การอนุรักษ์ สื บสานภูมิปัญญา \"ขันโตกหวาย\"
1.จัดเป็นภูมิปัญญาสาขาใด หัตถกรรม
2.ลักษณะเด่นของภูมิปัญญา 1.ขันโตกประดิษฐ์จากการนำหวายมาสานซึ่งเป็นวัสดุหาง่ายในท้องถิ่น 2.ขันโตกทั่วไปของชาวบ้านอาจจะเป็นไม้เปลือยสีธรรมชาติ หรือทาสีดำ สำหรับพระสงฆ์ และเจ้านายแล้วขันโตกจะทาสีแดง 3.ในระยะหลังคนล้านนามักจะใช้ขันโตกใส่สำรับอาหารเลี้ยงรับรอง เพื่อแสดงถึงวิถีชีวิต อาหารการกิน และวิถีล้านนาที่มีมาช้านาน สำหรับนักท่องเที่ยวแล้ว “ขันโตก” น่าจะเป็น ประสบการณ์ของวัฒนธรรมล้านนาแบบหนึ่งที่เขาจะสัมผัสได้
3.ความสำคัญของภูมิปัญญา \"ขันโตกหวาย\" ต่อชุมชน คือ การนำหวายมาต่อยอดโดยทำการสานด้วยความ ปรานีตให้เป็นขันโตก ที่มีคุณภาพ สวยงาม และสามารถ ใช้งานได้ดี อีกทั้งยังเป็นช่องทางการสร้างรายได้ให้กับ ชุมชน
4.แนวทางการอนุรักษ์ ภูมิปัญญา “ขันโตกหวาย” 1.ประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันโดยใช้ขันโตกใส่สำรับอาหารเลี้ยงรับรอง เพื่อแสดงถึงวิถีชีวิต อาหาร การกิน และวิถีล้านนาที่มีมาช้านาน 2.จัดตั้งกลุ่มภูมิปัญญาในท้องถิ่นถ่ายทอดความรู้สู่ผู้ที่สนใจ 3.เผยแพร่ภูมิปัญญาขันโตกหวายให้ทุกคนได้รู้จักในสื่อโซเชียล 4.ในสื่อโซเชียลควรมีคำพูดที่หลากหลายทางด้านภาษา เพื่อที่จะทำให้คนต่างชาติเข้าถึงได้ 5.มีการจัดแหล่งเรียนรู้ โดยทำการสอนนักท่องเที่ยวที่มาเที่ยวภายในชุมชนให้ได้ทดลองการสานขันโตก 6.เปิดการเรียนการสอนสำหรับในชุมชนในการทำขันโตก ให้คนรุ่นใหม่ในชุมชนได้รู้จักและได้ลงมือทำ
ภาคผนวก
วัสดุ อุปกรณ์ ขั้นตอนการสร้างสรรค์ภูมิปัญญา 1.หวายกลม 2 วง 2.หวายกลม 3.หวายกลม 4.หวายสี่เหลี่ยม ที่ขนาดไม่เท่ากัน เป็นขาโตกมี 8 ขา ไว้อัดลายโตก ไว้ทำตัวโตก 5.หวายสี่เหลี่ยมขนาด 6.หวายแบนขนาด 6-7 7.แผ่นพื้นโตก 8.ค้อน กรรไกร ตะปู เล็ก ไว้ทำขอบปากโตก มิลลิเมตร ไว้สานตัวโตก พลาสติก
ขั้นตอนการทำ 1.มาร์คจุดหวายกลมวงใหญ่ 2.นำตะปูมาตีตามรอย 3.ทำรอยบากที่หัวและท้าย และวงเล็กให้ได้ 8 จุดที่เท่าๆ มาร์คทั้งหมด 8 ตัว ขาโตก จากนั้นก็ตอกตะปู กัน เพื่อที่จะตีตะปูตามจุดที่ มาร์คไว้ ให้ทะลุขาโตก
ขั้นตอนการทำ 4.นำหวายวงเล็กมาวางโดยให้ 5.วางแผ่นพื้นโตก โดย 6.นำหวายสี่เหลี่ยมมาวาง รอยต่อของวงใหญ่กับเล็กอยู่ วางให้ขอบเสมอกันรอบ บนโตก แล้วนำหวายแบน ตรงข้ามกัน และทำการตอก ด้าน แล้วตอกตะปูเป็น 7 มิลลิเมตรใช้ปลาย ตะปูตามรอยที่มาร์ค แนวทแยง 4 ตัว กรรไกรตัดให้ปลายหวาย แบนแหลม เพื่อสอดรูได้ ง่าย
ขั้นตอนการทำ 7.ทำการสอดรูแรกโดย 8.เมื่อสอดครบทุกรูแล้วต่อไป 9.นำหวายวงที่สองมาวาง เหลือปลายไว้ หลังจากก็ จะเป็นการต่อหวาย โดย โดยให้รอยต่ออยู่ตรงข้ามกับ ทำการสอดให้ครบทุกรู ทำการตัดปลายที่เหลือไว้ตอน วงแรก และทำการสอดรูโดย ไม่ต้องดึงแรง แรกให้เสมอขอบ แล้วเส้นที่มา ตัดปลายให้แหลม จากนั้น สัดท้ายให้นำมาทับเส้นแรก สอดรูแรกให้เหลือปลายและ และใช้ตะปูตอกตรงกลาง สอดรูเป็นแนวทแยง
ขั้นตอนการทำ 10.เมื่อสอดครบทุกรูแล้ว 11.ต่อวงที่ 3 สอดรู 12.ต่อหวายวงที่ 4 ให้ทำ จะทำการต่อหวาย โดยตัด เหมือนกับวงที่ 2 ทำ เหมือนกับวงที่ 2 และ 3 ปลายหวายที่เหลือไว้ให้ เหมือนกับวงที่ 1 และ 2 และสอดให้ครบทุกรู เสมอขอบและนำหวายที่ สอดให้ครบทุกรู สานมาทับ แล้วตอกตะปู จากนั้นก็ตัดปลายที่เหลือทิ้ง
ขั้นตอนการทำ 13.ต่อหวายวงที่ 5 ให้สอด 14.เมื่อสอดครบทุกรูแล้ว 15.ตอกตะปูสองเส้นที่คู่กัน รูแล้วเหลือปลายไว้ หลัง นำปลายของเส้นที่ขึ้นไว้ และก็ตัดปลายที่เหลือทิ้ง จากนั้นพันฟรี 1 รอบและ มาสอดลงตรงช่องดัง สอดรู ทำไปเรื่อยๆจนครบ ภาพ และปลายของเส้นที่ ทุกรู เหลือก็สอดไปทีเดียวกัน
ขั้นตอนการทำ 16.นำตะปูตอกปลายหวาย 17.นำนิ้วหัวแม่มือจับมุม 18.เมื่อทำจนครบรอบ 1 กลม แตะนำไปวางไว้ตรง และทำการตอกตะปูช่อง ช่องแล้ว ให้ตัดปลายที่เหลือ กึ่งกลางของขาโตก และ ละ 3 ตัว ทุกช่อง แล้วตอกตะปู ตอกตะปูลงไป
ขั้นตอนการทำ 19.ทำให้ครบ 8 ช่อง โดย 20.นำหวายแบน 7 21.หลังจากนั้นให้แหย่ ต้องเริ่มจากกึ่งกลางขา มิลลิเมตรมาปิดรอยแผล ปลายย้อนกลับไปทาง ขันโตก ที่ต่อกัน โดยทำการสอด ด้านใน รูและพันให้ครบ 4 รอบ
ขั้นตอนการทำ 22.จากนั้นนำตะปูมาตอก 23.เมื่อทำครบทั้ง 8 ขาแล้ว ก็ ตรงปลายที่แหย่ขึ้นมา แล้ว จะได้ขันโตกหวายที่สวยงาม ทำเช่นนี้ไปเรื่อยๆให้ครบทั้ง 8 ขา
ขอบคุณแหล่งที่มาของขั้นตอนการสร้างสรรค์ภูมิปัญญา HTTPS://YOUTU.BE/VWQPM4L9SEY
วิชา ส32104 ประวัติศาสตร์ไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 รายชื่อสมาชิก 1.นายชัยวัฒน์ ทองใบ เลขที่ 7 2.นางสาวจันทร์จรัส ตั้งมั่นคง เลขที่ 12 3.นางสาววิยะดา มีลาภหลาย เลขที่ 29 4.นางสาวศิรินันท์ ดำเนินงาม เลขที่ 39 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/1 โรงเรียนภาชี “สุนทรวิทยานุกูล” อำเภอภาชี จังหวัดพระนครศรีอยุธยา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 3
Search
Read the Text Version
- 1 - 17
Pages: