Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore พระนเรศวร-สมัยอยุธยา-4

พระนเรศวร-สมัยอยุธยา-4

Published by Janjaras Tangmankong, 2021-07-21 12:56:39

Description: พระนเรศวร-สมัยอยุธยา-4

Search

Read the Text Version

สมยั อยธุ ยา สมเด็จพระนเรศวรมหาราช

พระราชสมภพ : เมอ่ื พ.ศ. 2098 ทีพ่ ระราชวังจนั ทน์ สวรรคต : เมือ่ วนั ที่ 25 เมษายน พ.ศ. 2148 สริ พิ ระชนมพรรษา 49 พรรษา ทรงพระนามเดมิ วา่ พระองคด์ า ทรงเป็นโอรสของ สมเดจ็ พระมหาธรรมราชา และ พระวิสุทธิกษัตรยิ ์

สมเด็จพระนเรศวรมหาราช มีพระนามเดิมว่าพระนเรศ หรือ \"พระองค์ ดา\" เป็นพระราชโอรสในสมเด็จพระมหาธรรมราชาธิราชและพระวิสุทธิกษัตรีย์ เสด็จพระราชสมภพเม่ือ พ.ศ. 2098 ที่พระราชวังจันทน์ เมืองพิษณุโลก มี พระเชษฐภคินีคือพระสุพรรณกัลยา มีพระอนุชาคือสมเด็จพระเอกาทศรถ (องค์ ขาว) เสดจ็ ขึน้ ครองราชย์เมือ่ วันท่ี 29 กรกฎาคม พ.ศ. 2133 ครองราชสมบัติ 15 ปี เสด็จสวรรคตเม่อื วันที่ 25 เมษายน พ.ศ. 2148 สริ พิ ระชนมพรรษา 49 พรรษา

เ ก ร็ ด ค ว า ม รู้ ราชการสงครามในสมเด็จพระนเรศวรมหาราช เป็น เหตุการณ์ท่ียิ่งใหญ่และสาคัญย่ิงของชาติไทย พระองค์ได้กู้อิสรภาพของไทยจากการเสียกรุงศรี อยุธยาครั้งแรก และได้ทรงแผ่อานาจของ ราชอาณาจักรไทย อย่างกว้างใหญ่ไพศาล นับต้ังแต่ ประเทศพมา่ ตอนใตท้ ั้งหมด นั่นคือ จากฝ่งั มหาสมุทร อินเดียทางด้านตะวันตก ไปจนถึงฝั่งมหาสมุทร แปซิฟิกทางด้านตะวันออก ทางด้านทิศใต้ตลอดไป ถึงแหลมมลายู ทางด้านทิศเหนือก็ถึงฝั่งแม่น้าโขง โดยตลอด และยังรวมไปถงึ รฐั ไทใหญ่บางรฐั



พระมหาอุปราชายกทัพมาครั้งแรก สมเด็จพระนเรศวรเสวยราชยไ์ ด้ 8 เดือนก็เกิดข้าศึกพม่าอีก แต่ในเวลาน้ันพระเจ้าหงสาวดีทรงอยู่ในวัยชราทุพพลภาพ ไม่ทรง สามารถจะไปทาสงครามเอาได้ดังแต่ก่อน จึงจัดกองทัพยกไปตี เมืองคังสมเด็จพระนเรศวรจงึ รบี เสดจ็ ยกกองทพั หลวง ออกไปกบั สมเดจ็ พระเอกาทศรถกองทพั พม่าถูกไทย ฆา่ ฟันล้มตายเป็นอันมาก ที่เหลือกพ็ ากนั พ่ายหนี

สงครามยทุ ธหัตถี เป็นสงครามที่เกิดข้ึนในปี พ.ศ. 2135 ระหว่างกรุงศรี อยุธยากับกรุงหงสาวดี ผลของสงครามคร้ังน้ันปรากฏว่า อยุธยาเปน็ ฝ่ายชนะถงึ แม้จะมีกาลงั พลน้อยกวา่

สงครามตเี มอื งทะวายและตะนาวศรี ในการรบทะวายและตะนาวศรีครั้งนี้แม่ทัพท้ังสอง คอื เจ้าพระยาจักรีและพระยาคลังกลมเกลียวกันเป็นอย่างย่ิง ถึงแม้สมเด็จพระนเรศวรจะได้แบ่งหน้าทีใ่ หต้ ีคนละเมือง กย็ ัง มกี ารติดตอ่ ชว่ ยเหลอื กันและกัน ในทส่ี ดุ แมท่ พั ทง้ั สองกร็ บชนะทั้งสองเมืองและ บอกเข้ามายังกรงุ ศรอี ยุธยา

ตไี ด้หวั เมอื งมอญ ปี พ.ศ. 2137 พระยาลาว เจ้าเมืองเมาะตะมะ เกิดวิวาทกับ เจ้าพระยาพะโร เจ้าเมืองเมาะลาเลิง พระยาพะโรกลัวพระยาลาวจะมาตีเมาะ ลาเลิงมาขอความชว่ ยเหลือสมเด็จพระนเรศวร สมเด็จพระนเรศวรจึงยอม ช่วยเหลือพระยาพะโรทันที ฝ่ายข้างพระยาลาวเจ้าเมืองเมาะตะมะ ก็ไปขอ ความช่วยเหลือทางหงสาวดีบ้าง ทางหงสาวดี ให้พระเจา้ ตองอูยกทพั มาชว่ ย แต่กองทพั ไทย กบั มอญเมาะลาเลงิ ไดต้ ีทัพพระเจา้ ตองอูแตกไป

ตเี มืองหงสาวดคี รง้ั แรก สมเดจ็ พระนเรศวรเสดจ็ ยกกองทพั หลวงไปตีเมือง หงสาวดอี อกจากพระนคร เม่ือวันอาทติ ย์ ขน้ึ 3 คา่ เดือนอา้ ย ปมี ะแม พ.ศ. 2138 มีกาลังพล 120,000 คน เดินทัพไปถึงเมืองเมาะตะมะ แล้วรวบรวมกองทัพมอญเข้ามาสมทบ จากนั้น ได้เสด็จยกกองทัพหลวงไป ยังเมืองหงสาวดี เขา้ ลอ้ มเมอื งไว้ กองทพั ไทยล้อมเมืองหงสาวดีอยู่ 3 เดือน และได้เข้าปล้นเมือง เม่ือวัน จันทร์ แรม 13 ค่า เดือน 4 ครัง้ หนงึ่ แตเ่ ข้าเมอื งไม่ได้ ครัน้ เมือ่ ทรงทราบว่าพระเจ้าแปร พระเจ้าอังวะ พระ เจา้ ตองอู ได้ยกกองทพั ลงมาช่วยพระเจ้านันทบเุ รงถึงสามเมือง เหน็ วา่ ขา้ ศกึ มีกาลังมากนักจึงทรงให้เลิก ทัพกลับ เมื่อวนั สงกรานต์ เดือน 5 ปีวอก พ.ศ. 2139 และได้กวาดตอ้ นครอบครวั ในหวั เมืองหงสาวดี มา เปน็ เชลยเปน็ อันมาก และกองทัพขา้ ศกึ มิไดย้ กติดตามมารบกวนแตอ่ ย่างใด

ตเี มอื งหงสาวดคี ร้ังทสี่ อง พ.ศ. 2142 สมเด็จพระนเรศวรทรงมุ่งหมายจะตีเอาเมืองหงสาวดใี หไ้ ด้ จึงตระเตรียมทัพยก ไปทัง้ ทางบกและทางเรอื แต่ตอ้ งไปเสียเวลาปราบปรามกบฏตามชายแดนซึ่งพระเจา้ ตองอูนดั จินหน่องได้ ยยุ งให้กระด้างกระเดื่องเปน็ เวลาถงึ 3 เดือนเศษ จึงเดินทัพถึงเมืองหงสาวดีช้ากว่ากาหนด สมเด็จพระ นเรศวรได้ทรงทราบว่าพระเจ้าตองอูนัดจินหน่องไม่ซื่อตรงตามคาม่ันท่ีได้ให้ไว้ก็ทรงพระพิโรธ จึงเสด็จ ยกทัพตามข้นึ ไปตีเมืองตองอู ไดเ้ ขา้ ล้อมเมอื งตองออู ย่ถู งึ 2 เดอื นกไ็ ม่อาจตีหกั เอาได้ เพราะเมืองตองอู มีชัยภูมิที่ดี ชาวเมืองก็ต่อสู้เข้มแข็ง ประกอบกับฝนตกชุกและทัพไทยขาดเสบียงอาหาร สมเด็จพระ นเรศวรจึงทรงพระกรณุ าโปรดเกล้าฯให้ ยกกองทพั กลบั คืนกรงุ ศรีอยธุ ยา

ด้านการต่างประเทศสมเด็จพระนเรศวรมหาราชทรง พยายามรักษาความสัมพันธ์อันดีกับต่างประเทศท้ังด้านการฑูต และการค้า พระองค์ทรงตระหนักถึงความสาคัญของการค้า นานาชาติเปน็ อย่างยงิ่ โดยเฉพาะการคา้ ทางทะเลเพ่อื ชว่ ยฟน้ื ฟูเศรษฐกิจอยุธยาซง่ึ ไดร้ บั ความเสยี หาย จากสงคราม

เมื่อข้ึนครองราชย์ต่อจากพระราชบิดา สมเดจ็ พระนเรศวรได้เร่ิมขยายอานาจไปยังเมอื ง ต่าง ๆ เช่น ล้านช้าง เชียงใหม่ ลาปางและ กัมพูชาไดต้ กเป็นเมืองขึน้ ของอยธุ ยา



ท่ามกลางความยง่ิ ใหญ่ เกรียงไกร และนา่ เกรงขามย่งิ นายณัฐวฒุ ิ เขยี วประแดง เลขท่ี 8 นกั นน้ั พระองคท์ า่ นยงั ทรงมนี า้ พระราชหฤทยั อนั เป่ยี ม ดว้ ยพระมหากรณุ าธคิ ณุ ตอ่ ผู้ยากไร้ การนาไปใช้ส่กู ารปฏบิ ัติตน การมีน้าใจ : เม่ือเจอคนตาบอดเดินข้ามถนนด้วย ตนเองไมไ่ ด้ จงึ ช่วยพาคนตาบอดขา้ มถนน

พระองค์ทรงเป็นนักรบที่ยิ่งใหญ่ รักชาติเหนือสิ่งใด และทรงห่วงใยต่อผู้ยากไร้ ซ่ึงเป็นประชาชนคนส่วน ใหญ่ของแผ่นดิน ทุกข์ของแผ่นดิน ก็คือทุกข์ของ พระองค์ การนาไปใช้สูก่ ารปฏิบตั ติ น ความหว่ งใย : เพื่อนทาการบา้ นไม่เป็นเราจึงสอนเพ่อื น เพราะไม่อยากให้เพ่อื นเกดิ ภาวะเครียด นางสาวจนั ทร์จรสั ต้งั ม่นั คง เลขท่ี 12

ความกล้าหาญ เด็ดขาด คุณธรรมในการทาศึกสงคราม นางสาววิยะดา มีลาภหลาย เลขที่ 29 ทรงมีไหวพริบ และความสามารถในการใช้การวิเคราะห์ วางแผน สติปัญญาในการทาศึก และการปกครอง จน พระองค์ประสบความสาเร็จในการทาศึกและการปกครอง การนาไปใช้สู่การปฏิบตั ติ น การมีสติ : เมื่อทาการบ้านควรมีสติ เพื่อไม่ให้เกิดความ ผดิ พลาดทาใหต้ อ้ งแกไ้ ขภายหลงั

เม่ือยามท่ีสงครามขึ้นใครเล่าจะออกไปรบแทนท่านพ่อ จากโคลงนี้ ไม่ได้แสดงให้เราเห็นถึงความกตัญญูที่มีต่อพระราชบิดาของพระ มหาอุปราชาเพียงอย่างเดียว แต่ยังมีความกตัญญู ความจงรัก ภกั ดี ตอ่ ชาตบิ ้านเมืองอกี การนาไปใช้สกู่ ารปฏบิ ัตติ น ความจงรกั ภกั ดีและความกตญั ญู : บดิ ามารดาเป็นผูใ้ หก้ าเนดิ ส่ิง ท่คี วรตอบแทนคอื ความจงรกั ภกั ดแี ละความกตญั ญู นางสาวศริ นิ ันท์ ดาเนินงาม เลขท่ี 39 เช่น ช่วยทางานบ้านตา่ งๆ และดูแลพวกท่านยามพวกทา่ นเจบ็ ปว่ ย

สมเดจ็ พระนเรศวรทรงเป็นพระมหากษัตรยิ ์พระองค์หนึ่งของกรุงศรีอยุธยาที่มี พระราชกรณียกิจอนั ยง่ิ ใหญ่และเป็นประโยชน์ต่อราชอาณาจกั รสยามสืบสายมาถึงปัจจุบัน พระองค์ทรงเรียนรู้เร่ืองราวเก่ียวกับการประกาศอิสรภาพต้ังแต่ครั้งอยู่เมืองพม่า และทรง ใช้เวลา 8 ปี เต็มในหงสาวดีในฐานะเชลยเพ่ือศึกษายุทธศาสตร์ของพม่า พระองค์ทรง ศึกษาวชิ าศิลปะศาสตร์ วิชาพิชัยสงคราม ทรงนิยมในวิชาการรบทัพจับศึก พระองค์ทรงมี โอกาสศึกษา ท้ังภายในราชสานักไทย และราชสานักพม่า มอญ และได้ทราบยุทธวิธีของ ชาวต่างชาติต่างๆ ทีม่ ารวมกนั อยใู่ นกรงุ หงสาวดีเป็นอย่างดี เชน่ ชาวโปรตุเกส สเปน หรือ ชาวพม่าเอง พระองค์ทรงนาหลักวิชามาประยุกต์ใช้ให้เหมาะกับเหตุการณ์และ สภาพแวดลอ้ มในการทาศกึ ใดเป็นเลิศ

นายณัฐวฒุ ิ เขยี วประแดง เลขที่ 8 นางสาวจันทร์จรสั ตงั้ ม่นั คง เลขที่ 12 นางสาววิยะดา มีลาภหลาย เลขที่ 29 นางสาวศิรนิ ันท์ ดาเนินงาม เลขท่ี 39 ช้นั มัธยมศึกษาปีท่ี 5/1 เสนอ คณุ ครูพกิ ุล มีใจเจือ โรงเรียน ภาชี “สุนทรวิทยานุกลู ”


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook