสงคแ์ ละสถานะ 5. เพ่ือช่วยผูส้ อบบญั ชีในการแสดงความเหน็ ว่า งบการเงนิ เป็นไปตามมาตรฐาน การ รายงานทางการเงนิ หรอื ไม่ 6. เพอ่ื ชว่ ยผใู้ ช้งบการเงนิ ตคี วามข้อมลู ท่ีแสดงในงบการเงนิ ซง่ึ ไดจ้ ัดทาขึ้นตาม มาตรฐานการรายงานทางการเงนิ และ 7. เพือ่ ใหข้ อ้ มูลแกผ่ สู้ นใจงานของคณะกรรมการฯ เกี่ยวกบั แนวทางการกาหนด มาตรฐานการรายงานทางการเงนิ กรอบแนวคิดนไ้ี มใ่ ชม่ าตรฐานการรายงานทางการเงิน ดังน้นั จึงไมไ่ ด้กาหนดมาตรฐานตา่ งๆ สาหรับประเด็นการวดั มลู คา่ หรอื การเปิดเผยขอ้ มลู ในเรอ่ื งใด เรื่องหนงึ่ กรอบแนวคิดน้ไี มม่ ีเร่ืองใดท่อี ยูเ่ หนือกวา่ มาตรฐานการรายงานทางการเงิน
วัตถุประสงค์ของการรายงานทางการเงินเพือ่ วัตถปุ ระสงค์ทัว่ ไป วัตถปุ ระสงค์ของการรายงานทางการเงินเพ่ือวัตถุประสงค์ท่ัวไป คือ การให้ข้อมูลทางการเงินเก่ียวกับกิจการที่เสนอรายงานที่มีประโยชน์ต่อผู้ ลงทุน ผู้ให้กู้ยืม หรือเจ้าหน้ีอ่ืนท้ังในปัจจุบันและในอนาคตเพ่ือตัดสินใจ เกี่ยวกับการให้ทรัพยากรแก่กิจการ การตัดสินใจเหล่านี้เกี่ยวกับการซื้อขาย หรือถือตราสารทนุ และตราสารหนี้ และการให้หรือชาระเงินกู้และสินเช่ือใน รูปแบบอืน่ ผู้ใช้กลุ่มอื่น เช่น หน่วยงานกากับดูแลและสาธารณชนนอกจากผู้ ลงทุน ผู้ให้กู้และเจ้าหน้ีอื่น อาจพบว่ารายงานทางการเงินเพื่อวัตถุประสงค์ ท่ัวไปมีประโยชน์ อยา่ งไรก็ดี รายงานเหล่าน้ันไม่ได้ มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อ ประโยชนข์ องผูใ้ ช้กลุ่มอ่นื ดังกล่าว
ลกั ษณะเชงิ คุณภาพของข้อมลู ทางการเงนิ ทีม่ ปี ระโยชน์ หากต้องการใหข้ ้อมูลทางการเงินมีประโยชน์ ข้อมูลน้ันต้องเก่ียวข้อง กับการตัดสินใจและเป็นตัวแทนอันเท่ียงธรรมของสิ่งที่ต้องการนาเสนอ ประโยชน์ของขอ้ มูลทางการเงนิ จะเพิ่มขึ้น ถ้าข้อมูลน้ันเปรียบเทียบได้ พิสูจน์ ยืนยันได้ ทันเวลาและเขา้ ใจได้ 1. ลักษณะเชิงคุณภาพพื้นฐาน คือ ความเก่ียวข้องกับการตัดสินใจ และความเปน็ ตัวแทนอันเทีย่ งธรรม 2. ลักษณะเชิงคุณภาพเสริม คือ ความสามารถเปรียบเทียบได้ ความสามารถพสิ จู น์ยนื ยนั ได้ ความทนั เวลา และความสามารถเขา้ ใจได้
กรอบแนวคิด ข้อความส่วนที่เหลือจากแม่บทการบัญชี (ปรับปรุง 2552) ข้อสมมติ การดาเนนิ งานตอ่ เนอื่ ง โดยท่ัวไป งบการเงินจัดทาขึ้นตามข้อสมมติที่ว่ากิจการจะ ดาเนินงานอย่างต่อเนื่อง (Going Concern) และดารงอยู่ต่อไปใน อนาคตท่ีคาดการณ์ได้ ดังน้ัน จึงสมมติว่ากิจการไม่มีเจตนาหรือมี ความจาเป็นท่ีจะเลิกกิจการ หรือลดขนาดของการดาเนินงานอย่างมี สาระสาคัญ หากกิจการมีเจตนาหรือความจาเป็นดังกล่าว งบการเงิน อาจต้องจัดทาโดยใช้เกณฑ์อ่ืน และต้องเปิดเผยเกณฑ์น้ันในงบ การเงนิ
องค์ประกอบของงบการเงิน งบการเงนิ แสดงถงึ ผลกระทบทางการเงินของรายการและเหตุการณ์อ่ืน โดยการจัดประเภทรายการและเหตุการณ์อื่นตามลักษณะเชิงเศรษฐกิจ ประเภทของรายการดังกล่าวเรียกว่าองค์ประกอบของงบการเงิน องค์ประกอบ ซึ่งเก่ียวข้องโดยตรงกับการวัดฐานะการเงินในงบดุล (งบแสดงฐานะการเงิน) ไดแ้ ก่ สินทรัพย์ หนี้สิน และส่วนของเจ้าของ องค์ประกอบซึ่งเกี่ยวข้องโดยตรง กับการวัดผลการดาเนินงานในงบกาไรขาดทุน ได้แก่ รายได้และค่าใช้จ่าย โดยทั่วไป งบแสดงการเปลี่ยนแปลงฐานะการเงินสะท้อนถึงองค์ประกอบในงบ กาไรขาดทุนและการเปลี่ยนแปลง องค์ประกอบในงบดุล (งบแสดงฐานะ การเงิน) ดังน้ันกรอบแนวคิดนี้จึงมิได้ระบุองค์ประกอบ ของงบแสดงการ เปลยี่ นแปลงฐานะการเงนิ ไว้เปน็ การเฉพาะ
รปู แบบของธุรกิจ ในการดาเนินธรุ กจิ น้ัน เจ้าของกจิ การหรือผ้ลู งทุนจะจดั ตั้งธรุ กจิ ในรปู แบบใดข้นึ อยูก่ ับสง่ิ ตอ่ ไปนี้ 1. เงินทุน 2. ลกั ษณะของการดาเนนิ ธุรกจิ 3. จานวนผ้ลู งทนุ 4. นโยบายของเจา้ ของกิจการหรอื ผ้ลู งทุน
รูปแบบของธรุ กิจแบ่งออกเปน็ 3 รูปแบบ คอื 1. กิจการเจ้าของคนเดียว (Sole proprietorship) เป็นกิจการที่มีบุคคลคน เดียวเป็นเจ้าของ เงินทุนจะมาจากบุคคลคนเดียว ผลกาไรขาดทุนท่ีเกิดข้ึนจะเป็นของ เจ้าของกิจการ แต่เพียงผู้เดียว รวมท้ังหนี้สินและภาระผูกพันใดๆ ผู้เป็นเจ้าของจะต้อง รับผดิ ชอบแต่เพียงผเู้ ดยี ว 2. ห้างหุ้นส่วน (Partnerships) เป็นกิจการท่ีมีบุคคลต้ังแต่ 2 คนข้ึนไปมาลงทุน ร่วมกันโดยมีวัตถุประสงค์ในการแบ่งกาไรขาดทุนกัน ส่วนความรับผิดชอบในหน้ีสินและ ภาระผูกพันใดๆ ขึ้นอยู่กับประเภทของผู้เป็นหุ้นส่วนและประเภทของห้างหุ้นส่วน ซ่ึงแบ่ง ออกเป็น 2 ประเภท คอื 1. หา้ งหุ้นส่วนจากัด (Limited Partnerships) 2. ห้างห้นุ สว่ นสามัญ (Ordinary Partnerships)
3. บรษิ ัทจากัด (Company Limited or Corporation) คือ บริษัทประเภทซึ่ง ต้ังขึ้นด้วยการ แบ่งทุนออกเป็นหุ้น แต่ละหุ้นมีมูลค่าเท่ากัน โดยผู้ถือหุ้นต่างรับผิดจากัดไม่เกิน จานวนเงนิ ท่ีตนยงั ส่งใช้ไม่ครบ บรษิ ทั จากดั แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คอื 1. บริษทั เอกชนจากัด (Private Company Limited) 2. บริษัทมหาชนจากัด (Public Company Limited) ลักษณะของการดาเนนิ ธุรกจิ ไมว่ า่ จะจัดตงั้ ในรูปแบบใดแบง่ ออกเป็น 2 ลกั ษณะ คือ 1. ธุรกจิ ให้บรกิ าร (Service Business) 2. ธุรกิจเก่ียวกับสินค้า เป็นธุรกิจที่ดาเนินกิจการจาหน่ายสินค้าแบ่งออกเป็น 2 ลักษณะ คือ - ธุรกจิ ซือ้ ขายสินค้าหรอื ซ้ือมาขายไป (Merchandising Business) - ธุรกจิ อตุ สาหกรรม/กจิ การผลิต (Manufacturing Business)
กจิ กรรมพื้นฐานทางธรุ กจิ ในการดาเนินธุรกิจไม่ว่าจะเป็นธุรกิจใดหรือจัดต้ังในรูปแบบใด จะมีกิจกรรมพ้ืนฐาน เกดิ ข้ึน 3 กจิ กรรม คอื 1. กิจกรรมในการจัดหาเงิน (Financing Activities) หมายถึง กิจกรรมในการจัดหา เงนิ ทนุ เพอื่ เริม่ ตน้ ดาเนินธุรกจิ และรวมถึงการจัดหาเงนิ ทุนเพื่อขยายกจิ การในอนาคต 2. กิจกรรมในการลงทุน (Investing Activities) หมายถึง กิจกรรมเพื่อให้ได้มาซึ่ง สนิ ทรพั ย์ เพื่อนามาใชใ้ นการดาเนินงาน 3. กิจกรรมในการดาเนินงาน (Operating Activities) หมายถึง กิจกรรมที่ก่อให้เกิด รายได้และค่าใช้จ่าย ถ้ากิจกรรมที่ก่อให้เกิดรายได้มากกว่าค่าใช้จ่ายธุรกิจจะมีกาไร ถ้ากิจกรรม ทกี่ อ่ ให้เกดิ รายไดน้ อ้ ยกว่าค่าใช้จา่ ยธุรกจิ จะขาดทนุ
การเขียนตัวเลขตามหลกั บัญชี 1. เขยี นด้วยลายมือบรรจงและเขยี นให้ชดั เจนโดยให้มีขนาดพอเหมาะไม่เล็กหรอื ใหญ่เกินไป 2. ใสเ่ ครื่องหมายจลุ ภาค ( , ) คัน่ ตัวเลข ถา้ จานวนเงินเปน็ ตวั เลข 3 หลักข้ึนไป เช่น 11,525 1,5 00,500 เปน็ ต้น 3. เขียนให้ชิดเส้นทางด้านขวา ถ้าเขียนลงในช่องจานวนเงิน แต่ถ้าไม่ได้เขียนลงในช่องจานวน เงิน ใหใ้ สจ่ ดุ ( . ) และเครอ่ื งหมายขีด ( - ) แสดงวา่ สิน้ สุดแล้ว เชน่ 3,000.- 4. เขียนจานวนเงนิ เป็นตวั อกั ษรกากับทกุ คร้งั เพื่อปอ้ งกันความผดิ พลาดและการทุจรติ 5. เขยี นจานวนเงนิ ให้ตรงหลัก กรณีทม่ี ีหลายบรรทัด 6. การเขยี น วนั เดอื น ปี ให้ใชห้ ลกั เกณฑ์ดังน้ี ถ้าขอ้ มูลอยูใ่ นหน้าเดยี วกนั ใหเ้ ขียนปี พ.ศ. เพียง ครงั้ เดียว การเขยี นเดือน ให้ใช้อักษรย่อ 7. การแก้ไขตัวเลขทีเ่ ป็นจานวนเงนิ หา้ มใชย้ างลบ นา้ ยาลบคาผดิ หรอื เทปลบคาผดิ แต่ให้ขดี ฆ่า ด้วยปากกา โดยเขียนเพียงเส้นเดียวเพื่อให้เห็นจานวนเงินเดิมที่ผิด และเขียนจานวนท่ีถูกต้องข้างบน พร้อมลงลายมือชอ่ื กากับ
Search
Read the Text Version
- 1 - 50
Pages: