หนงั สือเรียนสาระการพฒั นาสงั คม รายวชิ า ศาสนาและหน้าทีพลเมอื ง (สค ) ระดบั ประถมศึกษา หลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขนั พืนฐาน พุทธศกั ราช (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. 2560) สาํ นกั งานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั สาํ นกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงศกึ ษาธิการ ห้ามจาํ หน่าย หนงั สือเรียนเล่มนีจดั พมิ พด์ ว้ ยเงินงบประมาณแผน่ ดินเพอื การศกึ ษาตลอดชีวติ สาํ หรับประชาชน ลิขสิทธิเป็นของ สาํ นกั งาน กศน. สาํ นกั งานปลดั กระทรวงศกึ ษาธิการ เอกสารทางวิชาการลาํ ดบั ที /
หนงั สือเรียนสาระการพฒั นาสงั คม ) รายวชิ า ศาสนาและหน้าทพี ลเมอื ง (สค ระดับประถมศึกษา (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. 2560) ลิขสิทธิเป็นของ สาํ นกั งาน กศน. สาํ นกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ เอกสารทางวชิ าการลาํ ดบั ที /
คํานํา สํานักงานสงเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ไดดําเนินการจัดทํา หนังสือเรียนชุดใหมน้ีข้ึน เพ่ือสําหรับใชในการเรียนตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบ ระดบั การศึกษาขัน้ พน้ื ฐาน พทุ ธศักราช 2551 ท่ีมีวัตถุประสงคในการพัฒนาผูเรียนใหมีคุณธรรม จริยธรรม มีสติปญญา และศักยภาพในการประกอบอาชีพ การศึกษาตอ และสามารถดํารงชีวิต อยูในครอบครัว ชุมชน สังคมไดอยางมีความสุข โดยผูเรียนสามารถนําหนังสือเรียนไปใชใน การศึกษาดวยวิธีการศึกษาคนควาดวยตนเอง ปฏิบัติกิจกรรม รวมท้ังทําแบบฝกหัด เพื่อทดสอบ ความรูใหกับผูเรียน และไดมีการปรับเพ่ิมเติมเน้ือหาเกี่ยวกับ การมีสวนรวมในการปองกันและ ปราบปรามการทจุ รติ เพอื่ ใหสอดคลองกับนโยบายของกระทรวงศึกษาธิการ น้นั ขณะน้ี คณะกรรมการรักษาความสงบแหง ชาติ (คสช.) มนี โยบายในการปลุกจติ สาํ นึกให คนไทยมีความรักชาติ เทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริย เสริมสรางคุณธรรม จริยธรรม คานิยมใน การอยรู ว มกันอยา งสามัคคี ปรองดอง สมานฉนั ท สาํ นกั งานสาํ นกั งานสงเสริมการศึกษานอกระบบ และการศกึ ษาตามอัธยาศยั จึงไดมกี ารดําเนนิ การปรับเพิม่ ตวั ชีว้ ัดของหลักสูตร และเน้ือหาหนังสือเรียน ใหสอดคลองตามนโยบายดงั กลาว โดยเพิ่มเนื้อหาเกี่ยวกับคุณธรรมและคานิยมในการอยูรวมกัน อยางปรองดอง สมานฉนั ท เพอ่ื ใหสถานศกึ ษานําไปใชในการจัดการเรยี นการสอนใหกับนักศึกษา กศน. ตอ ไป ทง้ั นี้ สํานกั งานสาํ นกั งานสงเสรมิ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ไดรับ ความรวมมือทด่ี จี ากผูทรงคุณวุฒิ และผเู ก่ียวขอ งหลายทา นท่ีคนควาและเรียบเรียงเน้ือหาสาระจาก สื่อตาง ๆ เพื่อใหไดสื่อท่ีสอดคลองกับหลักสูตร และเปนประโยชนตอผูเรียนท่ีอยูนอกระบบ อยางแทจริง ขอขอบคุณคณะที่ปรึกษา คณะผูเรียบเรียง ตลอดจนคณะผูจัดทําทุกทานท่ีไดให ความรวมมอื ดว ยดี ไว ณ โอกาสน้ี สาํ นกั งาน กศน. กันยายน 2557
สารบัญ หนา คาํ นํา 1 คาํ แนะนําการใชหนังสือเรยี น 2 โครงสรางรายวิชา 3 บทท่ี 1 ศาสนา 7 11 เรอ่ื งที่ 1 ความหมายของศาสนา ความสาํ คญั ของศาสนา 12 เรื่องที่ 2 ประวตั ศิ าสดา 15 เรื่องท่ี 3 หลกั ธรรมของศาสนาตา ง ๆ 18 เรื่องที่ 4 การปฏบิ ัติตนตามศาสนาตา ง ๆ 19 เรื่องที่ 5 บุคคลตัวอยา งทใี่ ชห ลกั ธรรมในการดําเนนิ ชวี ิต 20 เรื่องที่ 6 การอยรู ว มกันของคนไทยทตี่ า งศาสนา 21 บทที่ 2 วฒั นธรรมประเพณี 22 เรื่องที่ 1 ความหมาย ความสาํ คญั ของวัฒนธรรมประเพณี 23 เรอ่ื งที่ 2 วฒั นธรรมประเพณีทส่ี าํ คัญของทองถน่ิ และของประเทศ 25 เรือ่ งท่ี 3 การอนุรักษ สบื สานวฒั นธรรมประเพณไี ทย 26 เร่อื งที่ 4 คานยิ มที่พงึ ประสงคข องไทยและของทอ งถน่ิ เรอ่ื งท่ี 5 การประพฤตปิ ฏบิ ัติตนตามคา นยิ มที่พึงประสงค 29 บทท่ี 3 หนาทพ่ี ลเมืองไทย เรื่องท่ี 1 การปกครองระบอบประชาธปิ ไตย 31 เรื่องที่ 2 สถานภาพ บทบาท สทิ ธิ เสรภี าพ และหนาทข่ี องพลเมอื ง 42 45 ในวถิ ีประชาธิปไตย 47 เรอ่ื งท่ี 3 คุณธรรมและคานยิ มพน้ื ฐานในการอยรู วมกัน 50 52 อยา งปรองดองสมานฉนั ท เร่อื งที่ 4 รฐั ธรรมนูญ เรื่องท่ี 5 ความรเู บอ้ื งตนเกยี่ วกบั กฎหมาย เรื่องที่ 6 กฎหมายท่ีเกีย่ วของกบั ตนเองและครอบครวั เรอ่ื งที่ 7 กฎหมายทเี่ กีย่ วขอ งกบั ชุมชน เรื่องที่ 8 กฎหมายอน่ื ๆ
สารบัญ (ตอ ) หนา เรอ่ื งที่ 9 การปฏบิ ตั ติ นตามกฎหมายและการรักษาสทิ ธิ เสรภี าพ 55 ของคนในกรอบของกฎหมาย 58 เรอื่ งที่ 10 การมีสวนรว มของประชาชนในการปอ งกันและปราบปราม 79 การทจุ รติ 80 82 แนวเฉลยทายบท บรรณานกุ รม คณะผจู ดั ทํา
คาํ แนะนําในการใชหนงั สอื เรียน หนงั สือเรียนสาระการพัฒนาสังคม รายวชิ า ศาสนาและหนาท่ีพลเมือง ระดับประถมศึกษา เปนหนงั สือเรียนท่ีจัดทําขึน้ สําหรบั ผเู รยี นทเ่ี ปนนักศึกษานอกระบบ ในการศึกษาหนังสือเรยี นสาระการพัฒนาสังคม รายวิชา ศาสนาและหนา ทพ่ี ลเมือง ผูเรียน ควรปฏิบัติดงั น้ี 1. ศึกษาโครงสรางรายวิชาใหเขาใจในขัวขอสาระสําคัญ ผลการเรียนรูที่คาดหวังและ ขอบขายเนอื้ หา 2. ศึกษารายละเอียดเนื้อหาของแตละบทอยางละเอียด และทํากิจกรรมตามท่ีกําหนด แลว ตรวจสอบกบั แนวตอบกจิ กรรมที่กําหนด ถา ผเู รยี นตอบผดิ ควรกลับไปศกึ ษาและทําความเขา ใจ ในเนอื้ หานัน้ ๆ ใหม ใหเ ขา ใจกอนทีจ่ ะศึกษาเร่อื งตอไป 3. ปฏบิ ัติกจิ กรรมทายเรอ่ื งของแตล ะเร่อื ง เพื่อเปนการสรปุ ความรู ความเขาใจของเนื้อหา ในเร่ืองนั้น ๆ อีกครั้ง และการปฏิบัติกิจกรรมของแตละเนื้อหาแตละเรื่อง ผูเรียนสามารถนําไป ตรวจสอบกับครู และเพ่ือน ๆ ทีร่ วมเรยี นในรายวิชา และระดับเดยี วกนั ได 4. หนังสอื เรียนเลม น้ีมี 3 บท คอื บทท่ี 1 ศาสนา บทที่ 2 วฒั นธรรมประเพณี บทท่ี 3 หนา ทพ่ี ลเมอื งไทย
โครงสรา งรายวชิ าศาสนาและหนาที่พลเมอื ง (สค11002) ระดบั ประถมศึกษา สาระสําคัญ เปน สาระทเ่ี กี่ยวกบั ความหมายความสําคญั ของ ศาสนา วัฒนธรรม ประเพณี พุทธประวัติ การปฏิบัติตนตามหลักศาสนา บุคคลตัวอยางที่ใชหลักธรรมทางศาสนา บุคคลตัวอยางที่ใช หลกั ธรรมทางศาสนาในการดําเนนิ ชวี ติ การแกปญ หาความแตกแยก ตลอดจนวัฒนธรรมประเพณี ตาง ๆ ในชมุ ชน รวมถึงประชาธปิ ไตย สิทธิ เสรีภาพ บทบาทหนาท่ีของพลเมืองในวิถีประชาธิปไตย การมีสวนรวมในการปฏิบัติตนตามกฎหมาย ปญหาและสถานการณการเมืองที่เกิดขึ้นในชุมชน กฎหมายทีเ่ ก่ียวของตาง ๆ เชน กฎหมายแรงงานและสวสั ดิการ กฎหมายวาดวยสิทธเิ ด็กและสตรี ผลการเรยี นรูท ค่ี าดหวงั 1. อธิบายประวตั ิ หลักคําสอน และการปฏบิ ตั ติ ามหลกั ศาสนาท่ีตนนับถือ 2. เหน็ ความสาํ คญั ของวัฒนธรรม ประเพณีและมสี ว นรว มในการปฏิบัติตนตามวัฒนธรรม ประเพณที อ งถิน่ 3. ปฏบิ ัติตนตามหลกั ธรรมทางศาสนา วฒั นธรรม ประเพณี 4. ยอมรบั และปฏิบัติตนเพื่อการอยูรวมกันอยางสันติสุขในสังคม ท่ีมีความหลากหลาย ทางศาสนา วฒั นธรรม ประเพณี มคี ุณธรรม และคานิยมพ้ืนฐานในการอยรู วมกนั อยา ง ปรองดองสมานฉนั ท 5. บอกสทิ ธเิ สรีภาพ บทบาทและหนาที่ตามกฎหมายของการเปนพลเมืองดีตามระบอบ ประชาธิปไตยอันมพี ระมหากษัตรยิ ท รงเปนประมขุ 6. เหน็ คุณคา ของการปฏบิ ัติตนเปน พลเมอื งดตี ามกฎหมาย 7. มีสวนรว มในการปกครองสวนทองถ่นิ ในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย ทรงเปนประมขุ 8. วิเคราะหการแกปญหาการทุจริต และมีสวนรวมในการปองกันและปราบปราม การทจุ รติ ขอบขา ยเนือ้ หา บทท่ี 1 ศาสนา บทท่ี 2 วัฒนธรรมประเพณี บทท่ี 3 หนา ท่พี ลเมืองไทย
บทที ศาสนา สาระสําคญั เปนสาระสําคญั ทเ่ี กีย่ วของกบั ความหมาย ความสําคญั ของศาสนา อธิบายถึงศาสนาในประเทศไทย คือ ศาสนาพุทธ ศาสนาอสิ ลาม ศาสนาคริสต ศาสนาพราหมณ - ฮินดู มีรายละเอียดเกี่ยวของกับประวัติ ศาสดา หลักธรรม การปฏิบัติตน บุคคลตวั อยา งทใ่ี ชห ลกั ธรรมในการดําเนินชีวิตและการอยูรวมกันของ คนไทยท่ตี างศาสนา ผลการเรียนรู้ทคี าดหวงั 1. มีความรู ความเขาใจเกย่ี วกับความหมาย ความสําคัญของศาสนา วฒั นธรรม ประเพณี ในประเทศไทย 2. มคี วามรู ความเขาใจเก่ียวกับพุทธประวตั ิ และประวตั ศิ าสดาของศาสนาตา ง ๆ 3. มีความรู ความเขาใจในหลกั ธรรม และการปฏบิ ตั ธิ รรมแตล ะศาสนา 4. ตระหนกั ถึงคณุ คา และเหน็ ความสาํ คัญในการนาํ หลกั ธรรมมาใชในการดํารงชวี ติ 5. สามารถอยูรว มกบั บุคคลทต่ี า งความเชอ่ื ทางศาสนาในสังคมไดอยางสันตสิ ุข ขอบข่ายเนือหา เรอื่ งท่ี 1 ความหมายของศาสนา ความสําคัญของศาสนา เรอ่ื งท่ี 2 ประวัติศาสดา เร่อื งที่ 3 หลักธรรมของศาสนาตาง ๆ เรอ่ื งท่ี 4 การปฏบิ ัติตนตามศาสนาตาง ๆ เร่อื งที่ 5 บคุ คลตัวอยา งทใ่ี ชห ลกั ธรรมในการดําเนินชวี ิต เรือ่ งท่ี 6 การอยรู ว มกันของคนไทยทตี่ า งศาสนา 1
เรืองที ความหมายของศาสนา ความสําคญั ของศาสนา ความหมายของศาสนา “ศาสนา” คอื ลัทธคิ วามเช่อื ในหลักการ กรรมวิธี การปฏิบัติตนเพื่อใหบรรลุจุดมุงหมายสูงสุด ในชีวิตที่ศาสดาของแตล ะศาสนาสง่ั สอนหรือบัญญัตไิ ว สาเหตุการเกิดศาสนา ประการแรก เกิดจากความกลัวของมนุษย เนื่องจากมนุษยไมมีความรู ความเขา ใจ ปรากฏการณท างธรรมชาติ ภัยพิบตั ิตาง ๆ มนุษยค ดิ วาสิง่ เหลา น้เี กดิ จากอํานาจของวิญญาณ และสิ่งศักด์ิสิทธิ์ดลบันดาลใหเปนไป มนุษยจึงแสวงหาวิธีภักดี ออนนอมใหอยูใตอํานาจดวย การแสดงออกตาง ๆ นานา เชน การเคารพบูชา การเซนสังเวย การทําทุกรกิริยา เพ่ือใหสิ่งศักด์ิสิทธิ์เห็นใจ ประการต่อมา เกิดจาก การคน หาความจริงของธรรมชาติ โลกและชีวิต โดยไมหวังพ่ึงพิงอํานาจศักด์ิสิทธ์ิใด ๆ เมอ่ื คน หาความจรงิ พบแลว จึงนํามาประกาศศาสนา เพือ่ ใหช าวโลกรตู าม คอื พระพุทธเจา เปน ตน องค์ประกอบของศาสนา มอี ยู่ ประการ คอื 1. มศี าสดา คือ ผกู อ ตง้ั ศาสนา เรมิ่ ตน คดิ คําสอน (หลักธรรม) เปนคนแรก 2. มคี าํ สอน คมั ภีร คือ คําสอน (หลักธรรม) ของศาสนา 3. มนี ักบวช หรอื ผสู บื ทอดศาสนา เปนผปู ฏิบัติตนตามคําสอนของศาสนา 4. มศี าสนสถาน คือ สถานทีป่ ระกอบพธิ ีกรรมทางศาสนา เชน โบสถ วหิ าร สุเหรา 5. มีสัญลักษณ คือ เคร่ืองหมายแสดงทางศาสนา ศาสนพิธี หรือพิธีกรรมทางศาสนา เชน ไมก างเขน ประเภทของศาสนา จาํ แนกเป็ น ประเภท คอื 1. เอกเทวนิยม เชือ่ ในพระเจาองคเดยี ว เชน ศาสนาอสิ ลาม ศาสนาครสิ ต เปนตน 2. พหุเทวนยิ ม เชื่อในพระเจาหลายองค เชน ศาสนาฮนิ ดู ศาสนาชนิ โต เปน ตน 3. สัพพัตถเทวนิยม เชอ่ื วา พระเจาสิงสถิตอยูในทกุ ๆ แหง เชน ศาสนาพราหมณ บางลัทธิ เปนตน 4. อเทวนยิ ม ไมเชอื่ วาพระเจาเปนผูสรา งโลก เชน ศาสนาพุทธ ศาสนาเซน เปน ตน ศาสนาทุกศาสนามีจุดปลายทางเดียวกัน คือ ตองการใหทุกคนเปนคนดี อยูรวมกันโดยสันติ สังคมมคี วามสงบสขุ ความสําคญั ของศาสนา พอสรุปได 7 ประการ คือ 1. เปน ทีย่ ดึ เหนีย่ วทางจิตใจ ชว ยใหม นษุ ยเ กดิ ความมั่นใจในการดํารงชีวิต และชวยใหรูสึก ปลอดภยั 2. ชว ยสรางความสามคั คีในหมูม นุษย ชวยใหมนุษยร ว มมอื กนั แกไขปญหาตาง ๆ ตลอดจน รวมมอื กนั สรางสรรคส ่ิงท่เี ปน ประโยชนต อศาสนาและชวี ติ 3. เปนเครื่องมือขัดเกลาสมาชิกในสังคมใหสมาชิกยึดมั่น เชื่อถือ ปฏิบัติตนเปนคนดีตาม คําสอน กลวั บาปที่เกิดจากความประพฤติไมดตี า ง ๆ 2
4. ชวยพัฒนาและยกระดับจิตใจการกระทําของมนุษยใหสูงขึ้น คือชวยใหมนุษยเสียสละ และอดทน อดกลั้นยิ่งขึ้น ทาํ ความดีมากยงิ่ ขนึ้ เปนตน 5. เปนบอเกิดแหงศาสตร ความรูดานศิลปะ ขนบธรรมเนียม ประเพณีตาง ๆ มีกําเนิดจาก ศาสนา 6. ชวยใหม นษุ ยมีอสิ ระ คาํ สอนของศาสนาเสนอแนวทางท่ีมนุษยสามารถฝกตนใหพนจาก กิเลสมีอิสระจากกเิ ลสทั้งปวง 7. เปน สญั ลักษณ แสดงถงึ ความดงี าม แสดงพลังสามัคคี ความเปนน้าํ หนึง่ ใจเดยี วกนั ของคน ทนี่ ับถอื ศาสนาตา ง ๆ ในแตล ะศาสนา เรืองที ประวตั ศิ าสดา พุทธประวตั ิ ศาสนาพทุ ธ เปนศาสนาประเภทอเทวนิยม คอื ไมเ ชอ่ื วามพี ระเจา สรางโลก สรางมนุษย กําหนด โชคชะตามนุษย แตเช่ือวาทุกอยางเกิดมาไดเพราะมีเหตุ ทุกอยางตองอาศัยกัน เปนเหตุเปนปจจัย ซ่ึงกันและกัน จะมีเพียงอยางใดอยางหนึ่งมิได ศาสนาพุทธ เปนศาสนาใหญศาสนาหน่ึงของโลก เปน ศาสนาประจําชาตขิ องประเทศไทย ศาสนาพุทธเกดิ ในชมพูทวีป ปจ จุบนั เปน พ้ืนท่ขี องประเทศอนิ เดีย เนปาล ภูฏาน ปากีสถาน และ บังกลาเทศ รวมกัน ศาสดาของศาสนาพทุ ธ คือ พระพทุ ธเจา ทรงมพี ระนามเดมิ วา เจาชายสิทธัตถะ กําเนิดในตระกูล กษัตริยในยุคที่ศาสนาฮินดูเจริญรุงเรืองในชมพูทวีป พระองคประสูติ ณ ลุมพินีวัน แควนสักกะ เมอื งกบิลพสั ดุ (ปจจุบนั คอื เมืองรมุ มนิ เด ประเทศเนปาล) ทรงประสตู ใิ นวนั ศุกรขึน้ 15 ค่ํา เดือน 6 ปจอ กอนพุทธศักราช 80 ป เม่ือประสูติได 7 วัน พระราชมารดา คือ พระนางสิริมหามายา จึงสิ้นพระชนม พระราชบดิ าของพระองค คอื พระเจาสุทโธทนะ จงึ ใหพ ระเจานา คือ พระนางประชาบดีโคตมี เปนผูเล้ียงดู พระเจา สุทโธทนะไดเชญิ พราหมณมาทํานายลักษณะพระโอรส พราหมณไดพยากรณพระราชกุมารวา “ถาออกบวชจะไดเปนศาสดาเอกของโลก ถาทรงเปนฆราวาสจะไดเปนพระจักรพรรดิ” ดังนั้น พระเจาสุทโธทนะจึงปรารถนาจะใหเจาชายสิทธัตถะเพลิดเพลินในความสุขทางโลก เพ่ือจะไดให เจาชายสิทธัตถะเปน พระจกั รพรรดิ พระราชบดิ าทรงสรางปราสาทท่ีงดงาม 3 หลัง ใหประทับแตละฤดู และใหศึกษาเลา เรยี นศิลปวิทยากับสํานักอาจารยว ศิ วามติ ร พระองคทรงอภิเษกสมรสกับพระนางพิมพา ถึงแมพระราชบิดาจะหาสิ่งอํานวยความสุข ความสะดวกสบายใหพระองค แตเจาชายสิทธัตถะก็มิได เพลิดเพลินกับความสุขทางโลก เมื่อพระองคเสด็จออกนอกพระราชวัง พระองคทอดพระเนตรเห็น การเกดิ การแก การเจบ็ การตาย เปน ความทุกข พระองคทรงครุนคดิ แสวงหาทางใหมนุษยพนทุกข และ เหน็ วา การหนีทกุ ขใ นโลกดวยการบรรพชา 3
ดังน้ัน พระองคจึงเสด็จออกจากวังในวันท่ีพระนางพิมพาประสูติพระโอรส คือ เจาชายราหุล พระองคท รงราํ พึงวา “หวงเกดิ แลวหนอ” เมอ่ื พระองคเ สด็จผา นทรงพบเห็นนางสนมนอนระเกะระกะอยู เปนภาพทไี่ มนา ดู ไมสวยงาม ลวนนาปลงสงั เวช พระองคจงึ เสด็จออกบวชพรอ มกับคนรบั ใชช่อื นายฉันนะ ทรงขี่มาชื่อ กณั ฐกะ จากนัน้ ใหนายฉนั นะกลับไป แลวพระองคท รงปลงผม ถือเพศบรรพชิต และแสวงหา อาจารยจ ากสาํ นักตา ง ๆ เพือ่ ส่ังสอนใหพ ระองคบรรลธุ รรมทที่ ําใหสตั วโ ลกพนจากความทุกข ทรงศึกษาท่ี สาํ นักอาฬารดาบส และอุทกดาบส ฝกฝนทางจติ จนได ฌานสมาบัติ 8 ซึ่งเนนโยคะวิธี ทรงเห็นวาไมใช ทางพนทุกขที่แทจริง ดังน้ัน ตอมาพระองคทรงใชวิธีการทรมานตนเองดวยการบําเพ็ญทุกรกิริยา คือ อดอาหาร และทรมานตนดวยวิธีตาง ๆ จนรางกายซูบผอม ทรงพบวา ทางนี้มิใชพนทุกข จึงหันมา เดินสายกลาง และเสวยพระกระยาหารตามเดิม แลวหันมาบําเพ็ญเพียรทางจิตคนหาสัจธรรม และทรง คนพบสัจธรรมในวันเพ็ญ เดือนวิสาขะ คือ วันข้ึน 15 ค่ํา เดือน 6 ประกา กอนพระพุทธศักราช 45 ป ทรงมีพระชนมายุ 45 พรรษา ดังนั้น ในการแสวงหาทางบรรลุธรรมของพระองคนั้นเปรียบเสมือนพิณ 3 สาย ถาขึงสายพิณ ตงึ เกนิ ไปสายพิณกจ็ ะขาด ถาขึงสายหยอ นเกนิ ไป เสยี งจะไมไ พเราะ ตองขึงสายพิณพอดี จึงจะดีดแลวมี เสียงไพเราะ เชนเดยี วกับมนุษย หากเพลดิ เพลินในโลกียสุขเหมือนสายพิณท่ีหยอนยาน และถาตึงเขมงวด ในการปฏิบัติดวยการทรมานตนเองรางกายจะทนทานไมไหวเหมือนสายพิณที่ขึงตึง ดังนั้น จึงควร เดินสายกลาง เชน เดยี วกับสายพณิ ท่ีขึงพอดี สัจธรรมท่ีพระองคตรัสรู คือ ทรงคนพบปุปเพนิวาสานุสติญาณ คือ อดีตชาติของพระองค ทรงคนพบจตุ ูปปาตญาณ คือ การกาํ เนดิ ของสตั วโ ลก และอาสวกั ขยญาณ คือ การกําจัดกิเลสใหหมดสิ้นไป เพือ่ จะปฏิบัติตนใหพน ทกุ ขไ มตอ งเวียนวา ยตายเกดิ คือ อรยิ สัจส่ี เปน ความจรงิ อนั ประเสรฐิ ซง่ึ เปน หวั ใจ สาํ คญั ของพระพทุ ธศาสนา คือ ทกุ ข คอื ปญหาทงั้ หลายทเ่ี กดิ ขึ้นในชีวิต ไดแ ก ความไมส บายกาย ความไมส บายใจ สมทุ ยั คือ สาเหตแุ หง ปญ หาที่เกิดข้ึนในชวี ิต นโิ รธ คือ ความจริงวา ดว ยการดับทุกข การละตน เหตุของความทกุ ข มรรค คอื ความจริงวาดว ยแนวทางแหงความดบั ทุกข หลังจากตรัสรูแลวพระองคไดเสด็จไปเทศนาธรรมแกปญจวัคคียทั้ง 5 คือ พระโกณฑัญญะ พระวัปปะ พระภัททิยะ พระมหานามะ และพระอสั สชิ ซึ่งติดตามดูแลพระองคชวงท่ีแสวงหาธรรมและ บําเพ็ญทกุ รกริ ิยา เมือ่ พระองคเลกิ บําเพญ็ ทกุ รกิรยิ า จงึ คิดวา พระองคทอถอย ไมบ ําเพ็ญเพียรจึงพากันหนีไป ท่ีปาอิสิปตนมฤคทายวัน เม่ือพระองคเทศนาธรรม คือ ธัมมจักกัปวัตนสูตร ซ่ึงแสดงถึงขอปฏิบัติ ทางสายกลาง คือ มรรค 8 ซ่ึงเปนขอ ปฏบิ ตั ใิ หพ นจากความทกุ ข คอื 1. สัมมาทิฏฐิ ปญญาเห็นชอบ 2. สมั มาสงั กปั ปะ ความดาํ ริชอบ 3. สัมมาวาจา วาจาชอบ 4. สมั มากัมมนั ตะ การงานชอบ 5. สมั มาอาชวี ะ ความเลย้ี งชีพชอบ 4
6. สัมมาวายามะ ความเพียรชอบ 7. สมั มาสติ ความระลกึ ชอบ 8. สมั มาสมาธิ การตั้งจติ ชอบ โกณฑญั ญะไดดวงตาเห็นธรรมเปนคนแรก และปญจวคั คยี ทง้ั หมดจงึ บวชเปน ภกิ ษุ จึงถือวาเกิด พุทธศาสนาครบสมบรู ณ คอื พระพทุ ธ พระธรรม พระสงฆ เปนไตรสรณคมณ ซ่ึงเปนท่ีเคารพของชาวพุทธ ตอ มาพระองคทรงเผยแพรศ าสนาอยู 45 ป และปรนิ พิ พานที่เมืองกสุ ินาราในวันเพญ็ เดือน 6 วนั เดยี วกับท่ี พระองคทรงประสตู ิ ตรัสรู และปรนิ ิพพาน เรียกวา เปน วันวสิ าขบูชา เปนวันสาํ คัญของชาวพทุ ธ ประวตั พิ ระนบีมูฮัมหมัด ศาสนาอิสลามเปน ศาสนา 1 ใน 3 ศาสนาสําคัญของโลก ในประเทศไทยจํานวนผูนับถือศาสนา อิสลามในประเทศไทย มีจํานวนมากเปนลําดับที่ 2 ศาสนาอิสลามกําเนิดในประเทศซาอุดีอาระเบีย เม่ือ พ.ศ. 1113 คําวา อสิ ลาม มาจากคําวา อัสลามะ แปลวา การออนนอมถอ มตนตอพระอัลเลาะหเจาอยาง ส้นิ เชงิ ผูนับถืออสิ ลาม เรยี กวา มสุ ลิม หรือ อิสลามิกชน ศาสดาของศาสนาอิสลาม คือ พระนบีมูฮัมหมัด เปนผูใหกําเนิดศาสนาอิสลาม ทานเกิดท่ี เมอื งเมกกะ (มักกะ) ประเทศซาอุดีอาระเบีย บิดาช่ืออับดุลเลาะห มารดาชื่อ อามีนะห ในตระกูลฮาซิม เผากุเรซ บิดาส้ินชีวิตกอนพระนบีมูฮัมหมัดเกิด มารดาสิ้นชีวิตเม่ือทานมีอายุได 6 ขวบ จึงอยูใน ความอุปการะของปูและลุง ตามลําดับ ทานไดแตงงานกับหญิงหมาย ช่ือ คอดียะ เปนเจาของกิจการคา มีบุตรธิดา รวม 7 คน (ชาย 3 คน หญิง 4 คน) เมื่อทา นอายไุ ด 40 ป ทา นไดข นึ้ ไปหาความวิเวกท่ถี า้ํ ฮิเราะห บนภเู ขานรู ิ เทพยิมรออลิ ท่ีเปนบริวาร ของพระอัลเลาะหเ จา ไดลงมาบอกวา พระอลั เลาะหไ ดแตง ต้ังใหทา นเปนศาสดาเผยแผศ าสนาอิสลามของ พระองค ทานจึงเปนพระนบี หรือ เปนศาสนทูต หรือ ตัวแทนของพระเจาบนพื้นพิภพ เม่ือ พ.ศ. 1153 ขณะท่ีทานมีอายุได 40 ป โดยใชสถานทป่ี ระดษิ ฐานหนิ กาบะห เปนที่ประกาศสัจธรรม ระหวางการเผยแผ ศาสนาอสิ ลาม ทา นตอ งตอสูกับฝายปรปกษจนไดรับชัยชนะ ประกาศศาสนาอยู 23 ป ทานถึงแกกรรม เม่อื อายไุ ด 63 ป นกั บวช หรือ ผูสืบทอดศาสนา ผูปฏิบัติตามคําสอนของศาสนา และสืบตอศาสนาอิสลาม เชน อิหมา ม ผูน าํ ศาสนา และอิสลามมิกชน ศาสนสถาน คือ สถานทีป่ ระกอบศาสนกิจของผูนับถือศาสนาอสิ ลาม ไดแ ก สเุ หรา หรอื มสั ยิด ซ่งึ เปน สถานทที่ ีจ่ ัดไวเ พอื่ การละหมาด สัญลักษณของศาสนาอิสลาม เน่ืองจาก ศาสนาอิสลามสอนใหมีพระเจาองคเดียว และสอนไมใหเคารพบูชาสัญลักษณหรือรูปเคารพใด ๆ รูปพระจันทรคร่ึงเส้ียว และมีดาว 5 แฉกอยูตรงกลาง ท่ีพบตามสุเหราทั่วไปนั้นไมใชสัญลักษณทาง ศาสนา แตเปน เครอื่ งหมายของอาณาจักรออตโตมานเตอรก ท่ีรงุ เรอื งมากในอดีต ตัง้ แตศตวรรษที่ 15 – 20 ที่ประเทศมุสลิมสวนใหญตกอยูในอํานาจของอาณาจักรน้ี ชนชาวอิสลามจึงถือเอาเครื่องหมายนั้นเปน สัญลักษณของตนและชนชาติมุสลิมสืบมา และกลายเปนสัญลักษณของผูนับถือศาสนาอิสลามไปโดย ปรยิ าย 5
ประวตั พิ ระเยซู คริสตศ าสนา เปน ศาสนา 1 ใน 3 ศาสนาสําคัญของโลก ในประเทศไทยมีจํานวนผูนับถือคริสต ศาสนามากเปน อันดับ 3 ศาสนาคริสตพ ัฒนามาจากศาสนายูดาย คําวา “คริสต” มีรากศัพท มาจากภาษา โรมัน และภาษากรีก ท่ีแปลมาจาก เมสสิอาห ในภาษาฮนิ ดู แปลวา ผปู ลดเปลอื้ งความทุกข พระเยซู เปนผูใหกําเนิดศาสนาคริสต ทานเกิดท่ีหมูบานนาซาเรท แควนกาลิลี หางจาก นครเยรูซาเลม็ ประมาณ 55 ไมล มารดาของพระเยซชู ื่อ มาเรีย หรอื มารีย บดิ าชอ่ื โยเซฟ อาชพี ชางไม ตามประวัตมิ าเรยี มารดาของพระเยซูน้ัน ต้ังครรภม ากอ นขณะที่โยเซฟยังเปนคูหมั้น รอนถึงเทวทูตของ พระเจา คอื พระยะโฮวาห หรือ ยาหเ วห ตอ งมาเขา ฝนบอกโยเซฟใหรูวา บุตรในครรภของมาเรียเปนบุตร ของพระเจา คือ พระยะโฮวาห หรือ ยาหเวห เปนผูมีบุญมากใหตั้งชื่อวา พระเยซู ตอไปคนผูนี้จะชวย ไถบาปใหช าวยิวรอดพนจากความทกุ ขท ้งั ปวง โยเซฟปฏบิ ัติตามคาํ ของทตู แหง พระเจา จึงรับมาเรียมาอยู ดว ยกันโดยมิไดสมสูก นั เยย่ี งสามีภรรยา พระเยซูไดรับการเล้ียงดูมาอยางดี มีความรูภาษากรีกแตกฉาน ศึกษาพระคัมภีรเกา ไดมอบตัวเปนศิษยของโยฮัน ผูแตกฉานในคัมภีรของยิว เมื่อทานเติบโตมาเปน ผใู หญ มนี สิ ยั ใฝสงบอยูในวิเวก ใฝใ จทางศาสนา เม่อื ทานอายุได 30 ป ไดรับศีลลางบาปจากจอหน โดย เยซูอาบนา้ํ ลางบาปท่ีแมน า้ํ จอรแ ดน ต้ังแตนั้นมาถอื วา พระเยซู ไดสําเร็จรูปธรรมสูงสุดในศาสนาคริสต เปนศาสดาบําเพ็ญพรต อดอาหาร และพิจารณาธรรมอยูในปาสงัด ถึง 40 วัน จากน้ันจึงออกประกาศ ศาสนา ทา นเผยแพรศ าสนาอยู 3 ป มีผูนับถือพระเยซูมากข้ึน จนเปนเหตุใหพวกปุโรหิต พวกธรรมาจารย และพวกฟาริซี เกลียดชัง ขณะที่พระเยซูพรอมสาวก 12 คน กําลังรับประทานอาหารม้ือคํ่าสุดทาย พวกทหารโรมันก็จูโจมเขาจับพระเยซู และใหขอหาเปนกบฏตอซีซาร จักรพรรดิโรมัน ต้ังตนเปน พระเมสสิอาห และถกู ตัดสินใหลงโทษประหารชีวติ โดยการตรงึ ไมกางเขนไว จนสน้ิ พระชนม หลังจากน้ัน 3 วัน พระองคไ ดเสดจ็ กลับคืนชพี และเสด็จข้นึ สวรรค นกั บวชและผูส ืบทอดศาสนา ผูสบื ทอดคริสตศาสนา คือ สาวก พระบาทหลวง หมอสอนศาสนา และครสิ ตศาสนกิ ชน ผูเลื่อมใสครสิ ตศาสนา ศาสนสถานทใี่ ชใ นการประกอบกิจกรรมสําคัญ คือ โบสถ และวิหาร สัญลักษณท่แี สดงความเปน คริสตศ าสนกิ ชนทุกนิกายใชเ ครอ่ื งหมายกางเขนเหมือนกัน เพราะ แสดงถงึ ความเสยี สละที่ยิ่งใหญ และเปน นิรันดรข องพระองค ประวตั ศิ าสนาพราหมณ์ - ฮินดู เปนศาสนาที่มีผูนับถือจํานวนมากในโลกเชนกัน สําหรับในประเทศไทยมีผูนับถือจํานวนนอยท่ีสุด แตอยางไรก็ตามวัฒนธรรมประเพณีไทยหลายอยางท่ีสืบทอดมาถึงปจจุบันมีการนําศาสนาพราหมณ มาปะปนอยคู อ นขางมาก เชน พระราชพธิ ีจรดพระนังคลั แรกนาขวัญ ศาสนาพราหมณ - ฮินดู เปน ศาสนาประเภทพหุเทวนยิ ม เชื่อในเทพหลายองค คือ พระอิศวรเปน ผูส รางโลก นอกจากนัน้ ยังมพี ระนารายณ พระพรหม พระอมุ า พระพฆิ เณศ ซึ่งทาํ หนา ท่ีใหก บั โลกตาง ๆ กัน ศาสนาพราหมณ - ฮินดู ไมมศี าสดา ผูสืบทอดศาสนาพราหมณ ไดแก พราหมณ นักบวช มีหนาที่ศึกษา คัมภรี รายเวท เปน ผนู าํ สวดมนต และประกอบพิธีกรรมตาง ๆ ทางศาสนา รวมท้ังผศู รัทธาเลือ่ มใสศาสนา 6
พราหมณ - ฮินดู สถานทใ่ี ชป ระกอบพิธีกรรมทางศาสนา ไดแก โบสถ สัญลักษณของศาสนาพราหมณ ใชอ กั ษรเทวนาครี ที ่ีเขยี นวา“โอม” ซ่งึ หมายถงึ เทพเจา ทงั้ 3 ทีส่ าํ คญั มากคือพระพรหม เปน ผูส รา งโลกตาง ๆ พระวิษณุเปนผูคุมครองโลกตาง ๆ นอกจากน้ี ยังนิยมสรางเครื่องหมายแนวนอน 3 เสน ไวท่ีหนาผาก เหนือคิว้ ซ่ึงหมายถึง ทน่ี ่ังของสีหะ คอื มหาเทพทตี่ นนับถอื เรืองที หลักธรรมของศาสนาต่าง ๆ หลกั ธรรมของศาสนาพุทธ ตามที่กลา วมาแลววา ศาสนธรรม เปน องคป ระกอบที่สําคัญของศาสนา คําสอนของสัมมาสัมพุทธเจา เรยี กวา พระธรรม พระธรรมในศาสนาพุทธ กําหนดไวในพระไตรปฎก มีอยู 3 ตะกรา กลาวคือ คําสอนของ พระพุทธเจา ในอดตี จารกึ ไวในสมุดขอย และใบลาน แยกไว 3 หมวดหมู คอื 1. พระสุตตันตปฎก เปนคัมภีรที่รวบรวมคําสอนของพระพุทธเจาในโอกาสตาง ๆ มีชาดก ประกอบ เชน สุภมิตตชาดก ที่ 5 โทษของการไมรูประมาณ ความสรุปวา เม่ือพระพุทธเจาประทับอยู ณ พระวิหารเชตะวัน ทรงปรารภถึงภิกษุรูปหนึ่งที่มรณภาพ เพราะฉันมากเกินไปจนอาหารไมยอย พระพทุ ธเจา จึงตรสั วา แมใ นกาลกอนภกิ ษนุ ีก้ ็ตายเพราะบรโิ ภคมาก 2. พระวินัยปฎก เปนธรรมท่ีเก่ียวกับระเบียบกฎเกณฑความประพฤติของพระสงฆ ซ่ึง พระพุทธเจากําหนดไวมีท้ังหมด 227 ขอ พระพุทธเจาจะทรงกําหนดข้ึนเมื่อมีเหตุการณท่ีพระสงฆ ไมค วรประพฤติปฏิบัติ 3. พระอภิธรรมปฎ กรวบรวมคมั ภรี ที่รวบรวมเก่ียวกบั หลักธรรมหรอื ขอ ธรรมลวน ๆ คาํ ส่ังสอนวา เปนพระสูตรตาง ๆ ของพระพุทธเจา ตัวอยาง คือ ธัมมจักกัปวัตนสูตร ซ่ึงกลาวถึง มรรค 8 ซ่ึงเปนทาง ปฏบิ ตั ใิ หไกลจากกเิ ลส พระธรรมคําสอนของพระพุทธเจาเปนตัวแทนพระพุทธเจาที่ปรินิพานไปแลว เม่ือถึงคราวท่ี ศาสนาพทุ ธเกดิ ปญหา มคี วามเสื่อมลง เนอื่ งจากพุทธบริษทั คือ ภกิ ษุ ภกิ ษุณี อุบาสก อบุ าสิกา ไมปฏบิ ัติตาม คําสง่ั สอนของพระพุทธเจา จะมกี ารนําพระไตรปฎกมาสงั คายนา มีการตรวจสอบชําระใหถูกตอง วัดใน สมัยเกา เก็บพระไตรปฎ กท่จี ารึกไวในใบลาน สมุดขอยเก็บไวที่ศาลาธรรมที่ตั้งอยูกลางน้ํา เพื่อปองกัน มอด ปลวก กดั กนิ ทําลาย อยา งไรกต็ าม ชาวพทุ ธควรศกึ ษาธรรมะเพื่อเขาใจ และนํามาประพฤติปฏิบัติใหถูกตองที่สําคัญ ๆ คอื โอวาทปาตโิ มกข์ พระพทุ ธองคท รงประกาศหวั ใจของศาสนาพทุ ธในวันมาฆบูชา เปนวันข้ึน 15 ค่ํา เดอื น 3 ซ่งึ เปน วันมหัศจรรย คอื พระสงฆ 1,250 รูป ลวนเปนพระอรหันต มาประชุมโดยมิไดนัดหมาย พระสงฆเหลา น้ีลวนเปนผูที่พระพุทธเจาโปรดประทานบวชใหดวยพระองคเอง ดวยวิธีเอหิภิกขุอุปสัมปทา และเปนวันที่พระจันทรเสวยฤกษเต็มดวง พระพุทธเจาทรงประกาศหัวใจของศาสนาพุทธไวใน โอวาทปาฏิโมกข มอี ยู 3 ขอ คอื 7
1. การไมท ําบาปอกุศลท้ังปวง คือ ไมท ําชว่ั 2. การทาํ บญุ กุศล คือใหทาํ ความดี 3. การทําจิตใหผองใสไกลจากความเศรา หมองของกิเลส เบญจศีล ศลี 5 เปนขอ พ้ืนฐานท่ีสําคญั สาํ หรับการปฏบิ ตั ิตนของชาวพุทธ คอื 1. ละเวนการฆาสงั หาร ไมประทุษรา ยตอ ชีวติ และรางกาย 2. ละเวน การลักขโมย เบยี ดบัง แยงชงิ ไมป ระทษุ รายตอทรพั ยส ินผูอ ่นื 3. ละเวนการประพฤติผิดในกาม ไมประทุษรายตอของรักของหวงแหน อันเปนการทําลาย เกียรตภิ มู แิ ละจติ ใจของผูอนื่ เชน บตุ ร ภริยา ญาติมติ ร 4. ละเวน จากการพดู เท็จโกหกหลอกลวง พดู เพอ เจอ ไรสาระ พดู คําหยาบคาย 5. เวนจากสุราเมรัย ไมเสพเคร่ืองดองของมึนเมา สิ่งเสพติด อันเปนเหตุใหเกิดความประมาท มัวเมา กอ ความเสียหายผดิ พลาด เพราะขาดสติ อนั เปน เหตใุ หเกิดอุบัตเิ หตุ แมอยา งนอยกเ็ ปน ผคู ุกคามตอ ความรสู ึกมน่ั คงปลอดภัยของผูเขา รวมสังคม เบญจธรรม ประการ เปนหลกั ธรรมท่ีคนทว่ั ไปควรปฏิบัติ มี 5 ประการ ดังนี้ 1. เมตตา, กรุณา – ซ่ึงเปนธรรมะคกู นั และสนับสนนุ ศีลห้า - ขอ แรก (ฆาสตั ว – เบยี ดเบยี น) 2. สัมมาอาชวี ะ - คแู ละสนบั สนนุ ศลี ขอสอง (ลกั ทรัพย ฉอโกง) 3. กามสังวร หมายถึง การสํารวมระวังในความตองการ - คูก ับศลี ขอ สาม (การขมเหงน้ําใจกนั ) 4. สัจจะ ความจรงิ ใจ - คกู บั ศลี ขอ สี่ (โกหก) 5. สติ สมั ปชัญญะ - คกู บั ศลี ขอหา (ทาํ ใหต นเองขาดสต)ิ พรหมวหิ าร เปน หลักธรรมประจําใจเพื่อใหตนดํารงชีวิตไดอยางประเสริฐและบริสุทธิ์ เฉกเชน พรหม ประกอบดวยหลกั ปฏิบตั ิ 4 ประการ คือ 1. เมตตา ความปรารถนาอยากใหผอู นื่ มคี วามสุข 2. กรณุ า ความปรารถนาอยากใหผอู ่นื พนทกุ ข 3. มทุ ติ า ความยนิ ดที ่ผี ูอนื่ มีความสขุ ในทางทเี่ ปน กุศล 4. อุเบกขา การวางจิตเปนกลาง การมีเมตตา กรุณา มุทิตา เปนส่ิงที่ดี แตถาตนไมสามารถ ชวยเหลือผูน้ันได จิตตนจะเปนทุกข ดังน้ัน ตนจึงควรวางอุเบกขาทําใจใหเปนกลาง และ พิจารณาวา สัตวโลกยอมเปนไปตามกรรมที่ไดเคยกระทําไว จะดีหรือช่ัวก็ตาม กรรมน้ัน ยอมสง ผลอยางยตุ ธิ รรมตามที่เขาผนู ัน้ ไดเ คยกระทําไว ฆราวาสธรรม ประกอบดวย 2 คํา “ฆราวาส” แปลวา ผูดําเนินชีวิตในทางโลก, ผูครองเรือน และ “ธรรม” แปลวา ความถกู ตอ ง, ความดีงาม, นสิ ัยท่ีดงี าม, คณุ สมบัติ, ขอปฏิบตั ิ ฆราวาสธรรม แปลวา คุณสมบัติของผูประสบความสําเร็จในการดําเนินชีวิตทางโลก ประกอบดว ยธรรมะ 4 ประการ คือ 8
1. สจั จะ แปลวา จริง ตรง แท 2. ทมะ แปลวา ฝก ตน ขมจติ และรกั ษาใจ 3. ขันติ แปลวา อดทน 4. จาคะ แปลวา เสียสละ หลักธรรมของศาสนาอิสลาม หลักธรรมของศาสนาอิสลาม จารึกไวในคัมภีรอัลกุรอาน ซึ่งในอดีตถูกจารึกไวในหนังสัตว กระดกู สตั ว หลกั ปฏบิ ตั ขิ องศาสนาอสิ ลาม 5 ประการ คือ 1. ตองปฏิญาณตนวาจะไมมีพระเจาองคอ่ืนนอกจากพระอัลเลาะห โดยมีพระนบีมูฮัมหมัด เปน ศาสนทตู รบั คําสอนของพระองคม าเผยแผใ หช าวมสุ ลิม 2. ตองนมัสการพระอัลเลาะห เพื่อสรรเสรญิ ขอพรตอพระองควันละ 5 ครงั้ ในเวลาใกล พระอาทิตยขึ้น บา ย เยน็ พลบคํา่ และกลางคนื 3. ปหนึ่งตองถือศลี อด (อศั ศยิ าบา) เปนเวลา 1 เดอื น โดยงดการบรโิ ภคอาหาร น้ําดื่ม ตัง้ แต พระอาทติ ยข ้นึ จนพระอาทิตยตก 4. ตอ งบรจิ าคทาน (ซะกาต) เพ่อื พัฒนาและชําระจติ ใหสะอาดหมดจด บริสุทธ์ิยง่ิ ข้ึน 5. ในชวงชีวิตหนึ่งควรไปประกอบพิธีฮัจญ คือ เดินทางไปประกอบศาสนกิจท่ีมัสยิดไบดุลเลาะห ณ เมอื งเมกกะ อยางนอ ย 1 ครัง้ หลักคาํ สอนของศาสนาอสิ ลามเปนเรื่องศรัทธา คือ ความเชื่อเปนเร่ืองสําคัญที่สุด มุสลิมทุกคน จะตองเช่ือและไมระแวงสงสัย ดังน้ี 1. เชื่อวาพระอัลเลาะหมจี รงิ มสุ ลิมทกุ คนตองเชอื่ วา พระเจามีองคเดียว คือ พระอลั เลาะห 2. เชื่อในเทพบริวาร หรือเทวทูตของพระอลั เลาะห เพอ่ื ชักนําไปสูหนทางทดี่ ีงาม 3. เชื่อวา คัมภีรอัลกุรอานเปน คมั ภีรท ่สี มบรู ณท ่สี ดุ 4. เช่ือในตัวแทนพระอัลเลาะหหรือศาสนฑูต เปน ผนู าํ คาํ สอนมาเผยแพร 5. เชื่อในวนั สน้ิ โลก เมื่อพระอัลเลาะหทรงสรา งโลกไดกต็ อ งทาํ ลายโลกได 6. เชอ่ื ในกฎกาํ หนดสภาวะของพระอัลเลาะห กลาวคือ ทุกอยางเกิดขึ้นโดยพระอัลเลาะหและ ดาํ เนนิ ไปตามประสงคข องพระองค สําหรับหลักคําสอนทั่วไปของศาสนาอิสลามนั้น สอนใหดําเนินชีวิตปฏิบัติตนตอกันของสังคม เปนไปดว ยความสงบสขุ เชน สอนใหมนษุ ยมีความเมตตากรุณาตอกัน สอนใหมีความกตัญูกตเวทีตอ บิดา มารดา สอนใหส มรสหา มหยา ราง และประพฤตผิ ิดประเพณีสอนไมใหด่มื สรุ าเมรัยและยาเสพติดตา ง ๆ สอนไมใหกินดอกเบี้ย รับสินบน ใหสินบน กักตุนสินคา และทุจริตคดโกงตาง ๆ สอนหลักการคบหา สมาคม สอนไมใหฆาลกู และตนเอง สอนไมใหถือสิ่งอันทัดเทียมพระอัลเลาะห สอนไมใหแตงงานกับ คนตา งศาสนา สอนใหเ ห็นความสําคญั ของเจตนา สอนถงึ การกระทาํ ทีท่ าํ ดไี ดด ี ทาํ ช่วั ไดช่ัว สอนใหเห็น ความสําคัญของความประพฤติ และสอนใหน กึ ถงึ สงิ่ ตองหามมใิ หนํามาบริโภค ฯลฯ เปนตน 9
หลักธรรมของศาสนาคริสต์ พระธรรมคําสอนของศาสดาจะปรากฏในพระคริสตคัมภีร คัมภีรไบเบิล ผูนับถือคริสตศาสนา ทกุ คนตอ งยึดมน่ั ในหลักปฏบิ ตั ิสําคญั ของคริสตศ าสนา เรียกวา บญั ญตั ิ 10 ประการ คอื 1. จงนมัสการพระเจาเพยี งองคเ ดยี ว อยาเคารพรูปบชู าอนื่ 2. อยา ออกนามพระเจาอยา งพรอย ๆ โดยไมสมเหตุสมผล 3. จงไปวัดวนั พระอนั เปนวนั ศกั ดส์ิ ทิ ธ์ิ 4. จงเคารพนับถือบิดา 5. จงอยาฆาคน 6. จงอยาทําลามก 7. จงอยา ลกั ขโมย 8. จงอยาพูดเท็จ หรือนนิ ทาผอู ่ืน 9. จงอยา ปลงใจในความอลุ ามก 10. จงอยามักไดใ นทรพั ยของเขา หลักคาํ สอนของศาสนาครสิ ต ทส่ี รุปสาํ คญั มา 2 ขอ คอื 1. จงรกั พระเจาอยา งสุดจิตสดุ ใจ 2. จงรกั เพอ่ื นบา น (เพอื่ นมนุษย) เหมอื นรักตัวเอง และหลกั คําสอนของพระเยซูสวนใหญจะอยูบนพื้นฐานบัญญตั ิ 10 ประการ และอธิบายเพิ่มเติม หรืออนุรักษคําสอนเดิมไว เชน สอนใหมีเมตตากรุณาตอกัน สอนใหรักกันระหวางพ่ีนอง สอนใหทํา ความดี สอนใหเห็นแกบุญทรัพยมากกวาสินทรัพย สอนใหแสวงหาคุณธรรมย่ิงกวาสิ่งอื่น สอนหลัก การคบหาซ่ึงกันและกัน สอนใหตอตานความอยุติธรรม สอนเรื่องจิตใจวาเปนรากฐานแหงความดี ความช่วั สอนถงึ ความกรณุ าของพระเจา สอนถงึ ความขดั แยงกนั ระหวางพระเจากบั เงนิ สอนใหรักษาศีล รักษาธรรม สอนวธิ ไี ปสวรรค สอนเร่อื งความสุขจากการทําใจใหอิสระ ฯลฯ เปน ตน หลักธรรมของศาสนาพราหมณ์ - ฮนิ ดู ศาสนาพราหมณ - ฮินดู เชื่อวา พระพรหมเปนเทพเจาสูงสุด เปนผูสรางโลกและสรรพสิ่ง ตลอดจนกาํ หนดโชคชะตาชวี ิตของคนและสัตว เพราะฉะน้ัน วิถีชีวิตแตละคนจึงเปนไปตามพรหมลิขิต แตล ะคนก็อาจเปลีย่ นวิถชี ีวิตไดหากทาํ ใหพระพรหมเห็นใจ และโปรดปรานโดยการบวงสรวงออนวอนและ ทําความดตี อพระองค หากตายไปก็จะไปเกดิ ในสุคตภิ ูมิ และหากโปรดปรานที่สุดก็จะไปอยูกับพระองค ชัว่ นจิ นริ นั ดร ชาวฮนิ ดูเชื่อวาวิญญาณเปน อมตะ จงึ ไมต ายไปตามรา งกาย ทว่ี าตายนนั้ เปนเพยี งวิญญาณออก จากรา งกายเทา นัน้ คําสอนเฉพาะเปนคําสอนเฉพาะกลุมแตละวรรณะ แตละหนาท่ี ตัวอยางคําสอนทั่วไป เชน สอนใหม นษุ ยม คี วามเมตตากรุณาตอกนั สอนใหมสี ันติ สอนถึงหนาท่ี และส่ิงที่มนุษยควรปฏิบัติตอกัน สอนใหมีขันติ สอนวธิ ีหาความสขุ และรูเทาทันความจริง สอนเรื่องความเปนอมตะของวิญญาณ หนาที่ บิดามารดามตี อ บตุ รธิดา หนาที่ครอู าจารยตอ ศษิ ย หนา ทีข่ องบุตรธิดา และศษิ ย ท่ีมตี อ พอ แม ครู อาจารย 10
หนาท่สี ามตี อภรรยา หนา ทีภ่ รรยาตอ สามี หนาทีน่ ายตอ บาว หนาทีร่ าชาตอ ราษฎร ธรรมและวรรณะทั้ง 4 คือ ธรรมและหนาท่ีของพราหมณ ธรรมและหนาที่ของศูทร แตอยางไรก็ตาม มีกฎเกณฑหามแตงงาน ระหวางคนตางวรรณะ เพราะเม่ือลูกออกมาเปนจัณฑาล ซึ่งถือวาเปนผูท่ีเปนบุคคลท่ีเปนเสนียดไมเปนที่ ตองการของสังคม เรืองที การปฏบิ ตั ติ นตามศาสนาต่าง ๆ ศาสนาทุกศาสนามีคําสอนที่มุงใหคนในสังคมประพฤติดี เพื่อใหครอบครัว ชุมชน สังคม ศาสนกิ ชน ทุกศาสนาพึงมีหนา ทตี่ อ งประพฤติปฏิบตั ิ คือ หนา ทขี่ องพทุ ธศาสนิกชน คือ พุทธบริษัท 4 ไดแก อุบาสก อุบาสิกา ภิกษุ ภิกษุณี โดยอุบาสก อุบาสิกา ทําหนาทป่ี ฏบิ ัติตามหลกั ธรรมพระพทุ ธศาสนา และทะนบุ ํารุงพระพทุ ธศาสนา การปฏิบัติตามหลักธรรมของพระพุทธศาสนา ตามท่ีไดกลาวมาแลว คือ การรักษาศีล 5 และ พัฒนาขึน้ ไปสกู ารรกั ษาศีล 8 หรืออโุ บสถศีล ซึง่ เปน ศีลของอบุ าสก อุบาสกิ า 1. เวน จากการฆา สัตว 2. เวนจากการลกั สงิ่ ของทีผ่ ูอ่ืนมิไดใ ห 3. เวนจากการประพฤตผิ ิดพรหมจรรย 4. เวนจากการพดู ปด พูดสอเสยี ด พูดคาํ หยาบ พูดเพอเจอ 5. เวนจากการดืม่ สุราเมรัย อนั เปนท่ีตัง้ แหงความประมาท 6. เวนจากการบรโิ ภคอาหารในยามวกิ าล (หลังเที่ยงถงึ วนั ใหม) 7. เวนจากการฟอนรํา ขับรอง ประโคมดนตรี และประดับรางกายดวยดอกไม ของหอม เครอื่ งประดบั เครือ่ งทา เครอ่ื งยอม 8. เวน จากการน่ังนอนเหนอื เตยี งตั่งทีเ่ ทาสงู เกนิ ภายในมนี นุ หรือสาํ ลี จากน้ันเม่ือมีพื้นฐานศีล 5 ศีล 8 แลวควรพัฒนาขึ้นไปสูการปฏิบัติธรรม ทําสมาธิ วิปสสนา เจริญปญญาใหรูแจงเพ่ือหาทางดับทุกข การเจริญปญญา เพื่อใหพิจารณาเห็นหลักธรรมแทจริงของ ศาสนาพุทธ ซึ่งเปนไปตามพระไตรลักษณ คือ อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา แปลวา สรรพส่ิงในโลกไมเท่ียง ลว นเปนทกุ ข และไมม ตี ัวตน และทุกสิง่ ในโลกจะมสี ภาวะเกดิ ขึน้ ตง้ั อยู และดับไป เมื่อการประพฤติปฏิบตั ิถงึ ทีส่ ดุ แลว ผนู น้ั จะเขา สูพระนิพพานเปนผูบริสุทธิ์ปราศจากกิเลส ไมมี การเวยี นวายตายเกิดอกี หนาท่ีสําคัญประการตอมา คือ การทะนุบํารุงและสืบทอดพระพุทธศาสนา คือ ทําหนาท่ี ทะนบุ าํ รุงรกั ษาศาสนวัตถุ คอื พระพุทธรปู วดั วาอาราม ทด่ี ิน สิง่ กอ สรางทางพุทธศาสนา ใหเปนสมบัติ ของศาสนา และใชเบญจธรรมในการเปน ทพี่ ่ึงพาจิตใจ และไหวพระสวดมนต ทาํ บญุ ตกั บาตร เลี้ยงพระ ประพฤติตามศาสนพิธีใหถกู ตอ งตามหลกั ศาสนาพุทธ และตองประพฤติตนเปนตัวอยางท่ีดี เผยแผคําสอน ใหบ ุตรธิดา บคุ คลในครอบครัว สนบั สนนุ ใหบตุ รธดิ าบวชเรยี นในศาสนาพุทธเพ่อื สืบทอดพระพทุ ธศาสนา ใหม ัน่ คงสถาพรสืบตอไป 11
สําหรับภิกษุ ภิกษุณี น้ัน ทําหนาท่ีศึกษารักษาพระธรรม และนํามาประพฤติปฏิบัติใหถูกตอง นอกจากน้ันยังตองทําหนาที่เผยแผคําสอนของพระพุทธเจา อีกทั้งชวยกันทะนุบํารุง ศาสนวัตถุ พระพุทธรูป วัดวาอาราม ส่ิงกอสรางทางศาสนาพุทธตาง ๆ ใหเปนถาวรวัตถุเปนท่ีพึ่งพิง รวมทั้ง การประกอบศาสนพธิ ขี องชาวพุทธใหถูกหลักตามวฒั นธรรม ประเพณีที่ดีงามของชาวพุทธที่สืบทอดมา จากบรรพบุรุษ เชน เดียวกันกับหนา ท่ขี องอสิ ลามิกชน ครสิ เตียน และผทู ีน่ ับถือศาสนาฮินดู ลวนมีหนาที่ปฏิบัติ ตามหลักธรรมคาํ สอนของศาสนาของตน ชวยกันเผยแผคําสอน หลักธรรม และรักษาศาสนวัตถุ ตลอดจน รักษาขนบธรรมเนยี ม พธิ กี ารของศาสนาใหถูกตอ ง และท่สี าํ คัญ คือ การชวยกันสืบทอดศาสนาใหคงอยู โดยชว ยกนั ทะนุบาํ รงุ สถาบนั หลักทางศาสนาของตนใหสามารถทําหนา ทีไ่ ดส มบูรณ สงผลใหคนในสังคม มคี วามสุขสงบตลอดไป เรืองที บุคคลตวั อย่างทีใช้หลกั ธรรมในการดาํ เนินชีวติ พระบาทสมเด็จพระปรมนิ ทรมหาภมู ิพลอดุลยเดช พระมหากษัตรยิ ไทยทรงเปน บคุ คลตวั อยางท่ี ใชห ลักธรรมในการดําเนินชีวิต พระองคทรงเปนพุทธมามกะ และทรงเปนองคอัครศาสนูปถัมภกของ ศาสนาทกุ ศาสนาในประเทศไทย พระองคทรงแสดงใหเห็นถึงพระเมตตา และพระมหากรุณาธิคุณในการบําบัดทุกข บํารุงสุข ใหแกพสกนิกรทั้งแผนดิน ใหมีชีวิตความเปนอยูที่ดี ทรงมีความละเอียดรอบคอบและทรงคิดคนหา แนวทางการพฒั นา เพอ่ื มุงประโยชนแ กป ระชาชนสูงสุดพสกนิกรควรยึดเปนแบบอยางในการเจริญรอย ตามเบ้ืองพระยคุ ลบาท นาํ มาปฏบิ ตั ิตนเพื่อใหเกิดผลตอ ตนเอง สงั คม และประเทศชาติตลอดไป หลกั การทรงงานของพระองคท ส่ี ามารถรวบรวมไดมีดังตอไปนี้ คือ 1. ศึกษาข้อมูลอย่างเป็ นระบบ การที่พระราชทานโครงการใดโครงการหนึ่ง จะทรงศึกษาขอมูล รายละเอียดอยางเปน ระบบ ทง้ั จากขอ มูลเบื้องตน จากเอกสารแผนที่ สอบถามจากเจาหนาที่ นักวิชาการ และราษฎรในพ้ืนท่ี เพื่อใหไ ดร ายละเอียดทถี่ กู ตอง 2. ระเบิดจากข้างใน พระองคทรงมุงเนนเร่ืองการพัฒนาตน ทรงตรัสวาตองระเบิดจากขางใน หมายความวา ตองสรางความเขมแข็งใหคนในชุมชนท่ีเราเขาไปพัฒนาใหเกิดสภาพพรอมที่จะรับ การพัฒนาเสียกอ น แลว จงึ คอยออกมาสูสงั คมภายนอก ไมใชก ารนําความเจริญมาจากภายนอกเขาไปหา ชมุ ชน 3. แก้ปัญหาทจี ุดเลก็ พระองคทรงมองเห็นปญหาในภาพรวมกอนเสมอ แตการแกปญหาของ พระองคจ ะเร่มิ ทจ่ี ดุ เลก็ ๆ 4. ทําตามลาํ ดับขันตอน ในการทรงงานพระองคจ ะเริม่ ตน จากสงิ่ ทจ่ี ําเปน ทีส่ ุดของประชาชนกอน ไดแก สาธารณสุข เม่ือมีรางกายสมบูรณแข็งแรงแลวก็จะสามารถทําประโยชนดานอื่น ๆ ตอไปได ตอ จากนน้ั กจ็ ะเปนเรือ่ งสาธารณปู โภคพ้นื ฐาน และส่ิงจําเปนในการประกอบอาชีพ เชน ถนน แหลงนํ้า เพื่อการเกษตร การอุปโภคบรโิ ภค ที่เอ้อื ประโยชนต อประชาชนโดยไมทําลายทรัพยากรธรรมชาติ รวมถึง 12
การใชค วามรทู างวิชาการ และเทคโนโลยที ี่เรยี บงา ย เนน การปรับใชภ มู ปิ ญ ญาทอ งถน่ิ ทร่ี าษฎรสามารถนําไป ปฏิบตั ไิ ด และเกิดประโยชนสงู สุดดังพระบรมราโชวาท 5. ภูมสิ ังคม การพัฒนาใด ๆ ตอ งคํานึงถึงสภาพภูมิประเทศของบริเวณน้ันวาเปนอยางไร และ สังคมวิทยาเกี่ยวกับลักษณะนิสัยใจคอของคน ตลอดจนวัฒนธรรมประเพณีในแตละทองถิ่น มีความ แตกตางกัน 6. องค์รวม ทรงมีวิธีการคิดอยางองครวม คือ การมองอยางครบวงจร ในการพระราชทาน พระราชดําริเกี่ยวกับโครงการหนึ่ง นั้น จะทรงมองเหตุการณท่ีจะเกิดขึ้น และแนวทางแกไขอยาง เชอ่ื มโยง ดงั เชน กรณี “ทฤษฎใี หม” ท่ีพระราชทานแกปวงชนชาวไทย เปนแนวทางในการประกอบอาชีพ แนวทางหน่ึงที่พระองคทรงมองอยางองครวม ต้ังแตการถือครองท่ีดินโดยเฉล่ียของประชาชนไทย ประมาณ 10 – 15 ไร การบรหิ ารจัดการทีด่ นิ และแหลง นํา้ อันเปนปจจัยพ้ืนฐานท่ีสําคัญในการประกอบ อาชีพ เมอื่ มีนํ้าในการทําเกษตรแลวจะสงผลใหผลผลิตดีข้ึน หากมีผลผลิตเพ่ิมมากขึ้นเกษตรกรจะตอง รูจกั วิธีการจัดการและการตลาด รวมถึงการรวมกลุมรวมพลังชุมชนใหมีความเขมแข็ง เพ่ือพรอมที่จะ ออกสกู ารเปลยี่ นแปลงของสงั คมภายนอกไดอ ยา งครบวงจร 7. ไม่ติดตํารา การพัฒนาตามแนวพระราชดําริ เปนการพัฒนาที่รอมชอมกับสภาพธรรมชาติ ส่ิงแวดลอมและสภาพสังคมจิตวิทยาแหงชุมชน คือ ไมติดตํารา ไมผูกมัดกับวิชาการและเทคโนโลยีที่ ไมเหมาะสมกบั สภาพชีวติ ทแ่ี ทจรงิ ของคนไทย 8. ประหยดั เรียบง่าย ได้ประโยชน์สูงสุด พระองคทรงประหยัดหลอดยาสพี ระทนตน้นั พระองค ทรงใชอยางคุมคา ในปหนึ่งพระองคเบิกดินสอ 12 แทง ทรงใชเดือนละแทง ใชกระทั่งกุด ในการ แกป ญหาใหแ กปญ หาดว ยความเรียบงายและประหยัด ราษฎรสามารถทําไดเอง ดังพระราชดํารัสความ ตอนหน่งึ วา ใหป ลูกปาโดยไมตองปลูกโดยปลอ ยใหขึ้นเองจะไดประหยัดงบประมาณ 9. ทําให้ง่าย พระองคทรงมีพระอัจฉริยภาพและพระปรีชาสามารถในการคิดคนดัดแปลง ปรบั ปรงุ และแกไ ขพัฒนาประเทศตามแนวพระราชดําริ ทรงใชกฎแหงธรรมชาติเปนแนวทาง ตัวอยาง การปลูกหญาแฝก เปน หญาคลมุ ดิน เพือ่ ปองกนั การพังทลายของหนา ดิน เปน ตน 10. การมสี ่วนร่วม พระองคทรงเปนนกั ประชาธิปไตย จงึ ทรงนาํ ประชาพิจารณมาใชใ นการบริหาร ดังพระราชดํารัสตอนหนึ่งวา ...สําคัญท่ีสุดตองหัดทําใจใหกวางหนักแนน รูจักรับฟงความคิดเห็น แมก ระท่ังการวิพากษวจิ ารณจ ากผูอ่นื อยางฉลาด เพราะการรจู กั รบั ฟง อยางฉลาดน้นั แทจริง คอื การระดม สติปญญาและประสบการณอันหลากหลายมาอํานวยการปฏิบัติ บริหารงาน ใหประสบความสําเร็จที่ สมบูรณ น้นั เอง... 11. ประโยชน์ส่ วนรวม ในการปฏิบัติพระราชกรณียกิจ และการพระราชทานพระราชดําริ พระองคท รงรําลึกถงึ ประโยชนส ว นรวมเปน หลกั สาํ คัญ 12. บริหารรวมทีจุดเดียว เปนรูปแบบการบริหารแรงงานแบบเบ็ดเสร็จท่ีเกิดขึ้นเปนครั้งแรก โดยทรงใหศูนยศึกษาการพัฒนาอันเนื่องมาจากพระราชดําริ เปนตนแบบในการบริการรวมที่จุดเดียว เพ่อื ประโยชนตอ ประชาชนท่ีจะมาขอใชบริการจะประหยดั เวลาและคาใชจาย โดยจะมหี นวยงานราชการ ตา ง ๆ มารวมดาํ เนนิ การ และใหบรกิ ารแกป ระชาชน ณ ที่แหง เดียว 13
13. ทรงใช้ธรรมชาตชิ ่วยธรรมชาติ หากเราตอ งการแกไขธรรมชาติ จะตอ งใชธรรมชาตชิ วยเหลอื เชน การแกไขปญหาปาเสื่อมโทรม ไดพระราชทานพระราชดําริการปลูกปาโดยไมตองปลูก ปลอยให ธรรมชาติชว ยฟน ฟธู รรมชาติ 14. ใช้อธรรมปราบอธรรม ทรงนําความเจรญิ กฎเกณฑของธรรมชาตมิ าเปน หลักการ แนวปฏบิ ตั ิ ท่สี าํ คัญในการแกป ญหาและปรบั ปรุงเปลยี่ นแปลงสภาวะท่ีไมป กติเขาสรู ะบบท่ีเปนปกติ เชน การนํานาํ้ ดี ขบั ไลนา้ํ เสยี หรือเจือจางนา้ํ เสียใหก ลบั เปน นาํ้ ดี การบําบัดน้ําเนา เสยี โดยใชผ ักตบชวา ซ่งึ มตี ามธรรมชาติ ดดู ซมึ ส่ิงสกปรกปนเปอ นในนา้ํ ดงั พระราชดํารัสวา “ใชอ ธรรม ปราบอธรรม” 15. ปลูกป่ าในใจคน ปญหาการฟนฟูทรัพยากรธรรมชาติใหกลับคืนมาจะตองปลูกจิตสํานึกใน การรกั ผนื ปาใหแ กคนเสยี กอ น ดงั พระราชดํารัสความตอนหน่ึงวา “...เจาหนาที่ปาไมควรจะปลูกตนไม ลงในใจคนเสียกอน แลวคนเหลานั้นกจ็ ะพากนั ปลกู ตน ไมลงบนแผนดนิ และรักษาตนไมดว ยตนเอง...” 16. ขาดทุนคอื กาํ ไร หลักการ คอื “...ขาดทนุ คอื กาํ ไร Our loss is our gain… การเสีย คือ การได ประเทศชาตกิ จ็ ะกา วหนา และการท่คี นอยดู มี ีสุข น้นั เปน การนับที่เปนมูลคาประเมินไมได...” หลักการ คือ การใหแ ละการเสียสละ สง ผลใหมผี ลกําไร คอื ความอยดู มี ีสุขของราษฎร 17. การพึงตนเอง พระองคทรงมีพระราชดํารัสความตอนหน่ึงวา “...การชวยเหลือสนับสนุน ประชาชนในการประกอบอาชีพและตงั้ ตัวใหม คี วามพอกินพอใชกอนอื่นเปนสิ่งสําคัญย่ิงยวด เพราะผูมี อาชีพและฐานะเพยี งพอท่จี ะพง่ึ พาตนเองได ยอมสามารถสรา งความเจรญิ ในระดบั สูงข้นั ตอไป...” 18. พออย่พู อกนิ การทพ่ี ระองคท รงเสด็จไปเย่ยี มประชาชนทรงเขาพระทัยปญหาอยางลึกซ้ึงถึง เหตุผลมากมายที่ใหราษฎรอยูในวงจรแหงทุกขเข็ญ จากน้ันจึงพระราชทานความชวยเหลือใหราษฎร มชี ีวิตอยใู นขนั้ พออยูพอกินกอ น แลว จงึ คอยขยบั ขยายใหมีสมรรถนะท่กี าวหนา ตอ ไป 19. เศรษฐกจิ พอเพยี ง เปน ปรัชญาท่พี ระองคม พี ระราชดํารสั ช้แี นะแนวทางแหงการดําเนินชีวิต โดยยึดถือหลักความพอประมาณ ความมีเหตุผล รวมท้ังความจําเปนท่ีจะตองมีระบบภูมิคุมกันท่ีดี พอสมควร 20. ความซือสัตย์ สุจริต จริงใจต่อกัน พระองคมีพระราชดํารัสวา “...ผูที่มีความสุจริตและ บริสุทธิ์ใจ แมจะมีความรูนอยก็ยอมทําประโยชนใหแกสวนรวมไดมากกวาผูมีความรูมาก แตไมมี ความสุจรติ ไมมีความบรสิ ุทธิใ์ จ...” 21. ทาํ งานอย่างมสี ุข พระองคทรงตรัสวา “...ทํางานกบั ฉัน ฉนั ไมม อี ะไรจะให นอกจากความสขุ รว มกันในการทําประโยชนใหก บั ผอู ่นื ...” 22. ความเพยี ร : พระมหาชนก จากพระราชนิพนธพระมหาชนก ซ่ึงเปนตัวอยางของผูมีความ เพียรพยายาม แมจะไมเห็นฝงก็ยังวายนํ้าตอไป เชนเดียวกับพระองคที่ทรงริเริ่มทําโครงการตาง ๆ ในระยะแรกที่ไมมีความพรอมในการทํางานมากนัก ทรงใชพระราชทรัพยสวนพระองคมุงม่ันพัฒนา บานเมืองใหเ กิดความรม เยน็ เปนสุข 14
23. รู้ รัก สามคั คี พระองคทรงมพี ระราชดาํ รัสคาํ สามคํานี้ ใหน าํ ไปใชไดทกุ ยุคทกุ สมยั รู้ คอื การลงมือทาํ ส่งิ ใดโดยรถู ึงปจ จัยท้งั หมด รูถ ึงปญ หา และรถู ึงวธิ กี ารแกปญ หา รัก คอื ความรกั เม่อื รูแจง จะตองรกั การพจิ ารณาทีจ่ ะเขาไปลงมอื ปฏิบตั แิ กไขปญ หาอื่น ๆ สามคั คี คือ การคํานึงเสมอวาเราทํางานคนเดียวไมได ตองทํางานรวมมือรวมใจ เปนองคกร เปนหมูคณะ จึงมีพลงั เขาไปแกป ญหาใหล ุลวงไปไดดวยดี เรืองที การอยู่ร่วมกันของคนไทยทีต่างศาสนา ศาสนามปี ระโยชน คือ ชวยใหทกุ คนในสงั คมอยดู ว ยกนั อยา งสงบสุขและมีสันติ มีความรักใคร สามัคคีปรองดองกนั ซ่งึ เปน พื้นฐานสําคัญทสี่ งผลใหต นเอง ครอบครัว ชุมชน สังคม มคี วามเปนอันหนึ่ง อนั เดียวกนั ทาํ ใหเกดิ ความสามารถนาํ พาตนเอง ครอบครัว ชมุ ชน สังคม เจริญรุดหนาไป อยางไรก็ตาม หากชุมชน สังคมมีขอปฏิบัติทางศาสนาเดียวกัน มีวัฒนธรรมประเพณีเหมือนกัน สังคมนั้นจะมี ความกลมเกลียวกัน เม่ือศึกษาประวัติศาสนาสังคมไทยตั้งแตสมัยอดีตจนถึงปจจุบัน ปญหาแตกแยก ทางสังคม เนอื่ งจากสาเหตเุ พราะศาสนาแตกตา งกันนน้ั ไมเ คยปรากฏข้นึ ในประเทศไทย แตภาวะปจจบุ ันสังคมไทยเกดิ ปญ หาความแตกแยก ไมสามัคคีกัน โดยระบุวาสาเหตุเปนเพราะ ความเชอ่ื ทางศาสนานัน้ เมอื่ วเิ คราะหส าเหตแุ ละสบื สาวเหตุการณแลว ความเช่ือทางศาสนาไมใชสาเหตุ ทั้งนี้ เพราะศาสนาลวนมีกฎเกณฑของศีลที่ไมใหมนุษยเบียดเบียนรังแกกัน ดังน้ัน สังคมไทยตั้งแต สโุ ขทยั เปน พุทธศาสนา ฮินดู อยูร วมกันอยา งผสมกลมกลืน คําสอนของพุทธศาสนาปรากฏในศาสนาฮินดู และพธิ กี รรมศาสนาฮนิ ดู ปรากฏอยใู นสังคมไทยพุทธ โดยอยรู วมกันอยางลงตัว เชน ประเพณีลอยกระทง ตอมาในสมยั อยธุ ยาไทยคาขายกับจีน ฝรั่งชาติตาง ๆ ในสมัยสมเด็จพระนารายณ โดยมีขุนนางฝร่ัง คือ เจาพระยาวิชชาเยนทร เปนคริสเตียน ตั้งรกรากอยูในไทย และยังคงนับถือศาสนาคริสตอยู ตอมา สมยั รตั นโกสินทร รัชกาลท่ี 4 ของเราทา นศึกษาวัฒนธรรมตะวันตก และเม่ือถึงรัชกาลท่ี 5 มีการติดตอ กับตางประเทศนําวัฒนธรรมตะวันตกมาใชปรับปรุงประเทศ และไมทําใหศาสนาเส่ือมถอย พระองค ทานใชหลักศาสนา เพื่อใหชาติคงอยูดวยการเสียสละดินแดนสวนนอย เพื่อรักษาดินแดนสวนใหญไว สงผลใหร กั ษาชาติบานเมืองใหคงอยูไมเ สียเอกราช กลาวโดยสรปุ สังคมไทยแมมีศาสนาหลากหลายในชุมชน สังคม คนไทยท่ีตางศาสนายึดหลัก ประนีประนอม เคารพซงึ่ กนั และกนั เขา ใจวิถชี ีวติ ทแ่ี ตกตา งกนั ทาํ ใหอยูรวมกนั ไดอยา งมคี วามสุข เราจะ เห็นภาพของสังคมไทยทั่วไปท่ีคนไทยมุสลิม คนคริสเตียน คนไทยพุทธ ไทยฮินดู ติดตอคาขาย ประกอบกิจศาสนา ใชชีวิตครอบครัวท่ีตา งศาสนาอยรู วมกันในสังคมไทยอยางปกติสุขในโรงเรียนและ สถาบนั การศึกษาระดับสงู มีบุตรหลานคนไทยตางศาสนาอยูร วมกันศกึ ษาหาความรูโดยไมม ีปญหาใด ๆ เมอื่ เกดิ ปญ หาความขดั แยง แตกแยกของคนในสังคม ตั้งแตครอบครัว ชุมชนใด ๆ ในประเทศไทย และความแตกแยกน้ันทวีความรุนแรงยิ่งข้ึน ครอบครัว ชุมชน ทุกแหงยิ่งจะตองนําหลักคุณธรรม จริยธรรมมาแกไขปญหา เพื่อลดความขัดแยงท่ีรุนแรง สถาบันองคกรทางศาสนา และทุกคนจะตอง รวมมือกันในการนําสนั ติภาพกลบั คนื มาสสู ังคม ชุมชนอยางรวดเร็ว 15
กรณีตัวอยางจากพุทธประวตั ิ การแกปญหาความแตกแยกในสงั คมโดยสันตวิ ธิ ี คร้ังหน่ึงเหลากษัตริยศากยวงศ พระญาติฝายพุทธบิดา และเหลากษัตริยโกลิยวงศ พระญาติ ฝายพุทธมารดา ทะเลาะวิวาทกันเรื่อง แยงน้ําโรหิณี เน่ืองจากฝนแลง นํ้าไมเพียงพอ การทะเลาะวิวาท ลุกลามไปจนเกือบกลายเปน ศกึ ใหญ พระสมั มาสมั พทุ ธเจา ทรงทราบเหตุดวยพระญาณ จึงเสด็จไปหาม สงคราม โดยตรสั ใหเห็นถงึ ความไมส มควรท่กี ษตั รยิ ต องมาฆาฟน กนั ดว ยสาเหตเุ พียงแคการแยง น้ําเขานา และตรัสเตือนสติวาระหวางน้ํากับพ่ีนอง อะไรสําคัญยิ่งกวากัน ทั้งสองฝายจึงไดสติคืนดีกัน และขอ พระราชทานอภยั โทษตอเบื้องพระพักตรพ ระพุทธองค กิจกรรมที ให้ผ้เู รียนเลอื กคาํ ตอบทีถูกต้อง 1. ศาสนาพุทธเปน ศาสนาประเภทใด ก. เอกเทวนิยม ข. พหเุ ทวนยิ ม ค. สัพพตั ถเทวนยิ ม ง. อเทวนิยม 2. ศาสดาหมายถงึ อะไร ก. ผปู ฏบิ ัติตามคําสอนของศาสนา ข. ผนู ับถอื ศาสนา ค. ผูค นพบศาสนาและนําคาํ สอนมา ง. สาวกของศาสนา เผยแผ 3. สมั มาสมาธอิ ยใู นธรรมะหมวดใด ก. มรรค 8 ข. อรยิ สัจ 4 ค. ฆราวาสธรรม ง. พรหมวหิ าร 4 4. คาํ สอนศาสนาใดทเ่ี นนใหม นุษยมคี วามรักตอกัน ก. ศาสนาพทุ ธ ข. ศาสนาคริสต ค. ศาสนาอิสลาม ง. ศาสนาพราหมณ – ฮินดู 5. มัสยิดเปน ศาสนสถานของศาสนาใด ก. ศาสนาพุทธ ข. ศาสนาคริสต ค. ศาสนาอิสลาม ง. ศาสนาพราหมณ – ฮินดู 6. การแกไขปญ หาความขดั แยง ในสังคม วิธใี ดเปน วิธที ่ดี ที ีส่ ุด ก. ใชห ลักธรรมทางศาสนา ข. ใชหลกั กฎหมาย ค. ใชหลักการเจรจา ง. ใชค ณะกรรมการ 16
7. สังคมที่มีความเจริญกาวหนาทางวัตถุเปนสังคมวัตถุนิยม ประชาชนควรมีคานิยมใดจึงจะ เหมาะสม ก. รรู กั สามคั คี ข. ประหยดั และนิยมไทย ค. ใชช วี ติ เรยี บงา ย ง. มรี ะเบยี บวินัย 8. เมกกะ คือ เมืองสําคัญของศาสนาใด ข. ศาสนาอิสลาม ก. ศาสนาพทุ ธ ง. ศาสนาพราหมณ – ฮินดู ค. ศาสนาครสิ ต ข. ศาสนาอิสลาม 9. การถอื ศลี อดเปนขอ ปฏิบตั ขิ องศาสนาใด ง. ศาสนาพราหมณ – ฮินดู ก. ศาสนาพทุ ธ ค. ศาสนาคริสต 10. ศาสนาใดทีน่ บั ถือเทพเจาหลายองค ข. ศาสนาอสิ ลาม ก. ศาสนาพุทธ ง. ศาสนาพราหมณ – ฮินดู ค. ศาสนาครสิ ต กิจกรรมที ให้ผ้เู รียนศึกษากรณตี วั อย่างทเี กดิ จริงในหนงั สือพมิ พ์ทแี สดงถงึ การไม่ใช้หลกั คาํ สอนของ ศาสนาในการดาํ รงชีวติ แล้วนํามาแลกเปลยี นเรียนรู้กนั ในชันเรียน 17
บทที วัฒนธรรมประเพณี สาระสําคญั เปนสาระสําคัญทเี่ กยี่ วกบั วฒั นธรรมประเพณใี นชมุ ชนทองถ่นิ ภาคตาง ๆ ของประเทศไทย ภาษา การแตงกาย ฯลฯ ของภาคตา ง ๆ ประเพณีของแตละชุมชนทอ งถิ่น ภาค เชน แหเ ทยี นพรรษา บุญเดือนสิบ ลอยกระทง ประเพณีว่ิงควาย ย่ีเปง การอนุรักษและสืบสานวัฒนธรรมประเพณีของภาคตาง ๆ การ ประพฤติปฏิบัติตน เพื่อการอนุรักษและสืบสานวัฒนธรรมประเพณี คานิยมที่พึงประสงคของชุมชน สงั คมไทย การประพฤตปิ ฏิบตั ติ นตามคานิยมของชมุ ชน สังคมไทยทีพ่ งึ ประสงค ผลการเรียนรู้ทีคาดหวงั 1. มีความรู ความเขาใจในวัฒนธรรมประเพณีของชมุ ชน ทองถ่ิน และของประเทศ 2. ตระหนักถึงความสําคญั ของวัฒนธรรมประเพณขี องของชมุ ชน ทอ งถน่ิ และของประเทศ 3. มีสวนรว มในการปฏิบัติตนตามวัฒนธรรมประเพณขี องทอ งถน่ิ 4. นาํ คา นยิ มที่พงึ ประสงคข องสังคม ชมุ ชนมาประพฤติปฏิบตั ิจนเปน นิสัย ขอบข่ายเนือหา เรื่องที่ 1 ความหมาย ความสําคญั ของวัฒนธรรมประเพณี เร่ืองท่ี 2 วฒั นธรรม ประเพณีท่ีสาํ คัญของทอ งถนิ่ และของประเทศ เรอื่ งท่ี 3 การอนรุ กั ษสืบสานวัฒนธรรมของประเพณีไทย เรอ่ื งท่ี 4 คานยิ มทพ่ี งึ ประสงคข องไทยและของทอ งถน่ิ เรือ่ งท่ี 5 การประพฤตปิ ฏิบตั ติ นตามคานยิ มทีพ่ ึงประสงค 18
เรืองที ความหมาย ความสําคญั ของวฒั นธรรม ประเพณี . ความหมายความสําคญั วฒั นธรรม คือ มรดกแหงสงั คมที่มนษุ ยไ ดสรางสรรคข้ึน และไดรับการถายทอดกันมาจาก อดีตสูปจจุบัน เปนผลผลิตท่ีแสดงถึงความเจริญงอกงามท้ังดานวัตถุและท่ีไมใชวัตถุ เชน อุดมการณ คา นิยม ประเพณี ศลี ธรรม กฎหมาย และศาสนา เปน ตน พระราชบัญญตั วิ ัฒนธรรมแหงชาติ พทุ ธศักราช 2485 กลาววา วัฒนธรรม หมายถึง ลักษณะ ท่ีแสดงถึงความเจริญงอกงาม ความเปนระเบียบเรียบรอย ความกลมเกลียวกาวหนาของชาติ และ ศลี ธรรมอนั ดีงามของประชาชน สรุปไดว า วัฒนธรรม หมายถึง วิธกี ารดาํ รงชีวติ ของมนษุ ยที่แสดงถึงความเจริญงอกงามใน การอยูรว มกัน เปน การสรา งสรรคของมนษุ ยทีแ่ สดงออกในลักษณะวัตถแุ ละไมใชวัตถุ แลวถายทอดสืบ ตอกันมา ความสาํ คัญของวัฒนธรรม มีอยู 5 ประการ คือ 1. วัฒนธรรม ชวยใหมนษุ ยส ะดวกสบายข้ึน ชว ยแกปญ หาและสนองความตองการตาง ๆ ของมนุษย สามารถเอาชนะธรรมชาติได เพราะสรา งวัฒนธรรมข้ึนมาชวย 2. วัฒนธรรม ทาํ ใหสมาชกิ ในสังคมมีความเปนอันหนงึ่ อันเดียวกันมคี วามสามัคคกี ัน 3. วัฒนธรรม แสดงถงึ เอกลักษณของชาติ ชาตทิ มี่ วี ฒั นธรรมสงู ยอ มไดรับการยกยองและ เปนหลกั ประกนั ความม่ันคงของชาติ 4. วัฒนธรรม กําหนดพฤติกรรมของคนในสังคม ชวยใหคนในสังคมอยูรวมกันอยาง สนั ติสุข 5. วฒั นธรรม ทาํ ใหประเทศชาติมคี วามเจรญิ รงุ เรือง . ความหมายความสําคญั ของประเพณี ประเพณี หมายถงึ แบบความประพฤตทิ ี่คนสวนรวมถือเปนธรรมเนียมหรือระเบียบแบบแผน และปฏบิ ัติสืบตอ กันมาชา นาน จนเกิดเปนแบบอยางความคิดหรือการกระทําที่ไดสืบตอกันมา และยังมี อิทธพิ ลอยูใ นปจจบุ นั ซ่งึ อยใู นรูปแบบของ จารตี ประเพณี ขนบประเพณี และขนบธรรมเนยี มประเพณี จารีตประเพณี คือ ประเพณีท่ีเกีย่ วขอ งกับศีลธรรมและจติ ใจ เชน การตอบแทนบุญคุณบิดา มารดา บพุ การี การเลีย้ งดูเม่อื ทา นแกเ ฒา การเคารพเชอื่ ฟงครู อาจารย การนับถือบรรพบรุ ษุ ขนบประเพณี คอื ประเพณที ี่ประพฤตปิ ฏิบตั ิกนั อยทู ่ัวไปมาอยางเปนระเบียบ บังคับใหคน ในสังคมนน้ั ๆ ยึดถือและปฏิบตั ติ าม เชน กฎหมาย กฎระเบียบ และขอ บงั คบั ตา ง ๆ และมีขนบประเพณีที่ คนในสังคมไมต องปฏบิ ตั ิตามเสมอไป เชน ประเพณกี ารโกนจุก เปน ตน ธรรมเนียมประเพณี คือ ประเพณีที่เกี่ยวของกับการปฏิบัติระหวางบุคคลที่สังคมยอมรับ เชน การทักทาย การไหว การเดนิ กิริยามารยาท เปน ตน 19
นอกจากนย้ี งั มีประเพณที างศาสนา เชน วนั โกน วันพระ ประเพณเี กีย่ วกับการเกิด การตาย การโกนผมไฟ ประเพณีเก่ยี วกบั ครอบครัว เชน การปลูกเรอื น ประเพณเี กยี่ วกบั เทศกาลตาง ๆ เชน ตรุษไทย วนั สงกรานต วันลอยกระทง และแตละภาค แตละทอ งถ่นิ มีประเพณแี ตกตา งกันออกไป ความสําคญั ของประเพณี มอี ยู 5 ประเภท คือ 1. เปนเคร่อื งบอกความเจรญิ ของชาตินน้ั ๆ ชาติทีเ่ จริญในปจ จบุ นั มีประเพณีตา ง ๆ ทีแ่ สดงถงึ ความเจรญิ กาวหนา 2. ประเพณีสวนมากสืบคน ความเปน มาของประเพณนี นั้ ๆ ต้งั แตอดีตเชื่อมโยงถึงปจจุบัน ประเพณีจงึ สามารถใชเ ปนแนวทางในการศึกษาประวตั ศิ าสตรไดเ ปน อยา งดี 3. ประเพณที ําใหค นในสังคมเกิดความภาคภมู ิใจในความดงี ามของเผา และชาติบานเมือง ตนเอง 4. ประเพณที าํ ใหค นในสังคมไดท าํ กจิ กรรมรว มกัน อันเปน การดํารงความรักสามัคคี ทําให คนในเผา ชมุ ชน ภาค และเปน ชาติมคี วามมน่ั คงสืบตอ กนั มา 5. ประเพณีเปนสญั ลกั ษณท ี่สาํ คัญ ซ่ึงแสดงออกความเปนเผา ชมุ ชน ภาค เปนชาติ เรืองที วฒั นธรรมประเพณีทีสําคญั ของท้องถิน และของประเทศ . วฒั นธรรมทีสําคญั วัฒนธรรมท่ีสาํ คัญของทอ งถน่ิ และของประเทศทีแ่ สดงออกถงึ ความเปน ไทยท่สี ําคัญตา ง ๆ คือ ภาษา การแตงกาย อาหาร และมารยาท ภาษา ภาษาท่ีใชสื่อสารกันในสังคม มี 2 ลักษณะ คือ ภาษาทางกาย และภาษาทางวาจา ในเผา ในชุมชน ภาค จะมีภาษาถิ่น สําเนียงถิ่น กิริยาอาการแสดงออกของทองถ่ิน และจะมีภาษากิริยา อาการ คนไทยจะใชภาษาไทยกลาง ซ่งึ เปน ภาพรวมของประเทศ ดังน้ัน วัฒนธรรมทางภาษา จะบงบอก ท่ีมาของกําเนิดซงึ่ ควรจะเปนความภูมิใจในตัวตน ไมเ ปนสิ่งเชย นา อาย หรือลาสมัยในการแสดงออกทาง ภาษาถ่ิน ภาษาไทยกลางของคนไทย การแตงกาย การแตงกายของคนในสังคมไทยในปจจุบันไดรับอิทธิพลจากวัฒนธรรม ตะวนั ตกในชวี ติ ประจําวันคนไทยจึงแตงตัวแบบสากลตอเมื่อมีงานบุญ ประเพณีตาง ๆ หรือในโอกาส สําคญั ๆ จงึ นําการแตง กายประจําถน่ิ ทีแ่ สดงออกมาเปน เผา ชุมชน และภาค อยางไรก็ตาม เรายังเห็นคน รุน เกา รุนพอ แม ปู ยา ตา ยาย ในทอ งถิ่นบางแหง ยงั คงมวี ัฒนธรรมการแตงกายท่ีสืบทอดมาจากบรรพบุรุษ ใหเ ราเห็นไดใ นชวี ติ ประจาํ วนั อาหาร เนื่องจากการติดตอสื่อสารของโลกปจจุบันเปนโลกไรพรมแดน เราจึงสามารถ รบั ประทานอาหารไทยทร่ี า นในเมืองลอสแองแจลิส เมืองฮอ งกงไดด ว ย วฒั นธรรมทางอาหารการกินของ คนไทยในทอ งถิ่น และไทยยังคงสืบตอตงั้ แตอ ดีตมาจนถึงปจจบุ นั เพราะสภาวะแวดลอมทางภูมิศาสตร ทรัพยากรตาง ๆ สงผลใหวัตถุดิบที่ใชในการประกอบอาหารทองถ่ินไทย ยังคงมีอยูและนํามาใชใน การประกอบอาหาร การกนิ ไดตลอดมา แตอ าหารบางชนดิ เรม่ิ สูญหายไป เด็กไทยปจจุบันเร่ิมจะไมรูจัก 20
คุนเคยอาหารบางชนิด เชน ขนมกง ซง่ึ ประเพณีแตงงานภาคกลาง ในอดีตจะมีขนมกง เปนขนมทําจาก ถ่ัวทองปน เปน รปู วงกลม มซี ่เี หมือนลอเกวียน เพอื่ ใหช ีวติ แตง งานราบร่นื กา วไปขางหนา เปน ตน มารยาท มารยาทของคนไทยที่อาศัยอยูเปนเผา ชุมชน ภาค ตลอดจนไทยกลางไดรับการ สืบทอดมาจากบรรพบุรุษ แตเมื่อกลาวโดยรวมแลวมารยาทไทยน้ันทั่วโลกยอมรับวามีความงดงาม ออนชอย การไหว การกราบ บงบอกถึงความเปนชาติท่ีมีวัฒนธรรมอันดีงาม ทําใหคนตางประเทศ ประทบั ใจ สง ผลใหอตุ สาหกรรมการทองเทยี่ วเจริญกา วหนา เรืองที การอนุรักษ์สืบสานวฒั นธรรมประเพณไี ทย 3.1 ความสําคญั ในการอนุรักษ์สืบสานวฒั นธรรมประเพณไี ทย การอนุรักษสืบสานวัฒนธรรมประเพณีไทย เปนสิ่งสําคัญท่ีคนไทยทุกคนพึงตระหนักถึง หนาท่ีที่ทุกคนพึงกระทํา ท้ังนี้ เพราะวัฒนธรรมประเพณีประจําชาติและทองถ่ิน จัดเปนส่ิงท่ีมีคุณคา ควรแกการอนุรักษ โดยเฉพาะอยางย่ิงขนบธรรมเนียมประเพณี โบราณสถาน โบราณวัตถุ ภาษา วรรณกรรมตาง ๆ ซ่งึ ไดบรรจุ และสั่งสมความรู ความหมาย คุณคาที่มีมาตั้งแตอดีตใหคนไทยปจจุบัน ไดเ รียนรู เพ่ือรูจ กั ตนเองและมีความภูมิใจในความเปนชาติไทย และสิ่งเหลาน้ีจะสูญหายหากขาดการ เอาใจใสในการอนุรักษ และสง เสรมิ ในทางที่ถูกทคี่ วร 3.2 แนวทางในการอนุรักษ์วฒั นธรรมประเพณขี องไทย 1. ศึกษา คนควา วิจัย วัฒนธรรม ประเพณีไทย และทองถ่ินที่ยังไมไดรวบรวมศึกษาไว เพ่ือใหมีความรูความเขาใจถองแท ทําใหเกิดความรูสึกยอมรับในคุณคา จะไดหวงแหน ภูมิใจ และ เผยแพรใหเกดิ ประโยชนต อไป 2. สรางความเขาใจใหคนไทยทุกคนเขาใจ ปรับเปล่ียน ตอบสนองวัฒนธรรมประเพณีอ่ืน ๆ จากภายนอกอยา งเหมาะสม 3. ขยายขอบเขตเรอื่ งการอนรุ กั ษ วัฒนธรรม ประเพณีไทยใหค นไทยทุกคนเห็น เปนหนาท่ี สําคญั ท่ีจะตอ งรว มกันทะนุบาํ รุงรกั ษาทง้ั ดว ยกาํ ลงั กาย และกําลงั ทนุ ทรพั ย 4. สงเสริมการแลกเปล่ยี นเรยี นรูว ัฒนธรรมประเพณีระหวางเผา ชุมชน ภาค เพ่ือส่ือสารสราง ความสัมพนั ธระหวางกนั 5. ชว ยกันจดั ทําระบบขอ มูลสารสนเทศทางวฒั นธรรมประเพณี เพ่ือใชเปนฐานความรูของ สงั คม เพื่อใชใ นการประชาสมั พันธและสงผลถงึ ภาวะอตุ สาหกรรมท่ีเกี่ยวของที่สําคัญ คือ อุตสาหกรรม ทองเท่ยี วเชงิ อนุรกั ษจะสงผลตอเศรษฐกจิ ของชาตโิ ดยรวม 21
เรืองที ค่านิยมทีพงึ ประสงค์ของไทยและของท้องถนิ 2.1 คา นิยมที่พึงประสงคของไทย ในเมื่อคานิยมเปนส่ิงท่ีกําหนดความเช่ือ ซ่ึงสงผลถึงพฤติกรรมของคนในสังคมแลว การกาํ หนดคานยิ มทีพ่ ึงประสงคของทองถิ่นและของไทย จึงควรท่ีคนในสังคมไทยทั้งในทองถ่ินจนถึง ระดบั ชาติ อยางไรก็ตาม มีผูแจกแจงคานิยมของสังคมไทยไวดังนี้ คือ สมเด็จฯ กรมพระยาดํารงราชานุภาพ ไดต รสั วา คานิยมของสงั คมไทยมี 3 ประการ คอื 1. รักความเปน ไทย 2. คนไทยไมชอบการเบยี ดเบียนและหาเรื่องกับคนอืน่ 3. การรจู ักประสานประโยชน รูจ ักการประนปี ระนอม โอนออนผอนตาม ทําใหเมืองไทย ไมต กเปนอาณานคิ มของประเทศใด ศาสตราจารย ประเสริฐ แยมกลิม่ ฟุง จาํ แนกคานิยมของคนไทย ไวด ังนี้ 1. ความรกั อิสรภาพหรือความเปนไทย 2. ยํ้าความเปนตัวของตวั เอง 3. ความมักนอ ย 4. ยา้ํ หาความสุขจากชวี ิต สง ผลใหเกิด คําวา “สยามเมืองยิ้ม” 5. เคารพ เชอ่ื ฟง อํานาจ โดยชอบธรรม คนไทยเคารพผอู าวโุ ส 6. ชอบความโออา มใี จนกั เลง กลา ได กลา เสยี บรโิ ภคนิยม 7. มีนา้ํ ใจเออ้ื เฟอเผอ่ื แผ คนไทยมลี กั ษณะเปน มติ รกับคนทุกคน ในปจ จุบันสงั คมไทยมปี ญหา คนขาดคณุ ธรรม จรยิ ธรรม ปญหาเร่อื งเพศ เรือ่ งความรุนแรง และอบายมุข ในป 2549 กระทรวงศกึ ษาธิการ จงึ กาํ หนดลักษณะเชิงพฤติกรรมที่เปน 8 คุณภาพพื้นฐาน เพ่อื เปนรากฐานในการพัฒนาเด็กและเยาวชนใหเ ปนคนดี สงผลใหส งั คมไทยเปนสงั คมทีด่ ี คือ 1. ขยัน คือ ตัง้ ใจเพียรพยายามทําหนา ทีก่ ารงานอยา งตอ เน่ือง สม่าํ เสมอ อดทน 2. ประหยัด คือ รูจักเก็บออมถนอมใชทรัพยสินแตพอควรพอประมาณใหเกิดประโยชน คมุ คา ไมฟุม เฟอ ย ฟุงเฟอ 3. ซอื่ สัตย คือ ประพฤติตรงไมเอนเอยี ง ไมมีเลหเ หลยี่ ม มีความจรงิ ใจ ปราศจากความรูสึก ลาํ เอยี ง หรอื อคติ 4. มีวนิ ัย คอื ยึดมั่นในระเบียบแบบแผน ขอบังคับ และขอปฏิบัติ มีท้ังวินัยในตนเองและ วนิ ยั ตอ สงั คม 5. สุภาพ คือ เรียบรอย ออ นโยน ละมนุ ละมอ มมีกิริยามารยาทที่งาม มสี มั มาคารวะ 6. สะอาด คือ ปราศจากความมัวหมองท้ังกาย ใจ และสภาพแวดลอมความผองใสเปนที่ เจรญิ ตา ทาํ ใหเกิดความสบายใจแกผ พู บเห็น 22
7. สามัคคี คือ ความพรอมเพียงกัน ความกลมเกลียว ความปรองดองกัน รวมใจกัน ปฏิบัติงานบรรลุผลตามที่ตองการเกิดการงานอยางสรางสรรค ปราศจากการทะเลาะวิวาท ไมเอารัด- เอาเปรียบกัน เปนการยอมรับความมีเหตุผล ยอมรับความแตกตางหลากหลาย ความคิด เชื้อชาติ หรือ อาจเรียกอกี อยางวา ความสมานฉันท 8. มีน้ําใจ คอื มคี วามจรงิ ใจ ไมเห็นแกต วั และเรือ่ งของตัวเอง แตเห็นอกเห็นใจ เห็นคุณคา ในเพ่ือนมนุษย มีความเออื้ อาทรเอาใจใสใหค วามสนใจในความตอ งการ ความจําเปน ความทุกขสุขของ ผอู น่ื และพรอมท่ีจะใหความชว ยเหลอื เกื้อกูลกันและกัน . ค่านยิ มท้องถิน คานิยมของทองถ่ิน จะบงบอกลักษณะนิสัยเดนของคนในทองถ่ิน เชน คนภาคเหนือ มมี ารยาทออ นโยน พูดจาออนหวาน คนภาคใตมีความรักใครพวกพองตาง ๆ เหลานี้สามารถศึกษาไดจาก ลักษณะของคนในชุมชน วถิ ชี ีวิตการแสดงออก สถาบนั ทางการศกึ ษา ศาสนา และครอบครัวมีสวนสาํ คญั ในการสรางเสริมคา นยิ มใหม ๆ ใหเกิดขึน้ ในครอบครวั ชุมชน สังคม เรืองที การประพฤตปิ ฏบิ ตั ติ นตามค่านิยมทพี งึ ประสงค์ การประพฤติปฏิบัติตนตามคานิยมที่พึงประสงค น้ัน เปนสิ่งท่ีควรกระทําทุกคนจึงเปนพลัง สําคญั สงผลใหป ระเทศชาติพฒั นาไปอยา งย่งั ยนื หรืออาจกลาววา หากสังคมใดมีแตความเจริญทางวัตถุ แตข าดความเจรญิ ดา นจติ ใจ สงั คมนั้นจะพัฒนาอยางไมยงั่ ยืน ซงึ่ ความเจริญทางดานจิตใจ นั้น นอกจาก คนในสังคมจะตองประพฤติปฏิบัติดีตามหลักธรรมศาสนาแลว ควรสรางเสริมคานิยมที่ดีใหเกิดข้ึนกับ คนในชาตโิ ดยพรอ มเพียงกันอีกดว ย ตัวอยางเชน คา นิยมความประหยัด การสรางนิสัยประหยัดพลังงาน น้ํามนั ของคนในชาติ ไมใ ชท ําเฉพาะผูม รี ายไดน อย ผทู ม่ี ีฐานะรา่ํ รวยสามารถใชน้ํามันอยางสุรุยสุรายได เพราะชาติน้ีมเี งินมากมายใชชว่ั ลูกช่ัวหลานไมหมด ผูมีฐานะรํ่ารวยจะตองมีนิสัยประหยัดพลังงานดวย เปน ตน และแมวา นํ้ามันมีราคาถูกลงทุกคนในชาติควรประหยัดตอ ไปใหเปน นสิ ัย กิจกรรมที ให้ผ้เู รียนเลอื กคาํ ตอบทถี ูกต้อง ข. การแตง กาย ง. ถูกทกุ ขอ 1. ขอใดคอื วฒั นธรรม ก. อาหาร ข. การแตง งาน ค. ภาษาพูด ง. การถือศลี 8 2. ขอใดคอื ประเพณี ก. การพูดทักทาย ค. การรบั ประทานขา ว 23
3. ประเพณวี ง่ิ ควายอยใู นจังหวดั ใด ก. ชยั นาท ข. อา งทอง ค. ชลบรุ ี ง. สมุทรปราการ 4. ประเทศไทยไดร บั อิทธิพลวัฒนธรรมประเพณีจากทใ่ี ด ก. อารยธรรมตะวนั ตก ข. อารยธรรมจนี ค. อารยธรรมอินเดยี ง. ถูกทกุ ขอ 5. การตอบแทนบญุ คุณ บิดา มารดา บุพการี จัดเปน อะไร ก. ประเพณี ข. จารตี ประเพณี ค. ขนบประเพณี ง. ธรรมเนียมประเพณี 6. ภาษาไทยไดร บั อิทธพิ ลจากภาษาอะไรบา ง ก. ภาษาบาลี - สนั สกฤต ข. ภาษาองั กฤษ ค. ภาษาจีน ง. ถูกทุกขอ 7. ประเพณีใดท่มี ีทกุ ภาคของประเทศไทย ข. แขง เรือ ก. สงกรานต ง. สารทเดือน 10 ค. วิ่งควาย 8. ประเพณจี รดพระนังคัลแรกนาขวญั ไดร บั อทิ ธพิ ลจากศาสนาใด ก. ศาสนาพทุ ธ ข. ศาสนาครสิ ต ค. ศาสนาอิสลาม ง. ศาสนาพราหมณ – ฮนิ ดู 9. วฒั นธรรม ประเพณมี ีความสาํ คัญตออตุ สาหกรรมใด ก. กฬี า ข. การทอ งเท่ยี ว ค. พาณชิ ยกรรม ง. นนั ทนาการ 10. ในความเปนชาติแตล ะชาตมิ คี วามแตกตางในดานใด ก. วัฒนธรรมประเพณี ข. ภาษา ค. ศลิ ปะ ง. เชือ้ ชาติ กิจกรรมที ให้ผู้เรียนแบ่งกลุ่มศึกษาค้นคว้าวัฒนธรรมประเพณีในชุมชนของตนเองแล้วนํามา แลกเปลยี นเรียนรู้กนั 24
บทที่ 3 หนาทพี่ ลเมอื งไทย สาระสําคญั เปน สาระท่เี ก่ยี วกบั ความหมายของประชาธิปไตย สิทธิ เสรีภาพ บทบาทหนาที่ของพลเมืองใน วถิ ปี ระชาธิปไตย การมีสว นรว มในการปฏบิ ตั ติ นตามกฎหมาย มคี ณุ ธรรมและคานิยมพื้นฐานในการอยู รวมกันอยางปรองดองสมานฉันท ปญหา และสถานการณการเมืองการปกครองท่ีเปนกรณีตัวอยางท่ี เกิดขนึ้ ในชมุ ชน กฎหมายที่เกี่ยวของกับตนเองและครอบครวั กฎหมายท่ีเก่ยี วขอ งกับชุมชน กฎหมายอื่น ๆ เชน กฎหมายแรงงานและสวสั ดิการ กฎหมายวาดวยสทิ ธิเด็กและสตรี และการมสี วนรว มของประชาชน ในการปอ งกนั และปราบปรามการทุจริต ผลการเรียนรคู าดหวงั 1. รแู ละเขาใจในเรือ่ ง สิทธิ เสรีภาพ บทบาทหนาท่ี และคุณคาของความเปนพลเมืองดี ตามแนวทางประชาธิปไตย 2. ตระหนักในคุณคาของการปฏิบัติตนเปนพลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตยและมี คณุ ธรรม คา นยิ มพื้นฐานในการอยูร วมกนั อยา งปรองดองสมานฉันท 3. แยกแยะปญหา และสถานการณก ารเมืองการปกครองที่เกดิ ขึน้ ในชุมชน 4. รูแ ละเขาใจสาระท่ัวไปเกย่ี วกับกฎหมาย 5. นําความรกู ฎหมายทเ่ี กย่ี วขอ งกบั ตนเอง ครอบครัว ชุมชน และประเทศชาติไปใช ในชวี ติ ประจาํ วันได 6. เห็นคณุ คา และประโยชนข องการปฏบิ ตั ติ นตามกฎหมาย 7. มีจติ สํานึกในการปอ งกันปญหาการทุจริต ขอบขา ยเน้ือหา เร่อื งที่ 1 การปกครองระบอบประชาธิปไตย เรื่องที่ 2 สถานภาพ บทบาท สิทธิ เสรีภาพ และหนา ที่ของพลเมอื งในวถิ ีประชาธปิ ไตย เรื่องท่ี 3 คณุ ธรรมและคา นยิ มพน้ื ฐานในการอยรู วมกันอยา งปรองดองสมานฉนั ท เรือ่ งท่ี 4 รัฐธรรมนูญ เรื่องท่ี 5 ความรูเ บือ้ งตนเกยี่ วกับกฎหมาย เรื่องท่ี 6 กฎหมายท่เี กีย่ วขอ งกับตนเองและครอบครัว เรื่องท่ี 7 กฎหมายท่เี กี่ยวกบั ชุมชน เรอ่ื งที่ 8 กฎหมายอ่นื ๆ เรือ่ งที่ 9 การปฏบิ ตั ติ นตามกฎหมายและการรกั ษาสิทธเิ สรีภาพของตนในกรอบของกฎหมาย เรอื่ งที่ 10 การมสี ว นรว มในการปองกันและปราบปรามการทุจริต 25
เรืองที การปกครองระบอบประชาธิปไตย 1.1 ความหมายของประชาธปิ ไตย ประชาธปิ ไตย เปนรปู แบบการปกครองในประเทศ มาจากคํา 2 คาํ ดังนี้ “ประชา” หมายถึง ประชาชนท่ีเปนพลเมอื งของประเทศ “อธปิ ไตย” หมายถงึ อํานาจสูงสดุ ในการปกครองประเทศ ดังนั้น ประชาธิปไตย จงึ หมายถึง ประชาชนปกครองหรือการปกครองโดยประชาชน พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542 ใหความหมายของประชาธิปไตยไววา “ระบอบการปกครองที่ถอื มตขิ องปวงชนเปนใหญ หรอื การถอื เสยี งขางมากเปน ใหญ” และศาสตราจารย ดร.กมลทองธรรมชาติ ใหค วามหมายวา “ประชาธิปไตย เปนการปกครองของ ประชาชน โดยประชาชนเพ่ือประชาชน” สรุป ประชาธปิ ไตย หมายถงึ การทปี่ ระชาชนหรอื พลเมอื งของประเทศมีอาํ นาจและมีสวนรว ม ในการกาํ หนดนโยบายในการปกครองประเทศ โดยคาํ นงึ ถงึ ประโยชนข องประชาชนสวนรวมเปนหลัก . หลกั การสําคญั ของการปกครองระบอบประชาธิปไตย 1. หลักอาํ นาจอธิปไตยเปนของปวงชน หมายถงึ ประชาชนเปน เจาของอํานาจสูงสุดในการ ปกครองประเทศ 2. หลกั ความเสมอภาค ประชาชนทกุ คนมคี วามเทา เทยี มกันภายใตกฎหมาย ความเทาเทียมกัน ทางการเมอื ง 3. หลักสิทธิ เสรีภาพ และหนาท่ี ไดแก การท่ีประชาชนมีอํานาจอันชอบธรรมในการเปน เจาของทรัพยสิน มีอิสระในการกระทําในขอบเขตของกฎหมาย และมีแนวทางปฏิบัติตนท่ีเปนอิสระ ภายใตข อบเขตของกฎหมาย 4. หลักนิติธรรม การปกครองในระบอบประชาธิปไตย มีหลักกฎหมายเปนกฎเกณฑและ กตกิ าของประเทศ คือ การทีป่ ระชาชนใชกฎหมายเปน หลักในการทาํ งาน เพื่อการอยรู ว มกนั อยางสนั ติสุข และเกดิ ความยตุ ธิ รรมในสงั คม 5. หลกั การยอมรบั เสยี งขางมาก คือ การท่ีประชาชนในรัฐใชมติของประชาชนสวนใหญเปน หลกั ในการทาํ งาน 6. หลักการใชเหตุผล คือ การที่ประชาชนใชหลักเหตุผลเปนหลักในการหาขอสรุปเพ่ือ ทํางานรว มกันหรอื การอยรู วมกนั 7. หลกั การประนีประนอม คอื การทป่ี ระชาชนไมใชความรุนแรงในการแกไ ขปญหา แตใช การตกลงรว มกันในการขจัดขอ ขดั แยง ที่ไมเ หน็ ดว ย 8. หลักความยินยอม คอื การที่ประชาชนใชวจิ ารณญาณในการตัดสินใจ เปนตัวของตัวเอง โดยปราศจากการบังคบั มีความเห็นตรงกัน จึงตัดสนิ ใจผานตัวแทนของประชาชนในการดําเนินงานทาง การเมอื งและการปกครอง 26
. ลกั ษณะของสังคมประชาธิปไตย ในสงั คมประชาธิปไตย ประชาชนจะปฏิบตั ติ อ กัน ดังนี้ 1. การเคารพในสทิ ธิและเสรภี าพของบุคคล ตามขอบเขตท่บี ัญญัติไวในกฎหมาย 2. การใชห ลักเหตผุ ลในการตดั สนิ ปญ หา ขอขัดแยง 3. การเคารพในกฎกติกาของสังคม เพ่ือความสงบสุขและความเปนระเบียบเรียบรอย ในสงั คม 4. การมสี วนรวมในกจิ กรรมของสว นรวมและสังคม 5. การมีน้ําใจเปนประชาธิปไตยยอมรับฟงความคิดเห็นของผูอ่ืน และเห็นแกประโยชน สว นรวมมากกวา สวนตน 6. การยดึ มน่ั ในหลักความยุติธรรม และการปฏิบัติตอกันอยางเสมอภาคเทาเทียมกันของ สมาชิกทกุ คนในสังคม . คุณลกั ษณะทีสําคญั ของสมาชิกในสังคมประชาธปิ ไตย 1. มคี วามยดึ มัน่ ในอดุ มการณป ระชาธปิ ไตย 2. มีการรูจักใชเ หตุผล และรับฟงความคดิ เหน็ ของผอู ่ืน ซ่ึงมเี หตผุ ลและมกี ารประนีประนอมกนั ในทางความคิด 3. เคารพในสทิ ธิและการตดั สินใจของผอู นื่ 4. มีความเสยี สละ และเหน็ แกประโยชนข องสว นรวมมากกวา สวนตน 5. สามารถทาํ งานรวมกับผอู ่ืน 6. ใชเ สยี งขา งมากโดยไมล ะเมิดสิทธิเสียงขา งนอย 7. ยดึ ถือหลักความเสมอภาค และเทา เทียมกนั ของสมาชิก 8. ปฏิบัติตนตามกฎขอบังคับของสงั คม 9. ปฏบิ ตั ิตนตามหลกั ศลี ธรรม ยึดมน่ั ในวฒั นธรรม ประเพณี 10. รูจกั แกปญ หาโดยสนั ตวิ ิธี . ความสําคญั ของการปฏบิ ัตติ นเป็ นพลเมอื งดตี ามวถิ ีประชาธิปไตย 1. ทําใหสงั คมและประเทศชาติมกี ารพฒั นาไปอยางมั่นคง 2. เกิดความรักและความสามัคคีในหมคู ณะ 3. สงั คมมคี วามเปนระเบียบ สงบเรียบรอ ย 4. สมาชิกทกุ คนไดรบั สทิ ธิ หนาที่ เสรีภาพ จากกฎหมายเทาเทียมกันเกิดความเปนธรรมใน สังคม 5. สมาชิกในสังคมมคี วามเอ้ือเฟอ เผือ่ แผแ ละมนี ้ําใจตอ กนั 2. วถิ ีประชาธิปไตย สังคมประชาธิปไตยที่สมบูรณ เปนสังคมท่ีปลูกฝงความเปนประชาธิปไตยใหแกประชาชน ทง้ั ในแงความคิด อุดมการณ และวิธกี ารดาํ เนนิ ชีวติ ตั้งแตเ ดก็ เปน ตน ไป 27
โดยในชีวิตประจําวันของบุคคลในครอบครัว ชุมชน และสังคม จะดําเนินไปอยางสงบสุขได เม่ือทุกคนท่ีเปนสมาชิกเขาใจ และตระหนักถึงความสําคัญของการใชคุณลักษณะประชาธิปไตยเปน แนวทางในการดําเนนิ ชวี ติ ดงั น้ี . ประชาธิปไตยในครอบครัว ประชาธิปไตยในครอบครัวจะเริ่มไดก็ตอเมื่อพอแมคิดและประพฤติปฏิบัติตอกันตอลูก ๆ และตอบุคคลอ่นื อยา งเปนประชาธิปไตย ในการดําเนินชวี ติ ประจาํ วันทกุ ๆ ดาน ไดแก 1. การแสดงความคดิ เหน็ อยางมเี หตผุ ล 2. การรบั ฟง ความคดิ เห็นของผูอ นื่ 3. การตดั สนิ ใจโดยใชเหตุผลมากกวา อารมณ 4. การแกป ญหาโดยใชเหตผุ ล 5. การลงมตโิ ดยใชเ สยี งสว นใหญ 6. การเคารพกฎระเบยี บของครอบครัว 7. การกลา แสดงความคดิ เห็นตอสว นรวม 8. การยอมรบั เม่ือผอู น่ื มีเหตุผลทดี่ ีกวา ตนเอง . ประชาธิปไตยในชุมชน ท้องถิน วิถีชีวิตประชาธิปไตยในการดําเนินกิจกรรมตาง ๆ ภายในชุมชน เปนการรวมกลุมของ บคุ คลภายในชุมชน สมาชกิ ในชมุ ชนตอ งมคี ุณลกั ษณะประชาธิปไตยทสี่ ําคญั คือ 1. การเคารพในระเบยี บ กฎหมายของทองถิ่น และกฎหมายบานเมือง 2. การมสี วนรว มในการพัฒนาชุมชนและทอ งถ่ิน 3. การยอมรับฟง ความคิดเห็นของผอู น่ื 4. การตัดสนิ ใจในสวนรวมโดยใชก ารลงมตเิ สยี งสวนใหญ 5. การตดั สนิ ใจโดยใชว ิธีการลงมติเสียงสวนใหญ 6. การแสดงความคดิ เห็นอยางมีเหตผุ ลตอชมุ ชน 7. การรว มกนั วางแผนในการทาํ งานเปนกลุมหรือตัวแทนของกลุม ในการดําเนินชีวิตของกลุมคนในรูปแบบตาง ๆ เชน สมาคมแมบานผูผลิตสมุนไพรบานหวยใต สหกรณออมทรัพยบานแตง สมาคมศิษยเกา โรงเรียน มูลนิธิตาง ๆ ในการดําเนินชีวิตในกลุมสมาชิก ควรมีคุณลกั ษณะของประชาธิปไตย ไดแก 1. เคารพในกฎระเบียบขอ บังคบั ของกลุม หรอื องคกร 2. มบี ทบาทในการแสดงความคิดเห็นอยางมเี หตผุ ล 3. ยอมรับฟงความคิดเห็นของทุกคนท่ีดีกวา โดยไมใชอารมณ อดทนตอความขัดแยงที่ เกดิ ข้ึน 4. ยอมรบั ในเหตุผลทีด่ กี วา 5. การทํางานโดยใชว ิธกี ารประชุมวางแผน และแกป ญ หารว มกัน 6. การลงมติของกลมุ หรอื องคกรโดยใชการลงมติเสียงขา งมาก 28
เรืองที สถานภาพ บทบาท สิทธิ เสรีภาพ และหน้าทีของพลเมืองในวถิ ีประชาธิปไตย 1. ความหมาย ความสําคญั 1.1 สถานภาพ สถานภาพ หมายถึง ฐานะหรือเกียรติภูมิของบุคคลที่อยูในสังคม เปนตําแหนงของ บุคคลหนึ่งทไ่ี ดรบั ความนบั ถอื จากสาธารณชน สถานภาพเปนสงิ่ ทส่ี ังคมกาํ หนดข้นึ เปนสิ่งกาํ หนดเฉพาะตวั บคุ คลทีท่ าํ ใหแตกตางจาก ผูอืน่ สถานภาพ แบง เปน 2 ประเภท คอื 1. สถานภาพท่ีติดตวั มาต้ังแตกําเนดิ ไดแก สถานภาพทางวงศาคณาญาติ เชน เปนลกู หลาน พน่ี อ ง ฯลฯ สถานภาพทางเพศ เชน เพศหญงิ เพศชาย สถานภาพทางอายุ เชน เด็ก วัยรุน ผูใหญ สถานภาพเชื้อชาติ เชน คนไทย คนองั กฤษ สถานภาพทางถิ่นกําเนดิ คนในภาคเหนอื คนในภาคใต สถานภาพทางชนช้ันในสังคม เชน เชื้อพระวงศ คหบดี หรือชนชั้นตาง ๆ ในกลมุ ชนท่นี ับถอื ศาสนาฮินดู เชน ชนช้ันพราหมณ ฯลฯ 2. สถานภาพที่ไดมาภายหลัง หมายถึง สถานภาพที่ไดมาจากแสวงหาหรือไดมาจาก ความสามารถของตนเอง ไดแ ก สถานภาพทางการศึกษา เชน จบการศกึ ษาระดบั ปรญิ ญาตรี ปรญิ ญาโท ปริญญาเอก สถานภาพทางอาชพี เชน เปน ครู เปน หมอ เปนนักการเมอื ง สถานภาพทางการเมือง เชน เปนสมาชิกสภาผูแทนราษฎร เปนนายกรัฐมนตรี เปน รัฐมนตรี สถานภาพทางการสมรส เชน โสด สมรส หมาย 1.2 บทบาท บทบาท หมายถึง การทาํ หนา ทต่ี ามสถานภาพที่สังคมกําหนด เชน นายเอกมีสถานภาพ เปนพอ ตองดําเนินบทบาทในการใหการอบรมเลี้ยงดู สั่งสอนบุตรใหเปนคนดี สงเสียบุตรใหไดรับ การศึกษาที่สมควรตามวัย สวนนายโทมีสถานภาพเปนบุตรที่ตองดําเนินบทบาทเช่ือฟงคําส่ังสอนของ บิดามารดา ตัง้ ใจหมน่ั เพียรในการศกึ ษา ชว ยเหลอื บดิ ามารดาในการทํางานบา นตามควรแกว ยั 1.3 สิทธิ เสรีภาพ และหน้าที “สิทธิ” หมายถึง อํานาจหรือผลประโยชนอันชอบธรรมของบุคคลที่มีกฎหมายให ความคุมครอง เชน สิทธใิ นการนบั ถอื ศาสนา การประกอบอาชพี การไดรับการศกึ ษา ฯลฯ “เสรีภาพ” หมายถึง ความมีอิสระในการกระทําของบุคคล ซึ่งการกระทําน้ันจะตองไม ขดั ตอกฎหมาย เชน การแตงกาย การแสดงความคดิ เห็น 29
“หนาที่” หมายถึง ภาระหรอื ความรบั ผิดชอบทบี่ ุคคลจะตองปฏิบัติตามกฎหมาย สทิ ธเิ สรีภาพ เปนรากฐานสําคัญในการปกครองตามระบอบประชาธปิ ไตย การท่ีจะรูวา การปกครองของประเทศใดมีความเปนประชาธิปไตยไดมากนอยเพียงใด ตองดูท่ีสิทธิเสรีภาพของ ประชาชนในประเทศนั้น ๆ เปนสําคัญ ถาประชาชนมีสิทธิเสรีภาพมาก ความเปนประชาธิปไตยของ ประเทศน้นั ก็มมี าก หากสิทธิเสรีภาพของประชาชนถูกจํากัดหรือลิดรอนโดยผูมีอํานาจในการปกครอง ประชาธปิ ไตยก็จะมีไมได ดวยเหตุน้ีกฎหมายรัฐธรรมนูญของไทยทุกฉบับ จึงไดบัญญัติคุมครองสิทธิ เสรภี าพของประชาชนไวอ ยางแจงชัด สวนหนาท่ี น้ัน เปนกรอบหรือมาตรฐานของการปกครองในระบอบประชาธิปไตย ทั้งนี้ก็เพราะวา การปกครองระบอบประชาธิปไตย น้ัน ตองอาศัยกฎหมายเปนหลักในการดําเนินการ หากประชาชนไมรจู ักหนาที่ของตน ไมปฏิบัติตามกฎหมายระบอบประชาธิปไตยกจ็ ะดาํ รงอยูตอ ไปไมได ดังน้ัน สิทธิ เสรีภาพ และหนาท่ี จึงมีความสําคัญอยางยิ่งในการปกครองตามระบอบ ประชาธิปไตยซ่ึงขาดเสยี มิไดเ ด็ดขาด 1.4 ความสําคญั ของสิทธิ เสรีภาพ และหน้าที 1. การท่ีรัฐไดบัญญัติ สิทธิ เสรีภาพ และหนาที่ ของบุคคลในรัฐธรรมนูญ ทําให ประชาชนไดร บั ความคมุ ครอง และปฏิบตั อิ ยา งเทาเทียมเสมอภาค และยุตธิ รรม 2. บุคคลทกุ คนจะตองรบั ทราบ และพึงปฏิบัติตามขอบเขตสิทธิ เสรีภาพ และหนาท่ีท่ีได บัญญัติใชใ นรฐั ธรรมนูญ 3. การใชอ าํ นาจรฐั จะตองคํานงึ ถงึ สิทธิ เสรีภาพของประชาชน 4. ท้ังรัฐและประชาชนพึงปฏิบัติตามหนาท่ีท่ีบัญญัติใชในรัฐธรรมนูญอยางเครงครัด ยอมกอใหเกดิ ความสงบรม เย็นผาสุกในชาติ 5. หนาทข่ี องประชาชนในระบอบประชาธปิ ไตย ไดแ ก 5.1 หนาที่ในการรักษาไวซ่ึงชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย และการปกครองตาม ระบอบประชาธปิ ไตยอันมพี ระมหากษัตรยิ ทรงเปน ประมุข 5.2 หนาท่ีในการปอ งกันประเทศ ไดแก การชวยสอดสองดูแลและแจงใหเจาหนาท่ี บานเมอื งทราบถึงภัยทจ่ี ะเกิดข้นึ แกป ระเทศชาติ เชน การแจงขอมูลเกี่ยวกับการคายาเสพติด การสมัคร เปนอาสาสมัครรักษาดินแดน เปน ตน 5.3 หนาที่ในการรับราชการทหารตามกฎหมาย โดยชายไทยทุกคนเมื่ออายุ 20 ป บริบูรณ จะตองไปตรวจเขารับการเกณฑทหารประจําการ เปนเวลา 2 ป เพื่อเปนกําลังสําคัญเมื่อเกิดภาวะ สงคราม 5.4 หนา ท่ใี นการปฏิบัตติ นตามทก่ี ฎหมายกําหนด ทงั้ นีเ้ พ่ือความเปนระเบียบเรียบรอย ทาํ ใหสังคมมีความสงบสขุ และสมาชกิ ในสงั คมอยรู ว มกนั ไดอยา งสันตสิ ขุ 5.5 หนาท่ีในการเสียภาษีอากรตามท่ีกฎหมายกําหนด เพื่อรัฐจะไดมีรายไดเพื่อ นํามาใชจายภายในประเทศ รวมทัง้ จัดสวสั ดกิ ารตาง ๆ ใหกับประชาชน และชมุ ชนในประเทศ 30
5.6 หนาที่ในการรับการศึกษาภาคบังคับตามเง่ือนไข และวิธีการที่กฎหมายกําหนด เพอ่ื ชวยใหม คี ณุ ภาพที่ดี และเปนกําลงั ใจในการพฒั นาประเทศตอไป 5.7 หนาที่ในการชวยเหลือราชการตามกฎหมายกําหนด เพื่อประโยชนสวนตนและ สวนรวม 5.8 หนาท่ีในการใชสิทธิเลือกต้ังโดยสุจริต ในการเลือกสมาชิกสภาผูแทนราษฎร เขาไปทาํ หนา ทีบ่ รหิ ารประเทศ เปน การจรรโลงการปกครองตามระบอบประชาธิปไตยใหย ง่ั ยืนสบื ไป เรอ่ื งท่ี 3 คณุ ธรรมและคานิยมพนื้ ฐานในการอยูรวมกนั อยางปรองดองสมานฉนั ท ความหมายของ คุณธรรม คา นยิ ม และ ความสมานฉันท คณุ ธรรม คอื ความดีงามท่ีถูกปลูกฝงข้ึนในจิตใจ มีจิตสํานึกท่ีดี ความละอาย และเกรงกลัวใน การที่จะประพฤติชั่ว ถึงแมวาคุณธรรมจะเปนเร่ืองภายในจิตใจ แตสามารถสะทอนออกมาไดทาง พฤตกิ รรม เชน ความซ่อื สตั ย ความกตัญกู ตเวที ความมรี ะเบยี บวนิ ยั เปน ตน ความปรองดอง หมายถึง ออมชอม ประนีประนอม ยอมกัน ไมแกงแยงกัน ตกลงกันดวยความ ไกลเ กลีย่ ตกลงกนั ดวยไมตรจี ิต (พจนานุกรม ฉบบั ราชบณั ฑิตยสถาน พ.ศ. 2554) คานิยม คือ ความคิด พฤติกรรมและส่ิงอ่ืนที่คนในสังคมหน่ึงเห็นวา มีคุณคา จึงยอมรับมา ปฏิบัติและหวงแหนไวระยะหนึ่ง คานิยมมักเปลี่ยนแปลงไปตามกาลสมัยและความคิดเห็นของคนใน สังคม ความสมานฉนั ท แปลตามศพั ท คือ ความพอใจรว มกนั ความเห็นพองตอ งกนั มคี วามตองการที่ จะทาํ การอยางใดอยางหน่ึงตรงกัน หรือเสมอเหมือนกัน ซึ่งความสมานฉันทจะเปนตัวลดความขัดแยง และนาํ ไปสคู วามสามคั คี ประชาชนชาวไทยพรอ มใจกันเฝา รับเสดจ็ พระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภูมิพลอดุลยเดช เสด็จออกมหาสมาคม ณ สีหบญั ชร พระที่นัง่ อนันตสมาคม เมือ่ วนั ท่ี 9 มถิ นุ ายน 2549 31
จากภาพ เปนความพรอมเพรียงกนั ของพสกนกิ รชาวไทยและชาวตางประเทศที่รวมใจกันสวมเส้ือ สเี หลอื ง รวมกันโบกธงชาติ และธงพระปรมาภิไธยพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช พรอมกับเปลงเสียงถวายพระพร เปนการแสดงใหเห็นถึงความสมานฉันทของพสกนิกรชาวไทยและ ชาวตางประเทศ ภาพเหตุการณเหลาน้ีสรางความแปลกใจใหกับสื่อตางประเทศเปนอยางมาก จนทําให สํานกั ขา วหลายสาํ นกั ตองเสนอขาวเกยี่ วกับงานพระราชพิธคี รั้งนเ้ี พม่ิ เติม เพ่ืออธิบายถึงเหตุผลท่ีปวงชน ชาวไทยถวายความจงรักภักดแี ละเทดิ ทูนสถาบนั พระมหากษตั รยิ มากมายขนาดนี้ ชาวตางชาติแสดงออกถึงความรัก และเทิดทูน พระบาทสมเด็จพระปรมนิ ทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช แตใ นทางกลับกนั ในชว งป พ.ศ. 2547 – พ.ศ. 2557 ทงั้ ชาวไทยและชาวตา งชาตติ า งรูถงึ ความขดั แยง ทางดานการเมืองในประเทศไทย เหตุการณเหลานี้สงผลตอเศรษฐกิจ สังคม โดยเฉพาะธุรกิจดาน การทองเท่ยี ว และยังสงผลกระทบตอสภาพจติ ใจของคนไทยอีกดว ย จากเหตกุ ารณท่ีกลาวมา จะเห็นไดวาหากเรามีความสมานฉันทในส่ิงที่ถูกตองดีงาม จะทําให สงั คมของเรามีความเจริญกาวหนา ความสมานฉันทเปนบอเกิดของความสุข ความสามัคคีของหมูคณะ เมือ่ มีความสามคั คีของหมูค ณะยอ มทาํ ใหเกดิ พลัง ซง่ึ จะนําไปสูความสาํ เร็จในจุดมุงหมายที่ไดต ัง้ เอาไว แตค วามสมานฉนั ททจ่ี ะนําไปสูความสุขและความเจริญนั้นจะตองเปนไปในทางที่ถูกตองดีงาม ซง่ึ ตอ งประกอบดวยคณุ ธรรมและที่สาํ คัญยงิ่ คือ การเห็นแกประโยชนสว นรวม หากสมานฉันทแ ตเ ฉพาะ ในกลมุ พวกของตนเองแลวไปขัดแยงกับกลมุ พวกของคนอื่น แลว ทาํ ใหส ว นรวมเสยี หาย ลักษณะนี้ถือวา เปน การสมานฉันทในทางท่ผี ิด 32
ดังนนั้ หากเราตองการความสมานฉันทที่ถกู ตอ งดงี ามจะตอ งอาศัยคณุ ธรรมดังตอ ไปนี้ คา นิยมพน้ื ฐานในการอยรู ว มกันอยางสมานฉนั ท 12 ประการ ขอ 1. มคี วามรกั ชาติ ศาสนา พระมหากษัตรยิ ขอ 2. ซอื่ สัตย เสยี สละ อดทน ขอ 3. กตัญตู อ พอ แม ผปู กครอง ครูบาอาจารย ขอ 4. ใฝห าความรู หมั่นศกึ ษาเลาเรยี นท้งั ทางตรงและทางออ ม ขอ 5. รักษาวฒั นธรรมประเพณไี ทยอันงดงาม ขอ 6. มศี ลี ธรรม รกั ษาความสตั ย หวงั ดีตอผอู ่ืน เผ่อื แผ และแบงปน ขอ 7. เขา ใจเรียนรกู ารเปน ประชาธปิ ไตย อนั มีพระมหากษัตริยทรงเปน ประมุขที่ถูกตอ ง ขอ 8. มีระเบียบวนิ ัย เคารพกฎหมาย ผนู อยรจู ักเคารพผใู หญ ขอ 9. มีสติรูตัว รคู ิด รทู ํา รูป ฏิบตั ิ ตามพระราชดํารสั ของพระบาทสมเด็จพระปรมนิ ทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช ขอ 10. รูจกั ดาํ รงตนอยูโ ดยใชหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงตามพระราชดํารัสของพระบาทสมเด็จ พระปรมนิ ทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช รูจ ักอดออมไวใชเ ม่อื ยามจําเปน มีไวพอกินพอใช ถาเหลือก็แจกจาย จาํ หนา ย และขยายกิจการ เมื่อมคี วามพรอมโดยมีภูมคิ ุมกนั ทด่ี ี ขอ 11. มคี วามเขมแข็งทงั้ รา งกายและจิตใจ ไมย อมแพต อ อํานาจฝา ยต่ําหรือกิเลส มคี วามละอายเกรงกลัว ตอ บาปตามหลักของศาสนา ขอ 12. คํานึงถงึ ผลประโยชนข องสว นรวมและตอชาติมากกวา ผลประโยชนของตนเอง คานิยมพ้ืนฐานดังกลาวขางตนมีความสําคัญอยางยิ่งท่ีคนไทยจะตองนํามาประพฤติปฏิบัติใน ชีวติ ประจาํ วันอยูเสมอ และเพื่อใหเกิดความเขาใจย่ิงขึ้นจะขอกลาวในรายละเอียดเพมิ่ เติม ดังน้ี 1. มีความรักชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย เปนคุณลักษณะที่แสดงถึงรักความเปนชาติไทย เปนพลเมอื งดีของชาติ มคี วามสามคั คี เหน็ คณุ คา ภูมใิ จ เชิดชูความเปนไทย ปฏิบัติตนตามหลักศาสนาท่ี ตนนับถือ และแสดงความจงรกั ภักดตี อ สถาบันพระมหากษตั รยิ ประชาชนรวมกจิ กรรมจุดเทียนถวายพรพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช 33
2. ซื่อสัตย เสียสละ อดทน เปนคุณลักษณะท่ีแสดงถึงการยึดม่ันในความถูกตอง ประพฤติตรงตาม ความเปนจริงตอตนเองและผูอื่น ละความเห็นแกตัว รูจักแบงปนชวยเหลือสังคมและบุคคลท่ีควรให รูจ กั ควบคมุ ตนเองเม่ือประสบกับความยากลาํ บาก และสิง่ ทีก่ อ ใหเ กดิ ความเสยี หาย 3. กตัญตู อ พอแม ผปู กครอง ครบู าอาจารย เปน คุณลักษณะที่แสดงออกถึงการรูจักบุญคุณ ปฏิบัติตาม คําส่ังสอน แสดงความรัก ความเคารพ ความเอาใจใส รักษาช่ือเสียง และตอบแทนบุญคุณของพอแม ผูป กครอง และครบู าอาจารย ประชาชนรวมกจิ กรรมแสดงความกตัญูกตเวที 4. ใฝห าความรู หม่ันศึกษาเลาเรียนท้ังทางตรงและทางออม เปนคุณลักษณะที่แสดงออกถึงความตั้งใจ เพยี รพยายามในการศึกษาเลาเรยี น แสวงหาความรู ทั้งทางตรงและทางออม 5. รกั ษาวฒั นธรรมประเพณีไทยอนั งดงาม เปนการปฏิบตั ิสืบทอดอนุรักษวัฒนธรรม และประเพณีไทย อนั ดงี ามดว ยความภาคภมู ใิ จเห็นคณุ คา ความสาํ คัญ 6. มีศีลธรรม รักษาความสัตย หวังดีตอผูอื่น เผ่ือแผและแบงปน เปนความประพฤติที่ควรละเวน และ ความประพฤตทิ ีค่ วรปฏิบัตติ าม 7. เขาใจเรียนรูการเปนประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุขท่ีถูกตอง คือ มีความรู ความเขาใจ ประพฤตปิ ฏบิ ัตติ นตามสทิ ธแิ ละหนาทข่ี องตนเอง เคารพสทิ ธแิ ละหนา ทข่ี องผอู น่ื ใชเสรีภาพ ดวยความรบั ผิดชอบภายใตขอบเขตของกฎหมายตามระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริยทรง เปนประมขุ 8. มรี ะเบียบวนิ ยั เคารพกฎหมาย ผูนอยรูจ ักการเคารพผูใหญ เปนคุณลกั ษณะท่ีแสดงออกถึงการปฏิบัติ ตามขอตกลง กฎเกณฑ ระเบยี บ ขอ บังคับ และกฎหมาย มีความเคารพและนอบนอมตอผใู หญ 9.มีสติรูตวั รูค ิด รทู ํา รปู ฏบิ ตั ิ ตามพระราชดาํ รสั ของพระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภูมิพลอดุลยเดช เปนการประพฤติปฏบิ ัติตนอยางมสี ตริ ตู ัว รูค ดิ รูทํา อยา งรอบคอบถูกตอง เหมาะสม และนอ มนําพระราชดํารัส ของพระบาทสมเด็จพระปรมนิ ทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มาปฏิบัตใิ นชวี ิตประจําวัน 34
10.รจู ักดาํ รงตนอยโู ดยใชห ลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งตามพระราชดาํ รสั ของพระบาทสมเด็จ พระปรมนิ ทรมหาภูมพิ ลอดลุ ยเดช รจู ักอดออมไวใ ชเ มอ่ื ยามจาํ เปน มไี วพ อกินพอใช ถาเหลอื ก็แจกจา ย จําหนา ย และขยายกิจการเมอ่ื มคี วามพรอ ม สามารถดาํ เนนิ ชวี ิตอยางพอประมาณ มเี หตผุ ล มภี มู คิ ุม กนั ในตัวทด่ี ี มีความรู มีคณุ ธรรม และปรับตวั เพือ่ อยูในสังคมไดอยางมีความสุข 11. มคี วามเขม แขง็ ทัง้ รา งกายและจติ ใจ ไมย อมแพต ออํานาจฝา ยต่ําหรอื กิเลส มคี วามละอายเกรงกลวั ตอ บาปตามหลักของศาสนา เปน การปฏิบตั ติ นใหม รี า งกายสมบรู ณ แข็งแรง ปราศจากโรคภยั และมีจิตใจท่ี เขม แขง็ ไมกระทําความช่วั ใด ๆ ยึดมัน่ ในการทาํ ความดตี ามหลักของศาสนา 12. คาํ นงึ ถงึ ผลประโยชนข องสว นรวมและตอชาติมากกวาผลประโยชนของตนเอง ใหความรวมมือใน กจิ กรรมทเี่ ปนประโยชนตอสวนรวม และประเทศชาติ เสยี สละประโยชนสวนตน เพ่ือรักษาประโยชนของ สว นรวม ประชาชนรวมกิจกรรมปลูกปาชุมชน 35
กจิ กรรม 1. ใหผเู รียนวิเคราะหความสาํ คัญหรอื ความจําเปนของการนําคุณธรรม คา นยิ ม ไปปฏิบัตเิ พอื่ การอยู รว มกนั อยางปรองดองสมานฉันท ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... 2. ในฐานะท่ีผูเรียนเปนบุคคลในสังคม ผูเรียนคิดวาจะปฏิบัติตนตามคานิยมพื้นฐาน 12 ประการ อยางไรจึงจะไดช ่ือวาเปนพลเมอื งดีตามวถิ ีประชาธปิ ไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมขุ ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... 36
การนาํ คณุ ธรรมไปใชในชีวิตประจาํ วนั เพอ่ื แกปญหาความขัดแยง และสรางความสมานฉนั ท คุณธรรม : ความมรี ะเบียบวนิ ัย กรณศี กึ ษาท่ี 1 : การเขาควิ รบั บรกิ าร หมูบา นหนองผกั บงุ เปนหมูบา นหนงึ่ ทีโ่ ดนนา้ํ ทวมหนักคราวนํา้ ทว มใหญข องประเทศที่ผานมา ชาวบานบางคนถูกน้ําทวมบานจนมิดหลังคาบาน จึงตองอพยพไปพักอาศัยช่ัวคราวที่วัดหนองผักบุงท่ี พอจะอาศยั อยไู ด จึงมีผูค นมาอยรู วมกันพอสมควร นาํ้ ทว มอยูน าน ความเดือดรอนเร่ืองกินเรื่องอยูก็มาก เปนทวีคณู แตค นไทยท่ีไมป ระสบอทุ กภยั กไ็ มแลง นํ้าใจเดินทางมาชวยเหลือนําขาวสารอาหารแหงและ อปุ กรณเ คร่อื งใชมาบรจิ าค คราวหน่งึ เจาอาวาสประกาศวาไดรับขา ววา จะมผี ูใจบุญนาํ ของมาแจกชาวบา นรขู า วกม็ ารอรับกนั แนนวัด ในขณะท่ีกําลังเขาคิวรับถุงยังชีพก็เกิดเหตุการณไมคาดฝน มีชาย 2 คน กําลังชกตอยกัน เจาอาวาสจงึ บอกใหยุติ และซักถามไดค วามวา เกิดการตอวากันเรอ่ื งมาทีหลังแลว มาแซงคิว คนทถ่ี ูกตอวา ก็ไมพอใจ และท้ังสองคนเปนชาวบานคนละหมูบานกันดวย จึงโมโหและชกตอยกันข้ึน เจาอาวาส จึงเตือนสติใหท้ังสองคนระงับอารมณ และสอนใหทุกคนรูจักการอดทนในการรอรับบริการ เพราะมี คนจาํ นวนมาก ทุกคนเดือดรอนเหมือนกัน ท้ังน้ีก็เพื่อความเปนระเบียบเรียบรอย เคารพสิทธิของผูอ่ืน จงึ ตองรจู ักการเขา ควิ ตามลาํ ดับกอ นหลงั ถา ทกุ คนทําไดเชนนี้ ปญหาความขัดแยง กจ็ ะไมเ กิดข้ึน พวกเรา ในหมูบา นหรอื ชมุ ชนไหนกต็ ามก็จะอยรู ว มกันไดอ ยางเรียบรอ ย ปกตสิ ุข 37
กิจกรรม : ใหผ เู รยี นอานกรณศี ึกษาแลวรว มกันอภิปรายแลกเปลี่ยนเรยี นรตู ามประเดน็ ดงั น้ี 1. ผูเรียนคิดวา กรณีศึกษาน้ีจะกอใหเกดิ ปญหาและความขัดแยง ไดอ ยา งไร ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... 2. ผูเรียนคิดวา คานิยมพื้นฐาน 12 ประการ ที่จะชวยแกปญหาและความขัดแยง คือคานิยม เร่ืองอะไร และแกป ญ หาไดอยางไร ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... 38
กรณศี ึกษาท่ี 2 : เห็นความสาํ คัญของประโยชนส ว นรวม การบุกรกุ ที่ดนิ ขอบเขตร้วั เหตุเกิดข้นึ ในชมุ ชนแหง หนึง่ ทคี่ นในชุมชนเกิดความขัดแยงในเร่ือง การใชกระบวนการ ยึดสทิ ธเิ์ ปน หลกั เรือ่ งมีอยวู า รัว้ บา นของนายสงบ ไดร ุกลํ้าเขาไปในพ้นื ที่บานของนายสมชาย เพราะถือวา บิดาของนายสงบมาจบั จองพ้ืนทก่ี อน ในขณะทีน่ ายสมชายรับรูวาท่ีดินน้ีไมมีโฉนด บุคคลอื่นในชุมชน สามารถเขาถือครองสิทธิ์ เปนเหตุใหท้ังสองทะเลาะวิวาทกัน การจัดการความขัดแยงหรือลดปญหา ดังกลา วที่เกดิ ขน้ึ คนในชมุ ชนสามารถมสี วนรว มในการแกไ ขความขัดแยง โดยใชวธิ กี ารเจรจาไกลเกลย่ี มีคนกลางท่ีคูป ญ หาทั้งสองนับถือและใหการยอมรับ ซึ่งวิธีการนี้เปนการจัดการความขัดแยงโดยเช่ือม ความสัมพนั ธระหวา งสองครอบครัว และการท่ีท้ังสองเปนคนท่ีมีถ่ินฐานอยูภูมิภาคเดียวกัน วัฒนธรรม เดียวกนั การมบี ดิ าของนายสงบและนายสมชาย มารว มเจรจา ทําใหง ายตอ การเจรจา หาจดุ ยืนของท้ังสองฝาย แลวคํานึงถึงผลประโยชนรวม ผลสุดทายของการเจรจานายสงบยอมรื้อถอนเขตรั้วออกจากที่ดินของ นายสมชาย เพื่อใหเปนหลักฐานในการตกลงเจรจา ท้ังสองฝายตองทําสัญญาประนีประนอมยอมความ หลงั จากขอตกลง และเปน ไปตามหลักกฎหมายเก่ยี วของ โดยสรุป กระบวนการจัดการความขัดแยงขางตน หลัก คอื ตอ งมุง เนน ความสัมพนั ธ และพยายามทําใหคูกรณีเกิดความพึงพอใจ ดวยเหตุน้ี วิธีการจัดการ ความขดั แยงเบอ้ื งตนในชมุ ชน จงึ ใชรปู แบบการเจรจาไกลเกล่ยี โดยคนกลาง อํานวยความสะดวกในการ สนทนาและใหค ําปรึกษาหาทางออก เพ่อื อยูรวมกันอยางสนั ติสามัคคีปรองดอง 39
กจิ กรรม : ใหผูเ รยี นอานกรณศี ึกษาแลว รวมกันอภปิ รายแลกเปลี่ยนเรียนรตู ามประเด็น ดงั น้ี 1. ผเู รียนคิดวา กรณศี กึ ษาเรอื่ งการบุกรกุ ทด่ี นิ ขอบเขตร้ัวนจ้ี ะกอใหเ กิดปญ หาและ ความขดั แยง ไดอ ยา งไร ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... 2. ผูเรียนคิดวา คานิยมพื้นฐาน 12 ประการ ท่ีจะชวยแกปญหาและความขัดแยง คือคานิยม เร่อื งอะไร และแกป ญหาไดอยางไร ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... 40
กระบวนการแกป ญ หาและสถานการณก ารเมอื งการปกครองที่เกดิ ขน้ึ ในชุมชน กรณีศึกษา เหตเุ กดิ ทโ่ี นนดอนตา เหตเุ กดิ ท่โี นนดอนตา “บา นโนนดอนตา” เปน ชุมชนหมูบา นเล็ก ๆ ในชนบทท่ีไมหางไกลจากท่วี า การอาํ เภอมากนัก ชมุ ชนบา นโนนดอนตาเคยอยกู ันเหมือนพี่นอ ง สงบและรมเยน็ เอ้ือเฟอ เผื่อแผก นั ชว ยเหลือเกือ้ กลู กนั และรวมแรงรวมใจในกิจการของสว นรวม แตกย็ งั ขาดสาธารณปู โภคข้ันพ้ืนฐานและสิ่งจําเปนตาง ๆ อยมู าก เชน ถนน สะพาน แหลง นา้ํ สถานีอนามยั ศนู ยพฒั นาเดก็ เลก็ ตอ มาเมื่อทางราชการใหม กี ารเลอื กตัง้ สมาชกิ สภาองคการบรหิ ารสว นตาํ บลและนายกองคก าร บริหารสวนตําบลข้ึนตามหลกั การประชาธิปไตยและหลักการกระจายอาํ นาจ เพ่ือใหช าวบา นไดมีสวน ในการบริหารจดั การกจิ การตาง ๆ ของตําบล เพือ่ ใหต รงกบั ความตองการท่ีแทจริงของคนในทองถ่ิน สะดวกรวดเร็ว แทนท่ีจะตองรอนโยบายและงบประมาณจากสวนกลาง อีกทั้งยังเปนการสรางวิถี สะดวกจากองคการบริหารสว นตาํ บลมากกวา เดิม แตดว ยความท่ีชาวบา นยังไมค ุนเคยกับการเลือกตั้งทองถ่นิ ผูสมัครรับเลือกต้ังใชวิธีการหาเสียง แขง ขนั กนั หาเสียงกับชาวบาน ซึ่งสวนใหญก็เปนญาตมิ ติ รกนั แทบท้งั น้นั การท่ีตางฝา ยตางสนับสนนุ ผสู มคั รทตี่ นช่ืนชอบมากกวา กลบั กลายเปน การเห็นตาง มีการอภปิ รายถกเถียง จนนําไปสูการขัดแยง ทะเลาะวิวาท แบงฝก แบงฝา ยกนั ทําใหบานโนนดอนตาท่ีเคยมคี วามรกั สามัคคี กลับกลายเปนความสับสน วุนวาย แตกแยกสามัคคีกนั ไมสงบรมเยน็ ดงั ท่ีเปนมา หรอื การพัฒนาและความเจรญิ ของหมบู า นจะตอ งแลกดวยความสงบรมเย็นของคนบานโนนดอนตา จําเปนเพยี งใดท่ชี าวบานโนนดอนตาจะตองเลอื กเพยี งอยางใดอยางหนึ่งเทา นน้ั หรือ 41
กจิ กรรม : ประเดน็ การอภปิ ราย 1. ปญหาทเี่ กิดขนึ้ ในชุมชนโนนดอนตาคืออะไรขนึ้ ปญหาน้ีมีสาเหตมุ าจากอะไร 2. ถา ทานเปน ชาวชมุ ชนโนนดอนตา ทา นคดิ วา ปญหานใี้ ครควรมีบทบาทใน การแกป ญ หาและควรแกป ญหานอ้ี ยางไร 3. ทานคิดวา คณุ ธรรมสาํ คญั ทน่ี าํ มาประยุกตใชใ นการแกปญ หาของชุมชนโนนดอนตา คอื อะไร เพราะเหตุใด …………………………….. เรืองที รัฐธรรมนูญ รฐั ธรรมนูญเปน กฎหมายสูงสดุ หรอื เปนกฎหมายหลักของประเทศท่ีออกโดยฝายนิติบัญญัติ คือ รัฐสภา อนั ประกอบดวยตัวแทนของประชาชน ดังนนั้ รัฐธรรมนญู จึงเปน กฎหมายทีป่ ระชาชนสวนใหญ ใหค วามเห็นชอบ ความสําคญั รัฐธรรมนูญ เปนกฎหมายที่สําคัญท่ีสุด เปนเสมือนกฎเกณฑหรือกติกาที่ประชาชนในสังคม ยอมรับใหเปนหลักในการปกครอง และการบริหารประเทศ ซ่ึงการออกกฎหมายใด ๆ ยอมตอง ดําเนนิ การภายในกรอบของบทบญั ญัตใิ นรัฐธรรมนญู กฎหมายใดที่ขัดแยงตอ รฐั ธรรมนูญจะไมสามารถ ใชบ ังคับได สาเหตุทีมรี ัฐธรรมนูญในประเทศไทย สาเหตุที่สําคัญมาจากการท่ีประเทศไทยเกิดการเปลี่ยนแปลงทางการปกครองจากระบอบ สมบรู ณาญาสิทธริ าชยเ ปน ระบอบประชาธปิ ไตย ซงึ่ เริม่ มีแนวคิดตงั้ แตรชั กาลที่ 6 โดยกลุมบุคคลที่เรียก ตนเองวา “คณะราษฎร” ประกอบดวย ขาราชการ ทหาร พลเรือน ไดเขาถึงอํานาจการปกครอง พระบาทสมเด็จพระปกเกลาเจาอยูหัว จึงไดทรงลงพระปรมาภิไธย ในรางรัฐธรรมนูญการปกครอง แผนดินฉบับช่ัวคราวที่คณะราษฎรไดเตรียมไว นับวาเปนรัฐธรรมนูญฉบับแรกของไทย เม่ือวันท่ี 10 ธ.ค. 2475 ถือไดวาประเทศไทยมีการเปล่ียนแปลงการปกครองจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย มาเปน การปกครองระบอบประชาธปิ ไตย นับแตน นั้ มา จนถึงปจจุบันไดมีการเปลี่ยนแปลงแกไข และประกาศใชรัฐธรรมนูญการปกครองหลายฉบับ เพอ่ื ใหเ หมาะสม สอดคลองกบั สภาวการณบา นเมอื งท่ีผนั แปรเปลี่ยนในแตละยุคสมัย โดยมีสาระสําคัญ เหมือนกัน คือ ยึดมั่นในหลักการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข จะมีเน้ือหาแตกตางกันก็เพ่ือใหเหมาะสมกับสถานการณของบานเมืองในขณะน้ัน ประเทศไทย มรี ัฐธรรมนูญมาแลว จํานวน 18 ฉบับ และปจจุบนั ใชรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจกั รไทย พทุ ธศักราช 2550 42
Search