หลกั การสําคญั ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจกั รไทย พุทธศักราช รัฐธรรมนญู ฉบบั ปจ จุบันมหี ลกั การและเจตนารมณทจ่ี ะธาํ รงรักษาไวซ ง่ึ เอกราชและความมั่นคง ของชาติ เทิดทูนพระมหากษัตริย ซึ่งหลักการสําคัญของรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2550 ไดระบุไวในหมวด 1 บททั่วไป สรปุ ไดด งั น้ี 1. ประเทศไทยเปน ราชอาณาจกั รอนั หนงึ่ อนั เดียว จะแบงแยกมไิ ด 2. มีการปกครองระบอบประชาธปิ ไตยอันมีพระมหากษตั ริยทรงเปน ประมขุ 3. อาํ นาจอธิปไตยเปนของปวงชนชาวไทย 4. ศักด์ศิ รีความเปนมนุษย สิทธิ เสรีภาพ และความเสมอภาคของบุคคลตองไดร ับความคุม ครอง 5. ประชาชนชาวไทยทุกคนไมแ ยกเพศ ศาสนา และยอ มไดร บั ความคมุ ครองเทา เทยี มกัน โครงสร้างของรัฐธรรมนูญ รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 แบงโครงสรางออกเปน 15 หมวด และ มีบทเฉพาะกาล สรปุ สาระสาํ คญั แตละหมวดดังน้ี หมวด บททัวไป ประเทศไทย เปนราชอาณาจักรอันหนึ่งอันเดียวจะแบงแยกออกมิได มีการปกครองแบบ ประชาธปิ ไตยอนั มีพระมหากษัตริยเปนประมุข พระมหากษัตริยทรงใชอาํ นาจทางรัฐสภา คณะรัฐมนตรี และศาล หมวด พระมหากษตั ริย์ ทรงอยูในฐานะอนั เปนทเี่ คารพ ผูใดจะละเมดิ มไิ ด ทรงเลอื กและแตงตงั้ ประธานองคมนตรี และ องคมนตรีไมเ กิน 18 คน หมวดที สิทธแิ ละเสรีภาพของชนชาวไทย การใชอํานาจโดยองคกรของรัฐ ตองคํานึงถึงศักด์ิศรีความเปนมนุษย สิทธิและเสรีภาพของ บุคคล ท้ังดานการประกอบอาชีพ การสื่อสาร การแสดงความคิดเห็น ความเปนธรรมดานการศึกษา การสาธารณสุข และสวัสดกิ ารของรัฐ เสรภี าพในการชุมนมุ ท่ีไมล ะเมิดสทิ ธผิ อู ื่นและกฎหมาย หมวด หน้าทีของชนชาวไทย บุคคลมีหนาที่พิทกั ษร ักษาชาติ ศาสนา พระมหากษตั ริย และการปกครองระบอบประชาธิปไตย อันมพี ระมหากษัตริยเปนประมุข และมีหนาท่ีปองกันรักษาผลประโยชนของชาติ ปฏิบัติตามกฎหมาย โดยเฉพาะหนาที่ไปใชส ิทธิเลอื กตงั้ หมวด แนวนโยบายพนื ฐานแห่งรัฐ เนนใหประชาชนมีสวนรวม การกระจายอํานาจ การดําเนินการ มุงเนน การพัฒนา คุณภาพ คุณธรรม มีประสิทธิภาพ โปรงใส ใหค วามคมุ ครอง และพฒั นาเดก็ เยาวชน สง เสรมิ ความรูรกั สามคั คี หมวด รัฐสภา รัฐสภามีหนาท่ีบัญญัติกฎหมาย และควบคุมการปฏิบัติงานของฝายบริหาร ประกอบดวย 2 สภา คือ สภาผูแ ทนราษฎร (ส.ส.) และวฒุ สิ ภา (ส.ว.) 43
หมวด การมสี ่วนร่วมทางการเมอื งโดยตรงของประชาชน ประชาชนผูม ีสทิ ธเิ ลอื กตงั้ มีสิทธเิ ขา ชื่อรอ งขอตอวฒุ ิสภาใหถอดถอนบุคคลออกจากตําแหนงได เพราะมสี ทิ ธิออกเสียงประชามติ หมวด การเงนิ การคลงั และงบประมาณ เพ่อื กาํ หนดหลักเกณฑเกี่ยวกับการจัดหารายได การกําหนดรายจาย การกอหนี้หรือการดําเนินการท่ี ผกู พนั ทรพั ยสนิ ของรัฐ หลักเกณฑการกําหนดวงเงินสาํ รองจา ยเพ่ือกรณีฉกุ เฉินหรือจําเปน ซ่ึงเปน กรอบ ในการกาํ กับการใชจา ยเงนิ ตามแนวทางการรกั ษาวนิ ัยการเงนิ การคลงั และรกั ษาเสถยี รภาพทางเศรษฐกจิ อยางย่งั ยืน และเปน แนวทางในการจดั ทํางบประมาณรายจา ยของแผน ดิน หมวด คณะรัฐมนตรี รัฐธรรมนูญกาํ หนดใหม นี ายกรัฐมนตรี 1 คน และมีรฐั มนตรอี ืน่ อกี ไมเกิน 35 คน โดยไดร ับการแตงตั้ง จากพระมหากษตั รยิ หมวด ศาล กาํ หนดใหศ าลหรืออาํ นาจตลุ าการ แบง เปน 1. ทว่ั ไป 2. ศาลรฐั ธรรมนญู 3. ศาลยตุ ิธรรม 4. ศาลปกครอง 5. ศาลทหาร หมวด องค์กรตามรัฐธรรมนูญ กําหนดใหมีองคกรที่จะดําเนินการตรวจสอบ ติดตามการทํางานของบุคคล คณะบุคคล และ หนว ยงานทั้งภาครัฐและเอกชน ดงั นี้ 1. องคกรอิสระตามรัฐธรรมนูญ ประกอบดวย คณะกรรมการการเลือกต้ัง ผูตรวจการแผนดิน คณะกรรมการการปอ งกนั และปราบปรามการทจุ รติ แหง ชาติ และคณะกรรมการตรวจเงินแผนดนิ 2. องคกรอันตามรัฐธรรมนูญ ประกอบดวย องคกรอัยการ คณะกรรมการสิทธิมนุษยชน แหงชาติ และสภาท่ีปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแหง ชาติ หมวด การตรวจสอบการใช้อาํ นาจรัฐ กําหนดใหมีการตรวจสอบขาราชการประจาํ และขาราชการการเมือง หมวด จริยธรรมของผ้ดู ํารงตาํ แหน่งทางการเมอื ง และเจ้าหน้าทีของรัฐ การพิจารณา สรรหา แตงตั้งบุคคลเขาสูตําแหนง ตองเปนไปตามระบบคุณธรรม และคํานึงถึง พฤติกรรมทางจรยิ ธรรมดวย หมวด การปกครองส่วนท้องถนิ ใหค วามเปนอิสระแกองคกรปกครองสวนทองถิ่น มีสภาพทองถ่ินในการบริหารงาน เนนการ กระจายอํานาจ ใหการสนบั สนนุ กําหนดนโยบายการบริหาร 44
หมวด การแก้ไขเพมิ เตมิ รัฐธรรมนูญ ใหมีการแกไขเพ่ิมเติมได แตหามแกไขท่ีมีผลตอการเปลี่ยนแปลงการปกครองระบอบ ประชาธปิ ไตยอนั มีพระมหากษัตรยิ เ ปนประมขุ หรือเปล่ยี นแปลงรูปของรัฐ บทเฉพาะกาล ใหองคมนตรดี าํ รงตําแหนงอยูในวนั ประกาศใชร ฐั ธรรมนญู เรืองที ความรู้เบอื งต้นเกียวกับกฎหมาย 1. ความหมายของกฎหมาย ไดมผี ใู หความหมายของกฎหมายไวด งั น้ี กรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธิ์ พระบิดาแหงกฎหมายไทย ไดใหคาํ จํากดั ความไววา “กฎหมาย คือ คําสัง่ ท้งั หลายของผูปกครองวา การแผนดินตอราษฎรทั้งหลาย เม่ือไมทาํ ตาม ธรรมดาตองลงโทษ ” ดร.สายหยุด แสงอุทัย ไดใหความหมายไววา “กฎหมาย คือ ขอบังคับของรัฐซ่ึงกําหนด ความประพฤติของมนุษย ถา ฝาฝน จะไดร บั ผลรา ยหรอื ถูกลงโทษ” สรุป กฎหมาย คือ ขอบังคับของรัฐที่ใชควบคุมความประพฤติของคนในประเทศ โดยมี จุดมุงหมายท่ีจะคุมครองประโยชนรักษาความสงบเรียบรอยในการอยูรวมกันในสังคม ผูใดฝาฝนจะตอง ถูกลงโทษ 2. ความสําคญั ของกฎหมาย 1. มีความเกี่ยวของกบั มนุษยตั้งแตเ กดิ จนตาย เชน เกิด เก่ียวขอ งกับกฎหมายบุคคล กฎหมายทะเบียนราษฎร โตขน้ึ เกีย่ วขอ งกับ พ.ร.บ. การศึกษาแหงชาติ แตง งาน เกยี่ วขอ งกับกฎหมายครอบครวั ตาย กฎหมายมรดก กฎหมายทะเบียนราษฎร 2. เปนเครอื่ งมือสรา งระเบียบใหสังคมและประเทศชาติ 3. กอ ใหเ กิดความเปนธรรมในสงั คม 3. ลกั ษณะทวั ไปของกฎหมาย 3.1 กฎหมายมลี ักษณะเปน ขอบงั คบั ดงั น้ี 3.1.1 บังคบั ใหทํา เชน ชายไทยตองเกณฑทหาร ผูมีรายไดตองเสียภาษี เด็กตองเขาเรียนตาม พ.ร.บ. การศกึ ษา ฯลฯ 3.1.2 บังคบั ไมใหทาํ เชน หา มทาํ รายรา งกาย หามลกั ทรพั ย ฯลฯ 3.2 กฎหมายมีลักษณะเปนคําสั่งท่ีมาจากผูมีอํานาจสูงสุดในประเทศ เชน ประเทศท่ีมี การปกครองระบอบประชาธปิ ไตย มรี ฐั สภาเปนผอู อกกฎหมาย และพระราชบัญญัติ มีรัฐบาลเปนผูออก พระราชกําหนด พระราชกฤษฎกี า และกฎกระทรวง 45
3.3 กฎหมายเปน ขอ บงั คบั ท่ีใชไดทว่ั ไปกับทกุ คน โดยไมเ ลือกปฏบิ ัติ 3.4 ผูท ฝ่ี า ฝน กฎหมายตองไดร บั โทษ 4. ความจาํ เป็ นทตี ้องเรียนรู้กฎหมาย ในฐานะที่เราเปนสมาชิกของสังคมจึงมีความจําเปนตองศึกษาและเรียนรู ทําความเขาใจใน กฎหมายตา ง ๆ ท่ีเกีย่ วของกับตวั เรา และสังคมที่เราอยู ท้ังนีก้ ็เพื่อกอเกิดประโยชนตอตนเอง ซึง่ ไดแ ก 4.1 รูจักระวงั ตน ไมเ ผลอ หรือพลั้งกระทาํ ความผิดโดยไมร ตู ัว เนือ่ งมาจากเพราะไมรูกฎหมาย และเปนเหตุใหตอ งไดร ับโทษตามกฎหมาย 4.2 ไมใหถกู ผูอน่ื เอาเปรียบและถกู ฉอ โกง โดยท่ีเราไมม คี วามรูเ รอื่ งกฎหมาย 4.3 กอเกดิ ประโยชนใ นการประกอบอาชพี ถา หากรูหลักกฎหมายที่เก่ียวกับการประกอบอาชีพของ ตนเอง แลวยอ มจะปองกนั ความผดิ พลาดอันเกิดจากความไมรกู ฎหมายในอาชีพได 4.4 กอใหเกิดประโยชนทางการเมืองการปกครองของประเทศ เพราะเม่ือประชาชนรูจักใช สทิ ธแิ ละหนา ทข่ี องตนเองตามกฎหมายแลว ยอ มทาํ ใหส ังคมเกดิ ความสงบเรียบรอ ย 5. ประเภทของกฎหมาย ในชีวิตประจําวันบุคคลมีเสรีภาพในการดํารงชีวิตตามระบบการเมืองการปกครอง ระบบ กฎหมาย และระบบเศรษฐกิจ เราจะตองรูจักสิทธิและหนาที่ของตนเอง และรูจักใชสิทธิที่มีอยูไป ประกอบอาชีพ และสรางความสัมพันธกับบุคคลตาง ๆ โดยมีสิทธิเลือกไดวาจะดําเนินชีวิตสวนตัว อยา งไร แตตอ งอยูภายในขอบเขตท่ีกฎหมายกําหนด บุคคลจึงตองขวนขวายหาความรูเก่ียวกับกฎหมาย เพื่อใชติดตอสื่อสาร การดําเนินวิถีชีวิตประจําวัน ซึ่งกฎหมายที่เกี่ยวของกับชีวิตประจําวัน สามารถ แบงไดเปน . กฎหมายอาญา กฎหมายอาญา (Criminal Law) เปนกฎหมายมหาชนที่บัญญัติถึงความสัมพันธระหวางรัฐ กับเอกชนท่ีอยูใตอํานาจปกครองของรัฐ ผูที่ฝาฝนจะตองไดรับโทษ ตามประมวลกฎหมายอาญา และ พระราชบัญญัติอื่นที่บัญญัติถึงการกระทําท่ีเปนความผิดและโทษทางอาญา เชน ความผิดตาม พระราชบญั ญัตจิ ราจรทางบก อาวธุ ปน เคร่อื งกระสุนปน วตั ถรุ ะเบดิ ยาเสพติดใหโทษ ความผิดอันเกิดจาก การใชเชค็ ศุลกากร การพนนั ปาไม ปาสงวน เปนตน เนื่องจากกฎหมายอาญามีสภาพบังคับ คือ มีโทษท่ีจะทําใหบุคคลไดรับผลถึงแกชีวิต รางกาย เสรีภาพ ทรพั ยสิน เชน ประหารชวี ิต จาํ คกุ กักขงั ปรับรบิ ทรัพยสิน ดงั นั้น จึงตองมีหลักประกัน แกบคุ คลดงั ที่บญั ญัติไวใ นกฎหมายรัฐธรรมนญู วา บุคคลจะไมต องรบั โทษอาญา เวน แตจ ะไดกระทําการ อันกฎหมายที่ใชอยูในเวลาที่กระทํานั้น บัญญัติเปนความผิดและกําหนดโทษไว และโทษที่จะลงแก บคุ คลนนั้ จะหนักกวา โทษท่ีกําหนดไวใ นกฎหมายที่ใชอ ยูในเวลาท่ีกระทําความผดิ มิได กลาวคือ บุคคล จะไดรับโทษทางอาญาจะตองไดกระทําการใดที่มีกฎหมายขอหามไว ถาไมมีกฎหมายก็ไมมีความผิด ไมม โี ทษ เชน ความผิดฐานสูบบุหรี่ในท่ีท่ีกําหนด เดิมไมมีความผิดแตเมื่อประกาศใชพระราชบัญญัติ คมุ ครองสุขภาพของผูไมสูบบุหรี่ พ.ศ. 2535 แลวผูท่ีสูบบุหร่ีในเขตปลอดบุหรี่ หรือสูบบุหร่ีในที่สาธารณะ 46
ท่ีกําหนดยอ มมีความผิดและจะตองไดรับโทษ โทษตามประมวลกฎหมายอาญา มี 5 สถาน คือ ประหารชีวิต จาํ คุก กักขัง ปรับ รบิ ทรัพยสิน นอกจากน้ียังมีการรอการลงโทษ หรือรอการลงอาญา เมื่อบุคคลกระทําความผิดและ จะไดรับโทษจาํ คกุ ไมเ กนิ 2 ป ผนู น้ั อาจไดรับความกรณุ าจากศาลไมตองไดรับโทษจําคุกในเรือนจํา เพราะ ผูนั้นไมเคยไดรับโทษจําคุกมากอน เมื่อไดพิจารณาถึง อายุ ประวัติ ความประพฤติ สติปญญา การศึกษา อบรม สขุ ภาพ ภาวะแหงจติ นิสัย อาชีพ สิ่งแวดลอม สภาพความผิด หรือเหตุอ่ืนอันควรปรานีแลว ศาลจะ กาํ หนดโทษไว หรือรอการลงโทษไว ทีเ่ รียกกนั วา “รอการลงอาญา” . กฎหมายแพ่ง กฎหมายแพง คอื กฎหมายทีบ่ ัญญัตถิ งึ ความสัมพนั ธข องบุคคล เปนกฎหมายสารบัญญัติ และเปน กฎหมายเอกชนทีม่ ีความสําคัญแกช วี ติ ของบุคคลตงั้ แตแ รกเกิดจนสนิ้ สภาพบคุ คลไป กฎหมายพาณชิ ย คือ กฎหมายทบ่ี ญั ญัติถึงความสัมพันธของบุคคลท่ีมีอาชีพคาขาย และ นกั ธรุ กิจกลาวถึงระเบยี บหลกั ปฏบิ ตั ใิ นทางการคา ที่บุคคลในอาชพี คาขายและนักธุรกิจจะตองปฏิบัติใน การเกย่ี วขอ งสัมพันธก นั เชน กฎหมายเกีย่ วกับหุน สวนบริษทั ต๋วั เงิน ประกันภัย การขนสงสินคา ประเทศไทยไดรวมบัญญัติกฎหมายพาณิชยเขาไวในประมวลกฎหมายแพง จึงรวม เรียกวา “ประมวลกฎหมายแพง และพาณิชย” สภาพบังคับในทางแพ่ง โทษหรือสภาพบังคับในทางแพงท่ีจะใหผูฝาฝนไมปฏิบัติตาม กฎหมาย คือ การใชคาสินไหมทดแทนหรือคาเสียหาย หรือใหชําระหน้ีดวยการสงมอบทรัพยสินให กระทําการ หรอื งดเวนกระทําการอยางใดอยางหน่ึงตามมูลหนี้ที่มีตอกันระหวางเจาหน้ีและลูกหนี้ เชน บังคบั ใหชาํ ระหนเ้ี งินกูพรอมดวยดอกเบ้ยี บังคับใหผ ขู ายสงมอบหรือโอนทรัพยสนิ ใหแกผ ูซอื้ ตามสญั ญา ซื้อขาย หรือใหใชคาสินไหมทดแทนในกรณีละเมิดขับรถยนตชนผูอ่ืนบาดเจ็บ หรือทําใหทรัพยสิน เสยี หาย เรืองที กฎหมายทีเกียวข้องกับตนเองและครอบครัว กฎหมายในชวี ิตประจําวันที่เก่ยี วของกับตนเอง และครอบครวั ไดแก กฎหมายดังตอไปน้ี 1. กฎหมายเกยี วกบั ชือบุคคล พระราชบัญญัติขอมูลสวนบุคคล กําหนดไววา (มีสัญชาติไทย ตองมีช่ือตัวและชื่อสกุล สวนชื่อรองมีหรอื ไมม กี ็ได) การต้ังช่ือตัวตองไมใหพองกับพระปรมาภิไธยของพระมหากษัตริยและพระนามของ พระราชนิ ี หรอื ราชทินนาม และตอ งไมม คี ําหยาบคาย ชอ่ื ตัวมีกพ่ี ยางคกไ็ ด และมคี วามหมายดี การต้ังชือ่ สกุลไมเกิน 10 พยัญชนะ (ยกเวนราชทนิ นามเกา ) ในเร่ืองช่ือสกุล เดิมกฎหมายกําหนดใหหญิงท่ีมีสามีตองเปล่ียนชื่อสกุลของตนมาใช ชื่อสกุลของสามี แตปจจุบันกฎหมายไดมีการแกไขใหมมีผลตามพระราชบัญญัติช่ือบุคคล (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2548 ดังนี้ 47
1. คูสมรสมสี ิทธใิ ชช ือ่ สกุลฝายใดฝายหน่ึงไดต ามท่ตี กลง หรอื ตางฝายตา งใชนามสกุลเดิม ของตนได 2. เมอ่ื การสมรสสน้ิ สุดลงดว ยการหยา หรอื ศาลมีคาํ พพิ ากษาใหเพกิ ถอนการสมรส ใหฝายที่ใชชอ่ื สกลุ ของอกี ฝายหน่งึ กลบั ไปใชช ื่อสกลุ เดิมของตน 3. เมอ่ื การสมรสสนิ้ สุดลงดวยความตาย ฝา ยที่มีชีวิตอยูใชชื่อสกุลของอีกฝาย คงมีสิทธิ ใชไ ดตอ ไป แตเ ม่ือจะสมรสใหมใหกลบั ไปใชชอื่ สกลุ เดมิ ของตน 4. หญิงท่ีมีสามี ซ่ึงใชช่ือสกุลสามีอยูแลว กอนการเปลี่ยนแปลงกฎหมายใหมีสิทธิใช ตอไป หรือจะมาใชส ทิ ธิกลบั ไปใชช อ่ื สกุลเดิมของตนได . กฎหมายทะเบียนราษฎร์ “กฎหมายทะเบยี นราษฎร” เกิดข้นึ มาเพ่ือการจัดระเบียบคนในสังคม และการที่จะเปน ประชาชนไทยที่ถูกตองไมใชเพียงแคลืมตาดูโลกบนแผนดินไทยแลวจะถือวาเปนคนไทยท่ีสมบูรณ เราจําเปนตองปฏบิ ตั ติ ามกฎหมายการทะเบียนราษฎรอยางเครงครัด ซึ่งการทะเบียนราษฎรพื้นฐานที่ควร ตระหนกั ใหค วามสําคัญ ไดแ ก การเกิด การตาย การยายที่อยู และการทําบัตรประชาชน การตดิ ตอ สถานท่ีราชการเพื่อดําเนนิ การเหลา นีส้ ามารถไปดาํ เนินการไดท ี่ ถาอาศัยอยูในเขตเทศบาลใหแจงที่นายทะเบียนผูรับแจงประจําตําบล หรือหมูบาน ไดแก ผูใ หญบา น หรือกาํ นัน หรือแจงโดยตรงตอนายทะเบียนประจําสาํ นกั ทะเบยี นอาํ เภอ ณ ที่วา การอําเภอ ในเขตเทศบาลใหแจงท่ีสํานักทะเบยี นทองถ่ิน ซึง่ ต้ังอยู ณ สํานักงานเทศบาล ในเขตกรุงเทพมหานครใหแจงที่สํานักทะเบียนทองถิ่น ซึ่งต้ังอยู ณ สํานักงานเขต หรือสาํ นักงานเขตสาขา กฎหมายทะเบยี นราษฎร ประกอบดว ย ก. การแจ้งเกดิ ตองแจงตอนายทะเบียนที่อําเภอ ภายใน 15 วัน นับต้ังแตวันเกิด แลวทางการจะออก “ใบสตู ิบัตร” ซึ่งเปน เอกสารทแี่ สดงชาติกําเนดิ วันเดือนปเกดิ การแจงเกิดนีไ้ มเสียคา ธรรมเนียมใด ๆ แต ถา ไมแจง เกิดมคี วามผิดตองระวางโทษ ปรับไมเกิน 1,000 บาท วธิ กี ารแจ้งเกดิ แจง รายละเอยี ดเกีย่ วกบั เด็กทเี่ กิด คอื ชื่อ นามสกุล เพศ สญั ชาติของเด็กท่ีเกิด วันเดือนปเกิด เวลาตกฟาก ตลอดจนวนั ขางข้ึนขา งแรม ตลอดจนสถานทเี่ กดิ บานเลขที่ ถนน ตําบล เขต จงั หวัด แจง รายละเอยี ดเกยี่ วกับมารดาของเด็กท่ีเกิด คือ ช่ือ นามสกุล และนามสกุลเดิมกอนสมรส อายุ สัญชาติ ทอ่ี ยโู ดยละเอยี ด แจง รายละเอยี ดเกี่ยวกับบดิ า คือ ชื่อ นามสกุล อายุ สญั ชาติ หลักฐานทีจ่ ะตอ งนําไปแสดงตอนายทะเบียน สําเนาทะเบียนบาน ฉบับเจา บา น (ท.ร.14) บตั รประจําตวั ประชาชน หรือบัตรประจําตัวอืน่ ๆ ของเจา บาน และของคนแจง 48
หนังสือรับรองการเกิด (ท.ร.1/1) ซ่ึงแพทย หรือพยาบาล หรือเจาหนาท่ีอนามัย หรือ ผดุงครรภแลว แตกรณี ออกให (ถาม)ี บัตรประจาํ ตวั ประชาชน หรอื บัตรประจาํ ตัวอืน่ ๆ ของพอ แมเด็กท่ีเกดิ ข. การแจ้งตาย เมื่อมีคนตาย ผูเก่ียวของตองไปแจงการตาย เพื่อใหไดใบมรณบัตรท่ีแสดงวา คนนั้นตายแลว ภายใน 24 ช่วั โมง การแจงตายไมเ สยี คา ธรรมเนียมใด ๆ แตถ าไมแ จงตายภายในเวลาที่กาํ หนดมีความผิดตอง ระวางโทษปรบั ไมเ กนิ 1,000 บาท วธิ กี ารแจ้งตาย แจงรายละเอียดเก่ียวกับผูตาย เชน ชื่อ นามสกุล อายุ สัญชาติ เพศ ของผูตาย เวลาที่ตาย ระบุ วัน เดือน ป เวลาโดยละเอียด สถานท่ตี าย สาเหตุการตาย การดาํ เนนิ การกับศพของผตู าย (เก็บ ฝง เผา) ท่ีไหน เมื่อไร ฯลฯ ผูมีลกู บญุ ธรรมจะแตง งานกบั ลกู บญุ ธรรมไมได ไมเปนคูส มรสของผอู ่ืน หญิงหมา ยจะแตงงานไมต องรอเกนิ 130 วัน หลังจากที่ชวี ติ สมรสครงั้ แรกสิ้นสดุ ชาย หญงิ ทม่ี อี ายุไมค รบ 17 ปบริบูรณ จะแตงงานกันไดก็ตองมีคําส่ังของศาลอนุญาต โดยนาํ คําสง่ั ศาลน้นั ไปแสดงตอ นายทะเบียน วธิ กี ารจดทะเบยี นสมรส ชายหญิงตองไปใหถอยคําและแสดงความยินยอมเปนสามีภรรยากันโดยเปดเผยตอหนา นายทะเบียนท่อี าํ เภอกง่ิ อําเภอเขตหรอื สถานทูต สถานกงสุลไทยในตางประเทศแหงใดก็ได โดยไมจําเปนตองมี ชอื่ อยใู นทะเบียนบานของทอ งถิน่ น้ัน หลกั ฐานทีจะต้องนาํ ไปแสดงต่อนายทะเบียน บัตรประชาชน สําเนาทะเบยี นบา นของท้ังสองคน กรณีทท่ี ัง้ คูย ังไมบรรลนุ ติ ภิ าวะ (17 ป แตไ มถ งึ 20 ป) ตองใหบ คุ คลผมู อี ํานาจใหความยินยอม เชน พอแม หรือผูปกครอง เปนตน โดยอาจใหผ ูยินยอมลงลายมอื ชื่อในขณะจดทะเบียน หรอื ทําเปนหนงั สอื ยนิ ยอมกไ็ ด ค. การจดทะเบยี นหย่า การหยาสําหรับคูสมรสท่ีไดจดทะเบียนสมรสแลวไมวากรณีใดตองไปจดทะเบียนหยากัน ที่สํานกั ทะเบยี น จะไปจดทอ่ี นื่ ไมได และตองทาํ ตอ หนา นายทะเบียนเทานั้น การหยาจะมีผลสมบูรณทําได 2 วธิ ดี งั น้ี 1. การหยาโดยความยินยอมของท้ังสองฝาย คือ การที่คูหยาไปจดทะเบียนหยาดวยตนเอง ทีส่ ํานักทะเบียนแหงใดก็ได และจะตอ งนําหลักฐานตดิ ตวั ไปดวยดังตอไปนี้ บัตรประจาํ ตวั ประชาชน หรือบัตรประจําตัวขาราชการของทง้ั สองฝาย หลักฐานการจดทะเบยี นสมรส เชน ใบสาํ คัญการสมรส หรอื สาํ เนาทะเบยี นสมรส 49
สาํ เนาทะเบยี นบา นฉบับเจา บา นของทัง้ สองฝาย หนงั สือสญั ญาหยา 2. การหยาโดยคาํ พพิ ากษาของศาล หากคูหยา ตอ งการใหนายทะเบียนบันทึกการหยาไวเปน หลักฐาน จะตองย่ืนสําเนาคําพิพากษาของศาลที่แสดงวาไดหยากันแลวแกนายทะเบียน จากนั้น นายทะเบียนก็จะบันทกึ คาํ สัง่ ศาลไวเปน หลกั ฐาน ท้ังนห้ี ากมขี อตกลงอยางอื่น เชน ทรัพยสิน อํานาจการ ปกครองบุตรกส็ ามารถบันทกึ ไวใ นทะเบียนหยาได ง. การจดทะเบียนรับรองบุตร การจดทะเบียนรับรองบุตร พอแมของเด็กซึ่งเปนสามีภรรยากันโดยไมชอบดวยกฎหมาย เด็กทีเ่ กิดมาจึงเปนลูกที่ชอบดวยกฎหมายของแมฝ ายเดียว หากเดก็ จะเปน ลูกที่ชอบดวยกฎหมายของพอก็ ตอ งมกี ารจดทะเบียนรับรองบตุ ร เมื่อจดทะเบียนเรียบรอยเด็กก็จะมีสิทธิใชนามสกุล และรับมรดกของ พอแมอ ยา งถกู ตอ ง การจดทะเบยี นรบั รองบตุ รนี้ ทาํ ไดเฉพาะฝา ยชายเทานั้นสวนหนุมสาวคูใดท่ีมีลกู กอ นแตง งาน เมื่อแตงงานจดทะเบียนสมรสกันแลว เด็กคนนั้นจะเปนลูกที่ถูกตองตามกฎหมายทันทีโดยไมตอง จดทะเบียนรับรองบตุ รอกี หลักฐานที่จะตองนําไปแสดงตอนายทะเบยี น ใบสูตบิ ัตร และสาํ เนาทะเบยี นบานของเด็ก บตั รประจําตัวประชาชน และสําเนาทะเบียนบานของมารดาเดก็ บตั รประจําตัวประชาชน และสาํ เนาทะเบียนบานของบดิ า (ผูย่นื คํารอ ง) บัตรประจาํ ตวั ประชาชนของเดก็ (ในกรณที ี่เด็กอายุเกนิ 15 ป) เรืองที กฎหมายทีเกยี วข้องกบั ชุมชน กฎหมายที่เก่ียวของกับชุมชนเปนกฎหมายวาดวยการรักษาสภาพแวดลอมที่อยูรอบตัวคนใน ชุมชน มิใหเกิดความผิดปกติจากธรรมชาติที่ควรจะเปน ตลอดจนการดูแล ปกปอง และปองกันใหเกิด ความเปนธรรมในสงั คม ไมเ อารดั เอาเปรียบตอ กัน ซง่ึ กฎหมายที่ควรรู ไดแก 1. กฎหมายสงเสริมและรักษาคุณภาพส่งิ แวดลอ ม 2. กฎหมายเกีย่ วกบั การคุม ครองผูบริโภค กฎหมายส่งเสริมและรักษาคณุ ภาพสิงแวดล้อม โดยทั่วไปบุคคลมีสิทธแิ ละหนาทีต่ อ งมีสว นรว มในการจัดการ บํารงุ รกั ษา และใชป ระโยชนจ าก ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมอยางสมดุล และยั่งยืน รวมถึงมีหนาท่ีตองอนุรักษธรรมชาติและ ส่ิงแวดลอ มตามทร่ี ัฐธรรมนญู บัญญตั ิไว โดยเฉพาะพระราชบญั ญัตสิ ง เสริมและรกั ษาคณุ ภาพสิ่งแวดลอม แหง ชาติ พ.ศ. 2535 กําหนดไวด งั น้ี 50
1. สิทธขิ องบุคคลเก่ยี วกับการสงเสริมและรกั ษาคณุ ภาพสง่ิ แวดลอ ม มีสิทธจิ ะไดรับขอมูลและขาวสารจากทางราชการ มีสิทธิไดรับชดเชยคาเสียหาย หรือ คาทดแทนจากรัฐ กรณีไดร บั ความเสียหายจากภยั อนั ตรายท่ีเกิดจากการแพรก ระจายของมลพษิ หรอื ภาวะ มลพษิ อนั มีสาเหตจุ ากกจิ การ/โครงการ โดยสว นราชการ/รัฐวิสาหกิจ มีสทิ ธริ องเรยี นกลาวโทษผกู ระทาํ ผิด หรือฝา ฝน กฎหมายเกีย่ วกับการควบคุมมลพษิ 2. หนา ทีข่ องบุคคล ใหความรวมมือและชวยเหลือเจาพนักงานในการปฏิบัติหนาท่ีท่ีเกี่ยวของกับการสงเสริม การรักษาคุณภาพส่ิงแวดลอม ปฏิบัติตามกฎหมายที่เก่ียวของกับการสงเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอม โดยเครงครดั 3. ปญหากระทบตอสงิ่ แวดลอ มในปจจุบนั มี 2 ประการ คือ การลดลงและขาดแคลนทรัพยากรธรรมชาติ เน่ืองจากการทําลายตนไม ปาไม และ แหลง กาํ เนิดของลาํ ธาร เกดิ มลพิษสิ่งแวดลอม เนื่องจากความเจริญทางเทคโนโลยีและจํานวนประชากร ที่เพ่ิมข้ึน การใชมากทําใหเกิดสิ่งท่ีเหลือจากการใชทรัพยากร เชน ขยะ นํ้าเสียจากครัวเรือน โรงงาน ควนั ไฟ สารเคมี ทําใหเกดิ มลพิษทางนํา้ อากาศ และบนดนิ ซึ่งผูท่ไี ดรับผลกระทบ คือ ประชาชน ดงั นน้ั พ.ร.บ. สง เสรมิ และรักษาคณุ ภาพส่ิงแวดลอม แหง ชาติ พ.ศ. 2535 จึงไดก ําหนดใหม ี 1. คณะกรรมการส่ิงแวดลอมแหงชาติ ทําหนาที่กําหนดมาตรฐานควบคุมคุณภาพ ส่งิ แวดลอมที่ประกอบดว ยมาตรฐานคณุ ภาพของนาํ้ อากาศ เสียง และอ่นื ๆ 2. กองทนุ สง่ิ แวดลอม เพ่ือใชในกจิ การชวยเหลือใหกูยืมเพอ่ื การลงทุนแกสวนราชการ ทอ งถนิ่ รฐั วสิ าหกิจ เอกชน ในการจัดระบบบาํ บดั นา้ํ เสยี อากาศเสยี และระบบกาํ จดั ของเสีย 3. กองควบคมุ มลพิษ โดยคณะกรรมการควบคมุ มลพิษทําหนาท่ีเสนอแผนปฏิบัติการตอ คณะกรรมการส่ิงแวดลอมแหงชาติ และกําหนดมาตรฐานมลพิษทางน้ํา มลพิษทางอากาศ และมลพิษ ทางเสยี ง พรอมเขาทาํ การปองกัน และแกไขอนั ตรายอันเกิดจากมลพษิ เหลา นนั้ 4. ความรับผิดชอบของเจาของหรือผูครอบครองแหลงกําเนิดมลพิษทั้งทางแพงและ ทางอาญา กฎหมายเกยี วกบั การค้มุ ครองผ้บู ริโภค กฎหมายวาดวยการคุมครองผบู รโิ ภคในปจจุบัน คือ พระราชบญั ญัติคุมครองผบู รโิ ภค พ.ศ. 2522 และ มีการแกไขเพ่ิมเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2541 เปนกฎหมายท่ีใหความคุมครองและใหความเปนธรรมแก ผูบ ริโภค ซง่ึ บคุ คลที่กฎหมายคมุ ครองผบู รโิ ภค ไดแก บคุ คล 6 ประเภท ดงั นี้ 1. ผซู ือ้ สนิ คาจากผขู าย 2. ผูไ ดร บั การบริการจากผูขาย 3. ผเู ชาทรัพยส ินจากผูใหเ ชา 4. ผูเชา ซือ้ ทรพั ยส ินจากผใู หเ ชา ซื้อ 51
5. ผูซ่ึงไดรับการเสนอหรือไดรบั การชกั ชวนใหซ ื้อสินคา หรอื รับบรกิ ารจากผูประกอบธรุ กจิ 6. ผูใชสินคาหรอื ผูไดร บั บรกิ ารจากผูป ระกอบธรุ กิจโดยชอบ แมมิไดเปนผเู สียคาตอบแทน สิทธิของผ้บู ริโภคทจี ะได้รับความค้มุ ครอง มีดังน้ี สิทธิทไี่ ดร ับขา วสาร รวมทั้งคําพรรณนาคุณภาพท่ีถูกตอง และเพียงพอกับสินคา หรอื บริการ สทิ ธิที่จะมีอสิ ระในการเลือกหาสินคา หรือบรกิ าร สิทธทิ ี่จะไดร ับความปลอดภยั จากการใชส ินคา หรอื บริการ สิทธิจะไดร ับความเปนธรรมในการทาํ สัญญา สทิ ธิจะไดร บั การพิจารณาและชดเชยความเสยี หาย จากสทิ ธิของผูบรโิ ภคน้ี กฎหมายไดวางหลักการคุมครองผบู ริโภคไว 4 ดาน ไดแก 1. คมุ ครองดา นโฆษณา คอื ผบู รโิ ภคมีสิทธิไดรับขาวสารเก่ยี วกับสนิ คา 2. คมุ ครองดา นฉลาก คอื ผบู รโิ ภคมีสิทธิและอิสระในการเลือกซ้ือสนิ คาและบริการ 3. คุมครองดานสัญญา คือ ผูบรโิ ภคมีสทิ ธไิ ดรบั ความเปน ธรรมในการซื้อขายและทําสัญญา กรณี การซอ้ื ขายเปน ลายลกั ษณอกั ษรกบั ผูประกอบธุรกจิ หรือผูขาย 4. คุมครองดานความเสียหาย ผูบริโภคมีสิทธิไดรับการชดเชย หากไดรับความเสียหายหรือ อนั ตรายจากสนิ คา/บรกิ ารน้ัน ๆ ซ่ึงผูบริโภคมีสิทธิจะไดรับการคุมครองโดยท่ี พ.ร.บ. คุมครองผูบริโภคไดจัดตั้งองคกร เพื่อคมุ ครองผบู ริโภคขึน้ โดยมีคณะกรรมการคุมครองผบู ริโภคทําหนา ท่ีดําเนนิ การ เรืองที กฎหมายอนื ๆ กฎหมายอ่ืน ๆ ทเี่ ก่ียวของกับชีวิตประจําวันท่ีควรศึกษา ท้ังนี้เพ่ือเปนการรักษาผลประโยชนที่ เราพึงมี หรือเปนการปองกันไมใหปฏิบัติตนผิดกฎหมายโดยรูเทาไมถึงการณได ซ่ึงไดแก กฎหมาย ทสี่ าํ คญั ดังตอ ไปน้ี 1. กฎหมายประกนั สังคม กฎหมายประกันสังคม เปนกฎหมายท่ีใหหลักประกันแกบุคคลในสังคมท่ีมีปญหาหรือ ความเดือดรอนทางดา นการเงนิ เนื่องจากการประสบเคราะห หรือมเี หตุการณอ นั ทาํ ใหเกิดปญหา ขอบเขตการบังคบั ใช้กฎหมายประกนั สังคม ตาม พระราชบัญญัติประกันสังคม พ.ศ. 2533 ที่ใชบังคับอยูในปจจุบันไดกําหนดให สถานประกอบกจิ การที่มีลกู จา งรวมกันตั้งแต 10 คน ขนึ้ ไป และนายจางของสถานประกอบกิจการนั้นตอง อยูภ ายใตข อบงั คับของกฎหมายดงั กลา ว ลกู จางซงึ่ มฐี านะเปน ประกันตน ก็คือ บุคคลที่สมคั รเขา ทาํ งานในสถานประกอบกิจการ ที่มีลูกจางรวมกันต้ังแต 10 คน ข้ึนไป โดยกฎหมายประกันสังคมบังคับใหลูกจางดังกลาวตองจายเงิน 52
สมทบเขา กองทุนประกนั สังคม ซ่ึงนายจา งจะเปน ผูหกั เงนิ คา จางทุกครั้งท่ีมีการจายคาจาง และนําสงเขา กองทนุ ประกันสังคม เปนเงนิ สมทบสว นของลกู จาง *ปัจจบุ นั กฎหมายเปิ ดให้ใช้ได้ตงั แต่กจิ การทมี ลี ูกจ้างตงั แต่ คน ขึนไป แล้วแต่เจ้าของ และลกู จ้างสมคั รใจ ประโยชน์ทดแทน ประโยชนทดแทน หมายถึง ความชวยเหลือที่ใหแกผูประกันตน หรือผูท่ีมีสิทธิ เม่อื รบั ประกันตนประสบเคราะหภัยหรอื เดอื ดรอน และปฏิบัตติ ามเงื่อนไขทีก่ ฎหมายกาํ หนดแลว รปู แบบของประโยชนทดแทน มี 4 รูปแบบ คือ บรกิ ารทางการแพทย เงินทดแทนการขาดรายได คา ทําศพ เงินสงเคราะห 2. กฎหมายเกยี วกบั ยาเสพตดิ กฎหมายเก่ียวกับยาเสพติดที่บังคับใชในปจจุบันนี้ คือ พระราชบัญญัติยาเสพติดใหโทษ พ.ศ. 2522 ความหมายของยาเสพตดิ ยาเสพติดใหโทษ หมายถงึ สารเคมหี รอื วัตถุชนิดใด ๆ ซึ่งเม่ือเสพเขาสูรางกายไมวาจะ โดยรบั ประทาน ดม สูบ ฉีด หรอื ดว ยวิธกี ารใดแลวกต็ าม ทําใหเกดิ ผลตอ รางกายและจติ ใจ เชน ตอ งการเสพ ในปรมิ าณที่เพมิ่ ขนึ้ เลกิ เสพยาก สขุ ภาพทั่วไปจะทรดุ โทรม และบางรายถงึ แกชวี ิต ประเภทของยาเสพตดิ ยาเสพติดใหโทษ แบง ได 5 ประเภท คือ ประเภท 1 ยาเสพติดใหโ ทษชนิดรา ยแรง เชน เฮโรอีน ประเภท 2 ยาเสพตดิ ใหโ ทษท่วั ไป เชน มอรฟน โคเคน ฝน ประเภท 3 ยาเสพติดใหโทษที่มีลักษณะเปน ตํารับยา และยาเสพติดใหโทษ ประเภท 2 ผสมอยดู วย ตามหลักเกณฑทร่ี ัฐมนตรีประกาศในราชกจิ จานเุ บกษา ประเภท 4 สารเคมีท่ีใชในการผลติ ยาเสพติดใหโทษประเภท 1 หรือประเภท 2 เชน อาเซตกิ แอนไฮโดรด อาเซตลิ คลอไรด ประเภท 5 ยาเสพติดใหโทษที่ไมไดเขาอยูในประเภท 1 ถึงประเภท 4 เชน กัญชา พชื กระทอ ม ความผดิ เกยี วกบั ยาเสพตดิ ให้โทษทผี ดิ กฎหมาย 1. ยาเสพติดประเภท 1 ไดแกค วามผดิ ดงั น้ี ฐานผลิต นาํ เขา สง ออกเพอื่ การจําหนาย ตองระวางโทษประหารชีวติ 53
ฐานจาํ หนา ยหรือมีไวในครอบครองเพ่ือการจําหนายเปนสารบริสุทธ์ิ ไมเกิน 100 กรัม ตองระวางโทษจําคุก 5 ป ถึงตลอดชีวิต และปรับตั้งแต 50,000 – 500,000 บาท ถาเกนิ 100 กรัม ตอ งระวางโทษจําคกุ ตลอดชีวติ หรอื ประหารชีวติ ถามไี วในครอบครองไมถึง 20 กรัม ตองระวางโทษจําคุกตั้งแต 1 – 10 ป และ ปรับ 10,000 - 100,000 บาท ถา มีไวเ สพตองระวางโทษจําคกุ ต้ังแต 6 เดือน ถึง 10 ป และปรับต้ังแต 5,000 - 100,000 บาท 2. ยาเสพติดใหโทษประเภท2 ไวในครอบครองโดยไมไ ดรบั อนุญาต ตอ งระวางโทษจําคกุ ต้ังแต 1 - 10 ป และปรับตั้งแต 10,000 – 100,000 บาท 3. ยาเสพติดใหโทษประเภท 3 มีลักษณะเปนตํารับยา จึงอาจมีการขออนุญาตผลิต จําหนาย หรือนําเขา หรือสง ออกได 4. ยาเสพตดิ ใหโ ทษประเภท 4 และ 5 นน้ั อาจผลติ จาํ หนาย นาํ เขา สงออก หรือมีไวใน ครอบครองได โดยรัฐมนตรีเปนผูอนุญาต โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการ เปนราย ๆ ไป 5. หา มเสพยาเสพตดิ ใหโทษประเภท 5 โดยเด็ดขาด หากฝา ฝนจะตองระวางโทษจําคุก ไมเกนิ 1 ป และปรบั ไมเ กิน 10,000 บาท 3. กฎหมายค้มุ ครองแรงงาน กฎหมายวา ดวยการคุมครองแรงงานของประเทศไทยปจจุบันน้ีคือ พระราชบัญญัติคุมครอง แรงงาน พ.ศ. 2541 ซึ่งถือไดวาเปนแมบทในการคุมครองแรงงาน บุคคลที่ไดรับการคุมครองจาก กฎหมายฉบบั นี้ คือ “ลกู จา ง” ซงึ่ หมายความถึง ผซู งึ่ ตกลงทาํ งานใหน ายจา งโดยรบั คา จา ง สาระสาํ คัญของ พระราชบญั ญัตคิ ุม ครองแรงงานประกอบดว ย การคมุ ครองกาํ หนดเวลาในการทํางาน สทิ ธขิ องลูกจางในการพกั ผอ นระหวา งทํางาน สิทธขิ องลกู จางในการมวี นั หยุด สทิ ธลิ าของลกู จาง สิทธิไดรบั เงนิ ทดแทน การคมุ ครองการใชแ รงงานหญงิ การคมุ ครองการใชแ รงงานเด็ก 54
เรืองที การปฏิบัตติ นตามกฎหมาย และการรักษาสิทธิ เสรีภาพของตนในกรอบของกฎหมาย ในฐานะพลเมอื งของประเทศ ซึง่ มกี ารปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรง เปนพระประมขุ ทมี่ สี ิทธิ เสรีภาพ บทบาทหนาที่ ตอ งปฏิบัติตนตามกรอบขอกําหนดของกฎหมายตาง ๆ ทีเ่ กี่ยวของดวยการใชสทิ ธติ ามกฎหมาย และตอ งรกั ษาปกปอ งสิทธขิ องตนเองและชมุ ชน เมอื่ ถูกละเมดิ สทิ ธิ หรือผลประโยชนอ ันชอบธรรมของตัวเองและชุมชน ซง่ึ การปฏบิ ัติตามกฎหมายดําเนนิ การได ดงั นี้ 1. เรม่ิ จากการปลูกฝงและประพฤติปฏิบัติตนตามกฎหมายที่เก่ียวของกับตนเองและครอบครัว เชน เมือ่ มีคน เกดิ ตาย ในบา นตองดาํ เนนิ การตามกฎหมายทะเบยี นราษฎร จัดการใหก ารศกึ ษาแกบ ตุ ร หลาน ตามกฎหมายการศึกษาภาคบังคบั ปฏบิ ตั ิตนใหถกู ตองตามกฎหมายการสมรส กฎหมายมรดก ฯลฯ 2. ในชมุ ชน/สังคม ตอ งปฏิบัตติ นใหเหมาะสมกบั การอยใู นสังคมประชาธิปไตย ตามบทบาทหนาที่ โดยยดึ กฎหมายทเี่ กยี่ วของ เชน การปฏบิ ัติตามกฎหมายสงเสรมิ และรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอม ไมทําลาย ธรรมชาติ เผาปา สรางมลพิษใหแ กผอู ่นื เคารพสิทธขิ องตน ไมละเลยเม่อื เห็นผอู ่ืนในชมุ ชน/สงั คมกระทําผิด ดว ยการตกั เตือน ชี้แจง ใหความรวมมือในการปฏิบัติตามกฎหมายคุมครองผูบริโภค กฎหมายแรงงาน กฎหมายจราจร ฯลฯ การรักษาสิทธิตามกรอบของกฎหมาย กฎหมายใหสิทธิแกบุคคลหรือหนวยงานสามารถเรียกรองปองกัน เพื่อรักษาสิทธิของตนท่ีถูก บุคคลหรือหนวยงาน ไมวาจะเปนหนวยงานของเอกชนหรือรัฐมาละเมิดสิทธิของบุคคลหรือชุมชน โดยใหเปนหนาท่ีของบุคคล องคกร และผูเก่ียวของทําหนาท่ีรวมกันในการเรียกรองเพื่อรักษาสิทธิ ผลประโยชนทถ่ี กู ละเมดิ ซง่ึ การละเมดิ สทิ ธิ มี 2 กรณี ดงั นี้ 1. การละเมิดสิทธ/ิ ผลประโยชนสว นบุคคล กรณีตัวอยาง นักศึกษาสาวไปเดินหางสรรพสินคาถูก ผไู มป ระสงคด แี อบถา ยภาพขณะเดินลงบันไดเลื่อน แลวนําไปเผยแพรหรือไปไวเอง ผูเสียหายสามารถ แจง ความใหเจา หนา ทต่ี าํ รวจดาํ เนินคดีตามกฎหมายแกผ ูไ มประสงคดไี ด 2. การละเมิดสิทธิ/ผลประโยชนข องชมุ ชน กรณีตัวอยาง หนวยงานการไฟฟาฝายผลิตไดถูกรัฐ จัดการแปรรูปใหเปนบริษัทเอกชน มกี ารซือ้ ขายหุนมงุ เก็งกําไร ทาํ ใหป ระชาชนเสยี ประโยชน ทั้ง ๆ ทไ่ี ฟฟา จัดเปน สาธารณูปโภคที่รฐั พงึ จัดใหบ ริการแกประชาชน ไมค วรมงุ การคา กาํ ไร ซ่งึ ตอ มามีคณะบุคคลทีเ่ ปน วุฒิสมาชิก (ส.ว.) ไดดําเนินการฟองรองไปยังศาลปกครอง เรียกรองสิทธิ/ผลประโยชนในเร่ืองน้ีใหแก ประชาชน และในท่ีสุดศาลก็ไดตัดสินใจใหรัฐเปนผูแพ ผลประโยชนจึงไดกลับคืนมาสูประชาชน คือ การไฟฟา ฝายผลติ กลบั มาเปนรัฐวสิ าหกจิ อยูในการกํากบั ของรฐั กรณีตัวอยางนี้ ทําใหเห็นวาการมีความรูความเขาใจในเร่ืองกฎหมาย เขาถึงสิทธิอันชอบธรรม ท่ีควรได/ มตี ามกฎหมาย บคุ คลหรอื องคกร และผูเกี่ยวของสามารถดําเนินการเรียกรอง ปกปอง รักษาสิทธิ และผลประโยชนของตนและสวนรวมได 55
กิจกรรมที ให้ผ้เู รียนเลอื กคาํ ตอบทถี ูกต้อง 1. ความหมายคําวา “ประชาธปิ ไตย” ตรงกับขอใด ก. ประชาชนเปน ใหญในประเทศ ข. ระบอบการปกครองท่ีถือมติของปวงชนเปนใหญ หรือการถือเสียงขา งมากเปนใหญ ค. การปกครองที่ยดึ หลกั สิทธิเสรภี าพ ง. การปกครองท่ีมี 3 อํานาจ 2. การใชช ีวิตประชาธิปไตยตอ งเรมิ่ ตนท่ใี ดเปนแหงแรก ก. ครอบครัว ข. โรงเรยี น ค. ไปใชส ิทธเิ ลือกต้งั ง. การเลือกตั้งผูใ หญบาน 3. หลักสาํ คญั ในการประชมุ รวมกันคืออะไร ก. รกั ษาระเบยี บ ข. มีสว นรวมในการจดั ประชมุ ค. ยอมรับฟง ความคิดเห็นผูอื่น ง. เคารพกฎกติกา 4. สถานภาพการสมรสไดแกข อ ใด ก. โสด ข. สมรส ค. หมา ย ง. ถกู ทุกขอ 5. ขอตอ ไปนข้ี อใดหมายถงึ “หนา ท่ีของปวงชนชาวไทย” ก. ชาวไทยมหี นา ที่เกณฑท หาร เมอ่ื อายคุ รบ 20 ป ข. หนาที่เลอื กตง้ั ผูแ ทนราษฎร ค. หนา ท่ีทะนุบาํ รุงศาสนา ง. หนา ที่รักษาสถาบันทกุ สถาบนั 6. เม่ือมคี นตายเกดิ ขนึ้ ในบาน ใหแจง การตายภายในเวลาเทาใด ก. 24 ชัว่ โมง ข. 2 วนั ค. 3 วนั ง. 7 วัน 7. อาชีพลกู จา งอยใู นความคมุ ครองของกฎหมายใด ก. กฎหมายแพง ข. กฎหมายอาญา ค. กฎหมายครอบครวั ง. กฎหมายประกันสังคม 8. โทษสูงสดุ เกีย่ วกับคดียาเสพตดิ คืออะไร ก. จําคกุ 20 ป ข. จาํ คกุ 20 ป ทง้ั จําทงั้ ปรับ ค. จําคกุ ตลอดชวี ติ ง. ประหารชีวิต 56
9. ผูใดขาดคณุ สมบัติในการสมคั รเลอื กตงั้ เปนสมาชิกสภาผูแ ทนราษฎร ก. นายแดงจบการศกึ ษาระดับปริญญาตรี ข. นายแดงไมไ ปเลอื กต้ังทกุ คร้ัง ค. นายเขียวไปเลอื กตัง้ ทกุ ครงั้ ง. นายเขียวสังกดั พรรคการเมือง 10. ประเทศไทยปกครองระบอบประชาธปิ ไตยตงั้ แตป พ.ศ. อะไร ก. 2455 ค. 2465 ค. 2475 ง. 2485 กจิ กรรมที ให้ผ้เู รียนศึกษากรณตี วั อย่างอปุ สรรคการปกครองระบอบประชาธปิ ไตยของไทย แล้วนํามาแลกเปลยี นเรียนรู้ 57
เร่อื งที่ 10 การมีสวนรวมในการปอ งกันและปราบปรามการทุจรติ สังคมไทยใหความสําคัญกับเรื่องคุณธรรม จริยธรรม ความซื่อสัตยสุจริตมาต้ังแต โบราณจนถึงปจจุบัน มีสุภาษิตและคําพังเพยท่ีคนไทยใชสอนลูกหลานใหเปนคนดี มีความซ่ือสัตย ไมค ดโกงผอู ่ืนใหไดยนิ เสมอมา เชน “ซือ่ กนิ ไมหมด คดกนิ ไมนาน” “คนดตี กนํา้ ไมไ หล ตกไฟไมไ หม” “ทาํ ดีไดดี ทําชวั่ ไดชั่ว” “ทาํ ดีจะไดขน้ึ สวรรค ทําช่วั จะตกนรก” เปน ตน กระแสโลกาภิวัตนท่ีกําลังแพรระบาดท่ัวโลกรวมท้ังการไหลบาของสังคมและ วฒั นธรรมนานาชาตทิ ไ่ี มสามารถหยดุ ยง้ั ได ประกอบกับการพัฒนาอยา งรวดเร็วของโครงสรา งเศรษฐกิจ ทเ่ี จริญเติบโตอยา งรวดเรว็ สูภาคอุตสาหกรรม และการทอ งเทยี่ ว สง ผลใหประชาชนคนไทยถูกชักนําให หลงใหลไปสกู ารเปน นักวัตถุนยิ ม ตดิ ยึดอยกู บั วัฒนธรรมสมัยใหมทเี่ ปน ทาสของเงนิ ความมัง่ ค่งั มหี นามตี า ในสังคม ยกยองคนรวยมีอํานาจวาสนาโดยไมคํานึงถึงความเปนคนดีมีคุณธรรมและภูมิปญญา ทุมเท ใหก บั ความฟุงเฟอ ฟมุ เฟอย สุรุยสุราย ไมเหน็ ความสาํ คญั ของครอบครัว และสายใยผูกพันในครอบครัว เหมือนเดมิ มกี ารชงิ ดชี ิงเดนกนั รุนแรงท้ังในการทํางาน การดาํ รงชีวติ ในชมุ ชน ตลอดถงึ การเรยี นของเด็ก และเยาวชน ความเอ้ือเฟอเผื่อแผ ความเมตตาอารี การชวยเหลือเก้ือกูล สมัครสมานสามัคคี การพ่ึงพา อาศัยระหวางผูคน เพ่ือนบานในชุมชน และศรัทธาในพระศาสนาท่ีบรรพบุรุษเคยนับถือ เกือบไมมี ปรากฏใหเ หน็ ในวิธีการดํารงชีวิต พฤติกรรมท่ีเปนปญหาเหลาน้ีหลายคร้ังกลายเปนเร่ืองท่ีนิยมยกยอง ในสังคม เชน พอ แม ผูมฐี านะดีบางคนสง เสริมใหล กู หลานเท่ยี วเตรกอ ความวนุ วายแกส งั คม เชน ต้ังกลุม เด็กแวน กลุมเด็กตีกัน เปนตน หรือในภาคสวนของผูบริหารและนักการเมืองบางกลุมท่ีมีพฤติกรรม ไมถูกตองแตกลับไดรับการยกยองเชิดชูในสังคม เชน ผูที่มีอํานาจออกกฎหมายหรือโครงการเพื่อ ประโยชนของสงั คมสว นรวม แตเบ้ืองหลังกลับพบวา กฎหมายหรือโครงการเหลาน้ันไดมีการวางแผน ใหญาตพิ ี่นองหรอื พรรคพวกของตนมีโอกาสไดประโยชนมหาศาลท่ีเรียกกันวา ผลประโยชนทับซอน เปนที่ประจักษในปจจุบัน พฤติกรรมเหลาน้ีเกิดข้ึนบอยคร้ังและทวีความรุนแรงขึ้นทุกทีสงผลใหเกิด ปญหาทุจริตประพฤติมิชอบซึ่งเปนปญหาใหญและมีความสําคัญย่ิงตออนาคตของชาติบานเมืองท่ีตอง ไดร บั การแกไขเยียวยาโดยดวนทุกระดับและทุกภาคสวนของสังคม เปนเร่ืองที่ประชาชนจะตองรูเทา รูทัน มจี ิตสํานกึ และมีสวนรวมท่จี ะปองกัน แกไข ขจัดปญหาการทุจริตประพฤติมิชอบเหลานี้ใหลดลง และหมดไป สาํ นกั งานปองกันและปราบปรามการทุจริตแหงชาติ (ป.ป.ช.) ซึ่งมีอํานาจหนาท่ีในการ ปองกันและปราบปรามการทุจริตตามขอกําหนดของกฎหมายรัฐธรรมนูญไดกําหนดยุทธศาสตรและ มาตรการในการปอ งกนั และปราบปรามการทจุ รติ โดยใหประชาชนทุกภาคสวนมีสวนรวมในการเขาไป มีบทบาทในฐานะเปน สวนหนง่ึ ของผูด ําเนินการในกิจกรรมตาง ๆ โดยตองมีการวางระบบท่ีเปดโอกาส ใหประชาชนมีความกลาในการแสดงความคิดเห็น และกลาในการตัดสินใจโดยอยูในกรอบของ การเคารพสิทธ์ิของผูอื่น และสนับสนุนใหประชาชนรวมกันทํางานเปนเครือขายเพ่ือใหเกิดพลังสราง ความเขมแขง็ เช่อื มโยงกนั ทั้งระดับบุคคลและระดับองคกรเปนอันหนึ่งอันเดียวกันโดยมีผลประโยชน 58
ของสังคมเปนทต่ี ัง้ ในการสนับสนนุ สง เสรมิ ใหป ระชาชนมสี วนรวมในการตอ ตานการทุจริตคอรรัปช่ัน น้คี ณะกรรมการ ป.ป.ช. ไดก าํ หนดมาตรการเพ่อื การปฏบิ ตั ริ ว มกนั ไวด ังน้ี 1. สรางความตระหนักใหประชาชนมสี ว นรว มในการตอ ตา นการทจุ ริต 1.1 ปลูกจิตสํานึกและคานิยมการมีคุณธรรมจริยธรรมและการมีวินัยแกประชาชน ทุกภาคสวน สงเสริมการดํารงชีวิตตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง สงเสริมใหใชการศึกษาเปน เครือ่ งมอื ในการปลกู จิตสํานึกนักเรยี น นักศึกษา เยาวชน และประชาชน อยางตอเนื่อง 1.2 สง เสรมิ สนบั สนุนใหความเขมแข็งแกเครือขายการมีสวนรวมขององคกรตาง ๆ โดยเนนการประชาสัมพันธ การสรางขวัญและกําลังใจ การสงเสริมขอมูล และทักษะการทํางานดาน กฎหมาย การขยายเครอื ขาย การปอ งกนั และปราบปรามการทจุ ริตใหกระจายลงไปถึงระดบั รากหญา 1.3 สงเสริมความเปนอิสระและมีประสิทธิภาพแกองคกรที่มีหนาท่ีตรวจสอบ การทุจริตโดยเฉพาะสํานักงาน ป.ป.ช. ใหมีการถวงดุลอํานาจจากภาครัฐท่ีเก่ียวของทุกระดับโดย ปราศจากการแทรกแซงของอทิ ธพิ ลจากภาคการเมอื ง และภาคธรุ กจิ ราชการ 1.4 สง เสริมการสรา งมาตรฐานจรรยาบรรณวิชาชพี แกบคุ ลากรท่เี กีย่ วขอ งเพื่อใหเปน ท่ียอมรบั และมนั่ ใจขององคกรเครือขา ย 2. สรา งความเขาใจท่ถี ูกตอ งในเรื่องกฎหมายท่ีเกย่ี วของกบั การปองกันและปราบปราม การทจุ รติ คอรปั ช่ัน มกี ฎหมายทีเ่ ปนหลัก เชน 2.1 รัฐธรรมนูญแหง ราชอาณาจกั รไทย พทุ ธศกั ราช 2550 มาตรา 87 (3) ท่ีกําหนดให ประชาชนมบี ทบาทและมสี ว นรว มในกาตรวจสอบการใชอ าํ นาจรัฐอยา งเปน รูปธรรม 2.2 พระราชบัญญตั ิประกอบรัฐธรรมนูญวา ดว ยการปอ งกนั และปราบปรามการทุจริต พทุ ธศักราช 2542 (ฉบบั ที่ 2) พทุ ธศกั ราช 2554 มาตรา 19 (13) กาํ หนดใหค ณะกรรมการ ป.ป.ช. มีหนาท่ี สงเสรมิ ใหป ระชาชนหรอื กลมุ บุคคลมีสวนรวมในการปองกันและปราบปราม ทงั้ นีม้ ีรายละเอียดท่ีสามารถ ศกึ ษาคนควา ไดจ าก www.nacc.go.th (เวบ็ ไซตของ ป.ป.ช.) 3. กระตุนจติ สํานกึ การมสี วนรว มในการปองกันและปราบปรามการทจุ ริต เพอ่ื ใหผ เู รียนเกิดความเขาใจ ตระหนักและมีจิตสํานึกในการมีสวนรวม ท่ีจะปองกัน การทจุ ริตประพฤตมิ ิชอบในชมุ ชน และสงั คม หลกั สตู รการศกึ ษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 จงึ ไดกําหนดแนวทางการเรียนรู ในรูปแบบกรณีศึกษา ใหผูเรียนไดฝกทักษะการคิด วเิ คราะห การมสี ว นรว มในการแกปญหาการทจุ ริตรูปแบบตาง ๆ ดวยเจตนาท่ีจะใหผ เู รียนสามารถนําไป เปนแนวทางในการปฏิบัติ เพื่อประโยชนตอตนเอง ครอบครัว ชุมชน และสังคม จนเกิดการพัฒนา จิตสํานึกในการมีสวนรวมปองกันและปราบปรามการทุจริตได กิจกรรมท้ังหมดประกอบดวย 6 กรณีศกึ ษา ไดแ ก 1. เรอื่ ง “ใตโ ตะ หรอื บนโตะ ” 2. เรอ่ื ง “ทจุ รติ ” หรอื “คดิ ไมซอ่ื ” 59
3. เร่ือง “เจาบ๊กิ ...เปนเหต”ุ 4. เรื่อง “ฮั้ว” 5. เรื่อง “อาํ นาจ... ผลประโยชน” 6. เรอ่ื ง “เลอื กตง้ั ...อปั ยศ” ท้ังนี้ผูเรียนและผูสอนจะตองรวมมือกันนําขอมูลทั้งดาน วิชาการ ระเบียบ กฎหมาย ท่ีไดมีการสรุป รวบรวมไวใ นเอกสาร คูม ือการจดั กจิ กรรมการเรียนรู เรอ่ื ง การมีสวนรวมของประชาชนในการปองกัน และปราบปรามการทุจริต รวมกับขอมูลปญหาความตองการสภาพแวดลอม ของชุมชนทองถ่ิน และ คุณธรรม จริยธรรม ทต่ี นเองมอี ยูมาตัดสนิ ใจแกปญหาตา ง ๆ ใหลุลว งไปไดอ ยางเหมาะสมตอ ไป 60
กรณศี ึกษาเรอ่ื งท่ี 1 เรื่อง “ใตโ ตะ หรอื บนโตะ” วตั ถุประสงค 1. บอกคุณธรรมในการปฏิบตั ิงานได 2. บอกวธิ ีการปอ งกนั การทุจริตในการปฏิบตั ิงานได 3. เกิดจิตสํานึกในการปองกันการทุจริต เน้อื หาสาระ 1. พระราชบัญญตั ิจราจรทางบก ฉบบั 8 พ.ศ. 2551 2. คุณธรรม จริยธรรมของผูป ฏิบัตงิ าน กรณศี กึ ษา นายนภดล ขับรถกระบะจากบานพักไปโรงพยาบาลในกรุงเทพ เพื่อไปเย่ียมแมที่ ประสบอุบัตเิ หตุ อาการเปนตายเทา กันอยูในหอ ง ICU ขณะขบั รถผา นส่แี ยกไฟแดง ดว ยความรอ นใจและ เห็นวาไมมีรถอน่ื ในบรเิ วณนั้นเลย ทาํ ใหน ายนภดลตัดสินใจขับรถฝาไฟแดง ตํารวจที่อยูบริเวณนั้นเรียก ใหห ยดุ และขอตรวจใบขับขี่ นายนภดลจึงไดแอบสง เงินจํานวนหนึ่งใหแกตํารวจ เพ่ือจะไดไมเสียเวลา ใหต ํารวจเขียนใบสั่งและตอ งไปจายคา ปรับท่ีสถานีตาํ รวจ หลงั จากนัน้ ตาํ รวจไดปลอยนายนภดลไป ประเด็น 1. ทานคิดวาการที่นายนภดลขับรถผาไฟแดงดวยเหตุผลเพื่อจะรีบไปเย่ียมแมที่ประสบ อุบัติเหตอุ ยใู นหอ ง ICU เปน การปฏบิ ตั ิท่ถี ูกตองหรอื ไม เพราะอะไร 2. ถาทานเปนนายนภดล จะมวี ิธปี ฏบิ ัตอิ ยา งไรในกรณีดังกลาวใหถูกตองตามกฎหมาย หนาท่ี พลเมืองและคณุ ธรรมจริยธรรม 3. ตํารวจท่ีรับเงินที่นายนภดลแอบให เพื่อที่จะไมตองเสียคาปรับ ไดช่ือวาเปนการกระทํา ท่ีทจุ ริตผิดกฎหมาย หรอื คอรรัปชน่ั อยางไร 4. ในฐานะที่เปนประชาชน ทานคิดวา จะมีสวนหรือมีบทบาทในการปองกันพฤติกรรม ทีเ่ กิดข้ึนไดห รือไม อยางไร ใบความรู เรื่อง พระราชบญั ญัติจราจรทางบก ฉบับ 8 พ.ศ. 2551 61
ใบงาน 1. ใหผ เู รียนศกึ ษากรณีศึกษา 2. แบงกลมุ อภปิ ราย แสดงความคิดเห็น ตามประเด็นทก่ี าํ หนดให 3. ใหผ ูสอนและผูเ รยี นรว มกันศึกษาหาขอมูลประกอบการอภปิ รายหาเหตุผล 4. ใหผสู อนและผูเรยี นสรุปแนวคิดทไ่ี ดจ ากการอภิปรายรว มกนั 5. ใหผเู รยี นรวมทํากิจกรรมการเรยี นรตู อ เน่ือง พรอ มสรุปรายงานผล กิจกรรมการเรยี นรูตอเนอ่ื ง 1. ใหผูเรียนสมั ภาษณประชาชนท่ัวไปและตาํ รวจ ทั้งรายบคุ คลและชมุ ชน (กลุม ) ถงึ ความคิดเห็น ความรูสึก เจตคตทิ ีเ่ กี่ยวขอ งกบั ปญ หาเหลา นี้ ตลอดจนถงึ วธิ ีแกไ ข แลว ทาํ เปนรายงานเสนอ ผูสอน 2. ใหผเู รียนตัดขาวหนังสอื พมิ พใ นเรอ่ื งดงั กลา ว และเสนอแนวทางแกไขทําเปนรายงานเสนอ ผูสอน 3. สรุปขา วโทรทศั นปญหาทจุ รติ ขาดคณุ ธรรม พรอ มเสนอทางออกในการแกไ ขปญหาน้ัน ๆ สื่อ/แหลงคนควา 1. สาํ นกั งาน ป.ป.ช. ประจาํ จงั หวดั 2. ส่ือ Internet 3. หนังสอื พิมพ 4. โทรทัศน 62
ใบความรู พระราชบญั ญัตจิ ราจรทางบก ไดมกี ารแกไข ปรับเปลย่ี น และยกเลกิ บางขอกําหนดแลว ทงั้ หมด 8 ฉบบั และฉบบั ลาสดุ คอื พระราชบญั ญัตจิ ราจรทางบก ฉบับ 8 พ.ศ. 2551 ไดก าํ หนดอัตรา ความเร็วของยานพาหนะ ดงั รายละเอียดตอ ไปน้ี อตั ราความเร็วของยานพาหนะตามพระราชบญั ญตั จิ ราจรทางบก ฉบับ 8 พ.ศ. 2551 ในกรณีปกตใิ หก ําหนดความเรว็ ของรถดังตอ ไปนี้ 1. สําหรบั รถบรรทกุ ทีม่ ีน้าํ หนกั รถรวมท้ังนา้ํ หนกั บรรทกุ เกิน 1,200 กโิ ลกรัมหรือรถบรรทกุ คนโดยสาร ใหข ับในเขตกรุงเทพมหานคร เขตเมอื งพัทยา หรอื เขตเทศบาลไมเกนิ 60 กิโลเมตรตอ ชวั่ โมง หรือนอกเขตดังกลาวใหขบั ไมเกิน 60 กโิ ลเมตรตอ ชวั่ โมง 2. สําหรบั รถยนตอืน่ นอกจากรถทร่ี ะบุไวใ น 1 ขณะท่ีลากจงู รถพว งรถยนตบ รรทกุ ท่ีมีนํ้าหนกั รถรวมทงั้ น้าํ หนกั บรรทกุ เกิน1,200 กโิ ลกรมั หรือรถยนตส ามลอ ใหขับในเขต กรงุ เทพมหานคร เขตเมืองพัทยา หรือเขตเทศบาล ไมเ กนิ 45 กโิ ลเมตรตอช่วั โมง หรือ นอกเขตดงั กลาวใหขบั ไมเกิน 60 กโิ ลเมตรตอ ชว่ั โมง 3. สําหรบั รถยนตอ ่ืนนอกจากรถที่ระบุไวใน 1 หรือ 2 หรือรถจักรยานยนต ใหขับในเขต กรงุ เทพมหานคร เขตเมอื งพทั ยา หรือเขตเทศบาล ไมเกนิ 80 กิโลเมตรตอช่วั โมง หรอื นอกเขตดงั กลา วใหข ับไมเ กนิ 90 กิโลเมตรตอชวั่ โมง ในเขตทางท่มี เี ครือ่ งหมายจราจรแสดงวา เปน เขตอนั ตรายหรอื เขตใหข ับรถชา ๆ ใหล ด ความเร็วลงและเพ่มิ ความระมัดระวงั ขน้ึ ตามสมควร ในกรณีท่มี ีเครื่องหมายจราจรกําหนดอตั ราความเรว็ ตาํ่ กวาทกี่ าํ หนดในขา งตน ใหข บั ไมเกนิ อตั ราความเรว็ ทีก่ ําหนดไวน น้ั ขอหาหรอื ฐานความผิดตามกฎหมายท่คี วรทราบ ขอ หา ฐานความผดิ บทมาตรา และอัตราโทษ ตาม พ.ร.บ.จราจรทางบก พ.ศ. 2522 (แกไขเพ่ิมเติม ถึง พ.ศ. 2538) และการเปรียบเทียบปรับผกู ระทําผิดน้ัน ใหเ ปนไปตามขอกาํ หนดของสาํ นักงานตํารวจแหง ชาติ (กรมตํารวจ) ฉบบั ท่ี 3 ลงวันท่ี 9 ก.ค. 40 และเพม่ิ เติมฉบบั ท่ี 4 ลงวนั ท่ี 3 ธ.ค. 2540 ตามลําดบั 63
ลําดบั ขอหาหรอื ฐานความผดิ อัตราโทษ อตั ราตาม ขอกําหนด 1 นํารถทไ่ี มม นั่ คงแข็งแรงอาจเกดิ อนั ตรายหรือ ปรบั ไมเ กิน 500 บาท ปรับ 200 บาท ทําใหเส่อื มเสยี สุขภาพอนามัย มาใชใน ทางเดนิ รถ 2 นาํ รถทไ่ี มต ดิ แผน ปายทะเบยี นมาใชใ น ปรับไมเ กิน 1,000 บาท ปรับ 300 บาท ทางเดนิ รถ 3 นาํ รถทเ่ี ครื่องยนตก อใหเ กดิ กาซ ฝุนควนั ปรบั ไมเ กนิ 1,000 บาท ปรับ 500 บาท ละอองเคมี เกนิ เกณฑท่อี ธบิ ดกี ําหนดมาใชใน ทางเดนิ รถ 4 นํารถทเี่ คร่ืองยนตก อใหเกดิ เสียงเกนิ เกณฑท่ี ปรบั ไมเ กิน 1,000 บาท ปรับ 500 บาท อธบิ ดกี าํ หนดมาใช ในทางเดนิ รถ 5 ขับรถในทางไมเปด ไฟ หรอื ใชแ สงสวา งใน ปรบั ไมเกิน 1,000 บาท ปรับ 200 บาท เวลาที่มีแสงสวางไมเ พยี งพอที่จะมองเห็นคน รถ หรอื สง่ิ กีดขวาง ในทางไดโดยชดั แจง ภายในระยะ 150 เมตร 6 ใชส ัญญาณไฟวับวาบผดิ เงื่อนไขท่ีอธบิ ดี ปรบั ไมเกนิ 500 บาท ปรับ 300 บาท กาํ หนด 7 ขบั รถบรรทกุ ของยนื่ เกนิ ความยาวของตัวรถใน ปรับไมเกนิ 1,000 บาท ปรบั 300 บาท ทางเดิน รถไมติดธงสีแดง ไวต อนปลายสุดให มองเห็นไดภ ายในระยะ 150 เมตร 8 ขับรถบรรทกุ วตั ถุระเบดิ หรือ วตั ถุอันตรายไม จาํ คุกไมเ กนิ 1 เดือน หรือ ปรบั 300 บาท จดั ใหม ีปายแสดงถงึ วตั ถุ ท่ีบรรทุก ปรบั ไมเ กนิ 2,000 บาท หรอื ท้ังจําทงั้ ปรบั 9 ขับรถไมจ ัดใหมีสิ่งปอ งกนั มใิ หคน สตั ว หรอื ปรบั ไมเ กนิ 500 บาท ปรับ 200 บาท สง่ิ ของท่บี รรทกุ ตกหลน รวั่ ไหล สงกลนิ่ สอ ง แสงสะทอน หรอื ปลวิ ไปจาก รถอันอาจกอ เหตุ เดอื ดรอนรําคาญ ทําใหท างสกปรกเปรอะเปอ น ทําใหเสอ่ื มเสยี สุขภาพ อนามัย แกป ระชาชน หรอื กอ ใหเ กิดอันตรายแกบ ุคคลหรอื ทรพั ยส ิน 64
ลําดบั ขอ หาหรอื ฐานความผิด อตั ราโทษ อัตราตาม ขอ กําหนด 10 ขบั รถไมปฏบิ ัติตามสัญญาณจราจร หรือ ปรบั ไมเกิน 1,000 บาท ปรบั 300 บาท เครื่องหมายจราจรทไ่ี ดติดต้ังไวห รอื ทําให ปรบั 300 บาท ปรบั 300 บาท ปรากฏ ในทาง หรอื ทพี่ นกั งานเจาหนาท่แี สดง ใหทราบ 11 ขบั รถฝา ฝน สญั ญาณไฟแดง ปรับไมเ กนิ 1,000 บาท 12 ไมห ยดุ รถหลงั เสน ใหร ถหยดุ เม่ือมีสัญญาณ ปรบั ไมเกิน 1,000 บาท ไฟแดง 65
กรณีศึกษาเร่ืองที่ 2 เรอ่ื ง “ทุจริต” หรอื “คดิ ไมซ อื่ ” วตั ถปุ ระสงค 1. บอกแนวทางในการเสรมิ สรางคณุ ธรรมได 2. ใชค ณุ ธรรมในการปฏบิ ัตติ นเพอ่ื ปอ งกนั การทจุ รติ ได 3. เกดิ จติ สํานกึ ในการปองกนั การทจุ ริต เนอื้ หาสาระ 1. ระเบียบกระทรวงศกึ ษาธิการวาดว ยการปฏบิ ตั ขิ องผเู ขาสอบ พ.ศ. 2548 และ ฉบับท่ี 2 พ.ศ. 2555 2. คณุ ธรรมในการครองตนในการดาํ เนนิ ชวี ติ กรณีศึกษา นางสาวรงุ ฤดี อายุ 22 ป ประกอบอาชพี รับจา งในโรงงาน หาเลี้ยงครอบครัว ฐานะทางบาน ยากจนและไมไดเรียนหนังสือ ดวยความเปนคนมีมานะ และใฝเรียน จึงไดสมัครเรียน กศน. ภาคเรียนนี้เปนภาคเรียนสุดทายที่จะจบมัธยมศึกษาตอนปลาย เมื่อเรียนจบ ม.ปลายแลว เธอจะไดรับ เงินเดอื นเพ่มิ ข้ึนและมโี อกาสไดร ับการพิจารณาใหเลอ่ื นเปน หวั หนา งาน ดวยความกลวั วา จะสอบไมผ าน และจะไมสามารถนําวฒุ ิไปปรบั ตาํ แหนงและเงินเดือนใหสงู ขึ้นได นางสาวรงุ ฤดี จงึ ไดทาํ การลักลอบจด สูตรคณิตศาสตร และนําเครื่องคิดเลขเขาไปในหองสอบ แตบังเอิญกรรมการคุมสอบจับได และปรับ ไมผ า นการสอบครัง้ นัน้ ประเด็น 1. ถาทา นเปนนางสาวรุงฤดี และมีความตองการเล่ือนขั้นเงินเดือนและตําแหนง แตก็มีความ วติ กกงั วลวาจะสอบไมผา น ทา นจะปฏิบัตเิ ชนเดียวกับนางสาวรุงฤดหี รอื ไม เพราะเหตใุ ด 2. การตัดสินใจทําการทุจริตของนางสาวรุงฤดี จะกอใหเกิดปญหา และผลกระทบตอการ ทํางานของตนหรือไม อยางไร 3. นางสาวรุงฤดี ควรจะมกี ารใชคณุ ธรรมขอ ใดหรอื ไม ในการนาํ มาแกป ญหาของตนโดยไมท าํ การทุจริต 66
ใบความรู เรื่อง ระเบยี บกระทรวงศึกษาธิการวา ดว ยการปฏิบตั ขิ องผูเขาสอบ พ.ศ. 2548 และ ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2555 ใบงาน 1. ใหผ เู รยี นศึกษากรณศี กึ ษา 2. แบงกลุมอภปิ ราย แสดงความคิดเห็น ตามประเดน็ ทกี่ าํ หนดให 3. ใหผูสอนและผเู รยี นรวมกันศกึ ษาหาขอมลู ประกอบการอภิปรายหาเหตผุ ล 4. ใหผ สู อนและผูเรียนสรุปแนวคิดทีไ่ ดจากการอภปิ รายรว มกนั 5. ใหผ เู รยี นรว มทํากจิ กรรมการเรยี นรูตอเนอ่ื ง พรอ มสรปุ รายงานผล กจิ กรรมการเรียนรูตอเนอ่ื ง 1. ใหผูเรียนกําหนดแนวทางการเสริมสรางคุณธรรมใหกับคนในชุมชน สังคม เพื่อปองกัน การทจุ ริต 2. ใหผูเ รยี นรว มกันอภิปรายถงึ ปญหาและผลกระทบของการทจุ ริตตอบคุ คล ชุมชน และสังคม พรอ มสรุปผลการอภปิ ราย และบันทึกลงในสมุด ส่ือ/แหลงคน ควา 1. เอกสารวิชาการ เรอ่ื ง ระเบยี บกระทรวงศกึ ษาธกิ ารวา ดว ย การปฏิบตั ิของผเู ขา สอบ พ.ศ. 2548 และ ฉบับท่ี 2 พ.ศ. 2555 2. สอ่ื Internet 67
ใบความรู ระเบยี บกระทรวงศึกษาธกิ าร วาดวยการปฏบิ ตั ขิ องผเู ขา สอบ พ.ศ. 2548 โดยท่ีเห็นสมควรปรบั ปรุงระเบยี บกระทรวงศกึ ษาธิการวาดวยการปฏิบัตขิ องผูเขา สอบใหเ หมาะสม ย่งิ ขึน้ อาศัยอาํ นาจตามความในมาตรา 12 แหงพระราชบัญญัตริ ะเบียบบริหารราชการกระทรวงศกึ ษาธกิ าร พ.ศ. 2546 รัฐมนตรวี าการกระทรวงศกึ ษาธิการจงึ วางระเบยี บไวดังตอ ไปนี้ ขอ 1 ระเบียบน้ีเรียกวา “ระเบียบกระทรวงศึกษาธิการ วาดวยการปฏิบัติของผูเขาสอบ พ.ศ. 2548” ขอ 2 ระเบียบนใี้ หใ ชบ งั คบั ตัง้ แตว นั ถัดจากวันประกาศเปน ตน ไป ขอ 3 ใหย กเลกิ ระเบยี บกระทรวงศึกษาธิการ วาดวยการปฏิบัติของผูเขาสอบ พ.ศ. 2506 ระเบียบนี้ ใหใชบังคับแกผูเขาสอบ สําหรับการสอบทุกประเภทในสวนราชการและสถานศึกษาสังกัด กระทรวงศึกษาธิการ และใหหมายความรวมถึงผูเขาสอบในสถานศึกษา ที่อยูในกํากับดูแล หรือ สถานศึกษาที่อยูในความควบคุมของกระทรวงศึกษาธิการ ยกเวนสถาบันอุดมศึกษาของรัฐ และ สถาบันอุดมศึกษาเอกชน ขอ 4 ผูเขาสอบตอ งปฏบิ ัตดิ ังตอ ไปน้ี 4.1 การแตงกาย ถาเปนนักเรียนหรือนักศึกษาตองแตงเครื่องแบบนักเรียนหรือนักศึกษา แลว แตก รณี ถา เปน ผสู มัครสอบตอ งแตง ใหส ุภาพเรียบรอ ยตามประเพณนี ิยม 4.2 ผเู ขาสอบจะตองถอื เปน หนา ทีท่ ีจ่ ะตอ งตรวจสอบใหทราบวา สถานที่สอบอยู ณ ท่ีใด หองใด 4.3 ไปถงึ สถานที่สอบกอ นเวลาเรมิ่ สอบตามสมควร ผใู ดไปไมทันเวลา ลงมือสอบวิชาใด ไมม ีสิทธเิ ขา สอบวชิ านัน้ แตส ําหรับการสอบวชิ าแรกในตอนเชาของแตละวัน ผูใดเขาหองสอบหลังจาก เวลาลงมือสอบแลว 15 นาที จะไมไดรับอนุญาตใหสอบวิชานั้น เวนแตมีเหตุความจําเปนใหอยูใน ดลุ พนิ จิ ของประธานดําเนนิ การสอบพิจารณาอนุญาต 4.4 ไมเขาหอ งสอบกอนไดร บั อนุญาต 4.5 ไมน าํ เอกสาร เครื่องอเิ ลก็ ทรอนิกส หรอื เคร่ืองส่อื สารใด ๆ เขา ไปในหอ งสอบ 4.6 นงั่ ตามท่กี าํ หนดให จะเปลี่ยนทน่ี งั่ กอ นไดร บั อนุญาตไมได 4.7 ปฏิบตั ติ ามระเบียบเก่ียวกับการสอบ และคําสัง่ ของผกู าํ กบั การสอบ โดยไมท ุจรติ ใน การสอบ 4.8 มใิ หผเู ขา สอบคนอน่ื คัดลอกคําตอบของตน รวมท้งั ไมพูดคุยกับผูใดในเวลาสอบ เมื่อมี ขอสงสยั หรือมเี หตุความจําเปน ใหแจงตอผูกาํ กบั การสอบ 4.9 ประพฤติตนเปนสุภาพชน 68
4.10 ผูใดสอบเสร็จกอน ผูน้ันตองออกไปหางจากหองสอบ และไมกระทําการใด ๆ อันเปนการรบกวนแกผูที่ยังสอบอยู แตทั้งน้ีผูเขาสอบทุกคนจะออกจากหองสอบกอนเวลา 20 นาที หลงั จากเรมิ่ สอบวชิ านน้ั ไมไ ด 4.11 ไมนาํ กระดาษสําหรบั เขยี นคาํ ตอบทีผ่ กู ํากบั การสอบแจกใหออกไปจากหองสอบ ขอ 5 ผเู ขาสอบผใู ดกระทาํ การฝาฝน ระเบยี บขอ 4 หรอื พยายามกระทําการทุจริตในการสอบวิชาใด ใหผูกํากับการสอบวากลาวตักเตือน ถาการกระทําดังกลาวในวรรคแรกเขาลักษณะรายแรง เมื่อได สอบสวนแลว ประธานกรรมการ หรอื ผมู อี าํ นาจหนาท่ีในการจดั การสอบมีอํานาจส่ังไมใหผูน้ันเขาสอบ วชิ านน้ั หรอื สั่งไมตรวจคาํ ตอบวชิ านน้ั ของผนู ัน้ โดยถือวาสอบไมผ า นเฉพาะวิชาก็ได ขอ 6 ผูเขาสอบผูใดกระทําการทุจริตในการสอบวิชาใด เมื่อไดสอบสวนแลวใหประธาน กรรมการหรอื ผมู ีอํานาจหนาท่ใี นการจดั การสอบ สง่ั ไมตรวจคาํ ตอบและถือวาผูน้ัน สอบไมผานวิชานั้น ในการสอบคราวนน้ั ขอ 7 ในกรณีทจุ ริตในการสอบดวยวธิ คี ดั ลอกคําตอบระหวา งผูเ ขาสอบดว ยกัน ใหส นั นษิ ฐานไว กอ นวาผเู ขาสอบนั้นไดส มคบกันกระทําการทุจรติ ขอ 8 ใหป ลดั กระทรวงศกึ ษาธิการรกั ษาการใหเปน ไปตามระเบียบน้ี ประกาศ ณ วันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2548 (นายจาตรุ นต ฉายแสง) รัฐมนตรีวา การกระทรวงศึกษาธกิ าร 69
ระเบียบกระทรวงศกึ ษาธกิ าร วา ดวยการปฏิบัตขิ องผเู ขาสอบ (ฉบบั ท่ี 2) พ.ศ. 2555 โดยทีเ่ หน็ สมควรแกไขเพ่มิ เติมระเบียบกระทรวงศกึ ษาธกิ ารวาดวยการปฏบิ ัตขิ องผเู ขา สอบ พ.ศ. 2548 ใหมีความเหมาะสมยง่ิ ขึน้ อาศยั อํานาจตามความในมาตรา 12 แหง พระราชบัญญัติระเบียบบรหิ ารราชการกระทรวงศกึ ษาธกิ าร พ.ศ. 2546 รฐั มนตรวี า การกระทรวงศกึ ษาธกิ าร จึงวางระเบียบไว ดังตอ ไปนี้ 1. ระเบียบนี้เรียกวา “ระเบยี บกระทรวงศกึ ษาธกิ ารวา ดวยการปฏิบตั ขิ องผเู ขา สอบ (ฉบบั ที่ 2) พ.ศ. 2555” 2. ระเบยี บนี้ใหใ ชบ งั คับต้งั แตวนั ประกาศเปน ตน ไป 3. ใหยกเลิกความใน 4.10 ของขอ 4 แหง ระเบยี บกระทรวงศกึ ษาธกิ ารวาดว ยการปฏบิ ัตขิ องผเู ขา สอบ พ.ศ. 2548 และใหใชความตอไปน้แี ทน “4.10 ตอ งนั่งอยใู นหองสอบจนหมดเวลาทําขอสอบ” ประกาศ ณ วันที่ 22 มถิ ุนายน พ.ศ. 2555 (ศาสตราจารยส ชุ าติ ธาดาธาํ รงเวช) รฐั มนตรวี า การกระทรวงศึกษาธิการ 70
กรณีศึกษาเร่อื งท่ี 3 เรอ่ื ง “เจาบก๊ิ ...เปนเหตุ” วตั ถุประสงค 1. ระบุปญ หาทเี่ กิดจากการทจุ ริตจากการใชอ ํานาจหนาทีใ่ นทางที่ไมถ ูกตองเกดิ ข้นึ ใน หนวยงานราชการ 2. บอกวธิ ีปอ งกนั การทุจรติ เนือ่ งมาจากการใชอาํ นาจหนา ทใ่ี นทางที่ไมถ กู ตองในหนว ยงาน 3. มีสว นรวมในการปองกนั การทจุ ริตในหนว ยงาน 4. มจี ติ สาํ นึกในการปองกนั การทจุ ริตในหนวยงานราชการ เนือ้ หาสาระ 1. กฎหมายท่เี กีย่ วของกบั การทจุ รติ จากการปฏิบัติหนา ท่ี 2. คณุ ธรรมในการทาํ งานเพ่ือปองกนั หรอื หลกี เลย่ี งการทจุ รติ 3. หนว ยงานทเ่ี กย่ี วขอ งการรบั การรองเรยี นการทจุ ริต กรณศี กึ ษา มีหนวยงานแหงหนงึ่ มหี นา ที่กอ สรางถนน ตอ งมีเครื่องจักรกลหนักไวใชงานจํานวนมาก ตองถูกใชงานอยางสมบุกสมบัน ในที่สุดก็หมดสภาพตามอายุการใชงาน บรรดาเคร่ืองจักรกลหนักมี “เจา บก๊ิ ” รถแทรกเตอรเกา ทถี่ ูกใชง านหนักมาเปนเวลานานหลายป มีปญหาเคร่ืองเสีย ใชงานไมไดตอง จอดน่ิงอยูในโรงเก็บรถ แตหัวหนาพัสดุที่มีหนาท่ีควบคุมดูแลเคร่ืองจักร และจัดซ้ือเบิกจาย คาน้ํามัน เชอื้ เพลิง เกิดความคิดทจ่ี ะใช “เจาบก๊ิ ” เปน แหลงหารายไดโดยส่ังใหเจาหนาที่พัสดุทําการเบิกคาน้ํามัน และคาอะไหลตาง ๆ เพ่ือใชซอมแซมให “เจาบิ๊ก” ทุกเดือน ซ่ึงคนขับรถทุกคนรูเรื่องนี้ดีแตก็ไมกลา คดั คา น และหัวหนา พัสดุไดนํารายไดท ร่ี วบรวมไดจาก “เจาบิ๊ก” มาแจกจายใหลูกนองทุกคนเทา ๆ กัน จนกระท่ัง 3 ปผ านไป มีเจา หนา ท่พี สั ดุมาใหมไ มยอมทาํ ตามหวั หนา พสั ดุ ทีใ่ หเบิกจายคาน้ํามันเช้ือเพลิง คา อะไหลตาง ๆ ให “เจาบิ๊ก” เหมือนเคย โดยไดทําบันทึกตอบโตใหรูถึงสภาพ “เจาบิ๊ก” ท่ีไมสามารถ ทํางานไดแลว ไมมีความจําเปนท่ีจะตองเบิกจายคาใชจายใด ๆ และไดรวบรวมหลักฐานยอนหลัง การเบิกจายตาง ๆ นําไปรอ งเรียนยงั ป.ป.ช. 71
ประเดน็ 1. การกระทาํ ของหัวหนา พัสดุถอื วา เปน การทุจรติ จากการใชอํานาจหนาที่หรือไม เพราะเหตุใด มผี ลเสยี ตอราชการอยางไร 2. การท่ีหัวหนาพสั ดุนาํ รายไดที่ไดจ ากการเบิกคาน้ํามนั ให “เจา บ๊ิก” มาแจกจา ยใหลูกนอง ถือวาเปนผูมีคุณธรรมในการปฏิบัติหนาที่หรือไม ถาทานเปนลูกนองคนหนึ่งจะรับเงิน สวนแบงดังกลาวหรอื ไม เพราะเหตุใด 3. ถาทานเปนเจาหนาท่ีพัสดุมารับรูพฤติกรรมของหัวหนาพัสดุ ทั้งการเบิกจายคาน้ํามันให “เจา บิ๊ก” และการนาํ รายไดมาแบงเฉลี่ยใหลูกนองทุกคน ทานจะน่ิงเสียไมเขาไปเกี่ยวของ หรือทานจะทําเรื่องรองเรียน ป.ป.ช. โดยไมคํานึงถึงความเดือดรอนของเพื่อนรวมงาน เพราะเหตุใด ใบงาน 1. ใหผูเ รียนศกึ ษากรณศี กึ ษา 2. แบงกลุมอภปิ ราย แสดงความคิดเหน็ ตามประเด็นท่ีกาํ หนดให 3. ใหผ ูสอนและผเู รียนรว มกนั ศกึ ษาหาขอมูลประกอบการอภิปรายหาเหตุผล 4. ใหผูสอนและผูเรียนสรุปแนวคิดทไ่ี ดจากการอภิปรายรว มกัน 5. ใหผ เู รียนรวมทํากิจกรรมการเรียนรตู อเนอ่ื ง พรอ มสรปุ รายงานผล กจิ กรรมการเรียนรตู อ เนอื่ ง ใหผูเรียนรวมกันจัดทํากิจกรรม/โครงงาน ในการรณรงคการปองปรามการทุจริตในชุมชน พรอ มจัดทําสรปุ รายงานเสนอผูสอน สือ่ /แหลงคน ควา 1. ผรู ูเรื่องระเบียบงานพสั ดุ 2. หนงั สอื /เอกสารวิชาการ 3. สื่อ Internet 72
กรณีศึกษาเรอื่ งท่ี 4 เรือ่ ง “ฮว้ั ” วัตถปุ ระสงค 1. ตระหนกั ถึงปญ หาการทจุ รติ กรณฮี ว้ั ประมลู 2. บอกไดว า ตนเองสามารถมสี วนรว มในการปอ งกนั การทจุ ริตการฮั้วประมลู 3. แสดงความเหน็ หรอื เสนอวธิ ีการการมีสว นรวมในการปอ งกัน หรอื ปฏบิ ตั เิ พอื่ ปอ งกนั การทจุ รติ ที่เกดิ ขึ้นได เนอ้ื หาสาระ 1. ชองทางการสง เรอื่ งรอ งเรยี นการทจุ ริต 2. การมสี ว นรว มของประชาชน กรณีศกึ ษา ก ร ณี อ ง ค ก า ร บ ริ ห า ร ส ว น ตํ า บ ลแ ห ง ห นึ่ ง ไ ด ดํ า เ นิ น ก า ร สอ บ ร า ค า ก า ร จั ด จ า ง ทํ า อาหารกลางวนั ใหก บั ศูนยเด็กเล็ก โดยการสอบราคาครงั้ นี้อยูใ นวงเงนิ 500,000 บาท ปรากฏวามีผูเขาซ้ือ ซองสอบราคา และเขา ย่ืนซองสอบราคา ท้ัง 5 ราย แตท้ัง 5 รายนั้นมีการสมยอมราคา (ฮ้ัว) กันมากอน แลว วา ใน 5 ราย จะตอ งยื่นซองรายการตางกันในวงเงนิ ไมเ กินรายละ 5,000บาท ผูทีไ่ ดร บั การคดั เลือกให เปนคูส ัญญาจะจายใหอีก 4 ราย ๆ ละ 5,000บาท ทันทีหลังจากเสร็จสิ้นการจัดจางกรณีดังกลาว ผูชนะ การสอบราคา คือ นางสมศรี ประเด็น 1. พฤติกรรมของนางสมศรี และผูย ื่นเสนอราคาอีก 4 ราย ถอื วา เปน การกระทําผิดกฎหมาย การสอบราคา (ฮั้ว) หรือไม เพราะเหตใุ ด 2. ถาทานเปนเจา หนา ท่ีดําเนนิ การสอบราคาครง้ั นี้ ทา นจะปฏบิ ตั อิ ยางไร ทา นจะยกเลกิ การสอบราคา หรอื ยอมรบั การสอบราคา เพราะเหตใุ ด อาศยั ระเบยี บกฎหมายเร่อื งใด 3. การสอบราคา (ฮวั้ ) ทาํ ใหร าชการเสยี หายหรือไมอยางไร ในฐานะประชาชนทา นจะมีแนวคดิ แนวทางอยางไรในการมสี ว นรว มแกไขปญหาและสาเหตกุ ารสอบราคา (ฮัว้ ) ของทางราชการ ใบงาน 1. ใหผ ูเรยี นศกึ ษากรณีศกึ ษา 2. แบง กลุม ผูเรียนรวมกนั อภปิ รายตามประเดน็ ที่กาํ หนด 3. ใหผ เู รียนสรุปผลการอภิปราย และจัดทําเปนรายงานนาํ เสนอ 73
กิจกรรมการเรียนรตู อ เนอ่ื ง 1. ใหผเู รียนสืบคน ขอมลู ที่เก่ียวขอ งกับการประทําความผิดตามกฎหมายทจุ ริตคอรร ปั ชั่น และ นาํ เสนอรายงาน 2. ใหผ ูเรียนนําเสนอแนวทางการปอ งกนั การทุจรติ ในกรณกี ารฮ้ัวประมลู พรอ มจัดทํารายงาน เสนอผูส อน ส่อื /แหลง คน ควา - หนังสอื , หนงั สือพมิ พ - สอ่ื Internet - บทความ 74
กรณีศกึ ษา เรื่องที่ 5 เรอื่ ง “อาํ นาจ...ผลประโยชน” วัตถปุ ระสงค 1. ตระหนกั รถู งึ ปญหาการทจุ รติ คอรร ัปชัน่ ในองคก รปกครองสว นทอ งถนิ่ 2. บอกไดวาระดบั บุคคลและสังคม สามารถมสี ว นรว มในการปองกันปญ หาการทุจรติ คอรรปั ชน่ั ได 3. บอกวธิ กี ารปอ งกนั และหลักเลย่ี งการทจุ รติ คอรร ัปช่นั ในหนว ยงานราชการ 4. เกิดจิตสาํ นกั ในการปองกันปญ หาทจุ รติ คอรรปั ช่นั เน้ือหา 1. กฎหมายทเี่ กย่ี วของกบั การปฏิบัติหนาที่ 2. หนวยงานรับแจง เหตุการณทจุ รติ คอรร ัปชนั่ กรณศี กึ ษา นายกองคการบริหารสวนจังหวัด (อบจ.) มีหนาที่รับผิดชอบในการบริหารราชการของ อบจ. ไดเสนอญัตติใชเงินสะสมในการจัดทําโครงการจัดหามุงไวใชปองกันโรคไขเลือดออกในเขตอําเภอ ทีม่ กี ารแพรระบาดของโรคไขเ ลอื ดออก จาํ นวน 9,250 หลัง วงเงิน 1,850,000 บาท ตอ สภา อบจ. และ เมื่อไดรับการอนุมัตินายก อบจ.ไดรวมมือกับนาย ก ซ่ึงเปนเจาหนาท่ี อบจ. ดําเนินการจัดซ้ือมุง ขนาด 2 2 เมตร ซึ่งเปน ขนาดทีไ่ มม จี ําหนวยในทองตลาดทว่ั ไป โดยนาย ก ไดไปติดตอรานคาใหผลิต มงุ ขนาดทต่ี องการ ตามจํานวนดังกลาว ในราคาหลังละ 88.50 บาท เปนเงิน 818,625 บาท หลังจากนั้น นาย ก ไดดําเนินการจดทะเบียนรานคาใหมเพื่อผลิตมุงดังกลาวไปใชย่ืนซองสอบราคาตอ อบจ. และ ไดรับการพิจารณาใหเปนคูสัญญากับ อบจ. ในวงเงิน 1,832,500 บาท จากเหตุการณน้ีเปนเหตุให ทางราชการไดรับความเสียหายจากการซื้อมงุ ในราคาสูงกวาความเปนจริง หลังหักภาษีแลว เปนจํานวน 994,560 บาท 75
ประเดน็ 1. การปฏบิ ัตหิ นา ท่ีของนายก อบจ. ถกู ตอ งหรอื ไม อยา งไร 2. ทานคิดวา พฤตกิ รรมของนายก อบจ. ขดั ตอ หลกั คณุ ธรรม จริยธรรม หรือไม อยา งไร 3. วธิ ีการในการปองกนั การทจุ รติ คอรร ปั ช่ันในการปฏบิ ัตหิ นา ทข่ี องผูมีอํานาจ ทําไดห รือไม อยา งไร 4. ในฐานะประชาชนจะมีสว นรว มในการปองกนั ปญ หาทุจรติ ในสวนราชการไดห รอื ไม อยา งไร ใบงาน 1. ใหผ ูเรยี นศึกษากรณีศึกษา 2. แบง กลุมอภิปราย แสดงความคดิ เหน็ ตามประเดน็ ท่ีกําหนดให 3. ใหผ ูสอนและผูเ รยี นรว มกันศึกษาหาขอ มูลประกอบการอภปิ รายหาเหตุผล 4. ใหผ เู รยี นสรุปแนวคดิ ท่ไี ดจ ากการอภิปรายรว มกัน พรอมสรปุ รายงานผล 5. ใหผ ูเรยี นรว มทํากิจกรรมการเรยี นรูตอเนอื่ ง ตามท่กี าํ หนด กิจกรรมการเรยี นรูตอเนอื่ ง ใหผ เู รียนจดั ทํากจิ กรรม/โครงการนําเสนอแนวทางการปอ งกันการทุจรติ ในสว นราชการ พรอมจัดทาํ รายงานเสนอผสู อน สอ่ื /แหลง คน ควา 1. สํานกั งาน ป.ป.ช. จังหวดั 2. เอกสารวชิ าการ 3. สือ่ Internet 76
กรณศี กึ ษาเรื่องท่ี 6 เร่อื ง “เลือกตั้ง...อปั ยศ” วตั ถปุ ระสงค 1. ตระหนกั ถงึ ปญหาการทจุ รติ การเลอื กตั้งระดับทองถิน่ 2. บอกหรอื อธิบายไดวาตนเองสามารถปองกันปญ หาการทุจรติ การเลอื กตงั้ ที่เกดิ ขึน้ ในสังคม 3. แสดงความเหน็ หรือเสนอวิธกี ารการมีสว นรวมในการปองกนั หรอื ปฏิบตั เิ พอ่ื ปอ งกัน การทุจรติ ทีเ่ กดิ ข้นึ ได เนอ้ื หาสาระ 1. พระราชบัญญัติประกอบรฐั ธรรมนญู วาดว ยการปอ งกนั และปราบปรามการทุจริต พ.ศ. 2542 (ฉบับท่ี 2) พ.ศ. 2554 มาตรา 19 (13) 2. สาระสําคญั ของกฎหมายประกอบรฐั ธรรมนญู วา ดว ยการปอ งกนั และปราบปรามการทุจรติ ฉบับใหม กรณีศึกษา กรณกี ารเลอื กตั้งนายกและสมาชกิ องคก ารบริหารสว นตาํ บล (อบต.) แหง หนึ่งมีผูไปแจง ความรองเรียนกับคณะกรรมการการเลือกตั้งจังหวัด (กกต.) พรอมเงิน 300 บาท วามีคนสงเงินนี้มาให พรอ มเอกสารไมล งนาม โดยขอใหไ ปลงคะแนนเลือกตง้ั แกผูสมัครรายหนึ่ง (กาํ หนดหมายเลขผสู มคั รให ดวย) แตตนเองไมขอรับเงิน และเห็นวาไมถูกตองและอาจมีการแจกเงินผูมีสิทธิ์เลือกตั้งรายอ่ืน ๆ ดว ยแลว จึงมาแจงรองเรียนตอ กกต.จังหวัด กกต.จังหวัด จึงนําผูมีสิทธิ์เลือกตั้งรายน้ันไปแจงความกับ ตํารวจพรอมหลกั ฐาน จากการสอบสวนเจาหนาทตี่ าํ รวจแจงวา ไมสามารถหาพยานบุคคลมายืนยันไดวา ผูสมัครรายนั้นแจกเงินดังกลาวจริง จึงยังไมสามารถเอาผิดกับทั้งผูสมัครรับเลือกตั้งที่ถูกรองเรียนวา แจกเงิน และผมู สี ิทธ์ิเลือกตัง้ รายอ่ืน ๆ ทอี่ าจรับเงิน มาลงโทษตามกฎหมายได แตผ ูมสี ิทธิเ์ ลือกต้ังรายน้ัน ยังยนื ยนั วา มผี กู ระทําผดิ เพราะมกี ารแจกเงินจริงมหี ลักฐานชดั เจน กกต. และตาํ รวจควรจะตอ งหาคนผิด มาลงโทษใหไ ด 77
ประเดน็ 1. ในกรณีศกึ ษาทา นคดิ วา มกี าระทําผิดกฎหมายเลอื กตง้ั สามารถนาํ ตวั คนกระทาํ ผิดมาลงโทษได หรอื ไม เพราะเหตุใด 2. ถาจะไมใ หเ กิดกรณกี ารทาํ ผิดกฎหมายเลือกตง้ั ในลกั ษณะนี้ ทา นคดิ วา ประชาชนควรจะมี สวนรวมปอ งกนั ปญ หาในชมุ ชนของทา นหรอื ไม อยา งไร 3. มีผูแสดงความเหน็ วา ท้งั ผใู หแ ละผรู บั เงิน ควรจะตองละอายใจ และสาํ นึกวาไดท าํ บาปท่ี เปนสิง่ ผดิ ตอตนเอง ตอชุมชน และประเทศ ทา นเห็นดว ยหรือไม เพราะเหตใุ ด มคี ุณธรรมใดบา งทีเ่ กย่ี วขอ งกับปญ หานี้ ควรนาํ มาอภิปรายรว มกนั บา ง ใบงาน 1. ใหผูเรียนศกึ ษาจากกรณศี กึ ษา และนําผลจากการศกึ ษากรณีศึกษาพรอ มวเิ คราะห และ นาํ เสนอเปน รายกลุม ๆ ละ 1 เร่ือง 2. ใหผ ูเรยี นรว มกนั คดิ วิเคราะห และนําเสนอแนวทางปอ งกนั การทจุ รติ จากเหตุการณดงั กลาว กิจกรรมการเรยี นรูอยา งตอ เนอื่ ง ใหผ เู รียนสรปุ ขา วเก่ียวกับการทจุ ริตการเลอื กต้งั และบันทกึ ลงในสมุดการเรยี นรู สื่อ/แหลง คนควา - หนงั สอื พิมพ - ส่ือ Internet - โทรทัศน - สํานกั งาน ป.ป.ช. 78
บทท่ี 1 กจิ กรรมที่ 1 แนวเฉลยท้ายบท 5. ค. 1. ง. 10. ง. 6. ก. 2. ค. 3. ก. 4. ข. กิจกรรมที่ 2 7. ข. 8. ข. 9. ข. 5. ข. เปน กิจกรรมอภปิ รายไมมีเฉลย 10. ก. บทที่ 2 กจิ กรรมที่ 1 1. ง. 2. ข. 3. ค. 4. ง. 5. ก. 6. ง. 7. ก. 8. ง. 9. ข. 10. ค. กจิ กรรมท่ี 2 เปนกจิ กรรมศกึ ษาคนควาไมมเี ฉลย บทที่ 3 กจิ กรรมท่ี 1 2. ก. 3. ค. 4. ง. 1. ข. 7. ง. 8. ง. 9. ข. 6. ก. เปนกิจกรรมศกึ ษาคนควาไมม ีเฉลย กจิ กรรมท่ี 2 79
บรรณานุกรม กรมการศกึ ษานอกโรงเรียน. หมวดวิชาพฒั นาสงั คมและชมุ ชน ชดุ การเรยี นทางไกล ระดบั ประถมศกึ ษา กรงุ เทพฯ : โรงพิมพค ุรสุ ภาลาดพราว, 2546 การศึกษานอกโรงเรียน,กรม ชดุ การเตรยี มการทางไกล ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนตน หมวดวชิ าพฒั นา สงั คมและชมุ ชน. ครุ สุ ภาลาดพรา ว,กรงุ เทพฯ : 2546. การศกึ ษาทางไกล, สถาบนั , ชดุ การเรยี นทางไกล หมวดวชิ าพัฒนาสงั คมและชุมชน ระดับมธั ยมศกึ ษา ตอนปลาย องคก ารรบั สง สินคาและพัสดุภณั ฑ (ร.ส.พ.) : กรุงเทพฯ,2548. คณะอาจารย กศน. พฒั นาสงั คมและชมุ ชน. คมู อื การเรยี นรูระดบั ประถมศกึ ษา. กรุงเทพฯ : บริษัท ไผมิเดยี เซ็นเตอร จาํ กัด, 2548 ความเคลือ่ นไหวทางการจดั การศกึ ษาของศธ.กับ คสช. ท่ีนาร.ู [เว็ปไซต] เขา ถึงไดจาก http://jukravuth.blogspot.com/ . สบื คนเมอ่ื วันที่ 26 สิงหาคม 2557. คานยิ ม 12 ขอ : เราจะสรา งสรรคป ระเทศไทยใหเ ขมแขง็ คนตองเขมแข็งกอน . [เวป็ ไซต] เขาถงึ ได จากhttp://www.mof.or.th/web/uploads/news/199_12values.pdf . สบื คน เม่อื วนั ท่ี 26 สงิ หาคม 2557. จกั ราวธุ คาทว.ี สันต/ิ สามคั ค/ี ปรองดอง/คา นิยม 12 ประการ ของ คสช. : เน้ือหาชวยสอน และจัดกจิ กรรม เพอ่ื นคร,ู 2557. (เอกสารอดั สาเนา). ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ,สํานกั งาน,ชดุ วิชาพฒั นาสงั คมและชมุ ชน ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย, เอกพิมพไท จาํ กดั : กรงุ เทพฯ, มฝผ. เผด็จ เอมวงศ และจฑุ ามาศ ลบแยม, กฎหมายในชวี ติ ประจาํ วนั : ตนเอง ครอบครัวชุมชน และ ประเทศชาต.ิ กรงุ เทพ : สาํ นกั พิมพ เอมพนั ธ จํากดั , 2551. มหามกุฎราชวทิ ยาลัยในพระบรมราชปู ถมั ภ, พระสตู รและอรรถกถา แปล อทุ กนยิ าม ชาดก เลมที่ 3 ภาคท่ี 1 โรงพิมพมหามกฎุ ราชวทิ ยาลัย.กรงุ เทพฯ : 2534. ราชบณั ฑิตยสถาน. พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554 เฉลมิ พระเกียรติพระบาท สมเด็จพระเจา อยูหัวเนือ่ งในโอกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลมิ พระชนมพรรษา 7 รอบ 5 ธันวาคม 2554. กรุงเทพฯ ราชบัณฑิตยสถาน, 2556. เลขาธิการสภาการศกึ ษา, สาํ นกั งาน. คุณธรรมนําความรู, สาํ นกั งานเลขาธกิ ารสภาการศกึ ษา, กรงุ เทพฯ : 2550. ศึกษาธกิ าร,กระทรวง. หลกั การทรงงานในพระบาทสมเด็จพระเจา อยหู ัว, สํานกั งานคณะกรรมการพิเศษ เพ่อื ประสานงานโครงการอันเน่อื งมาจากพระราชดําริ (สาํ นักงาน กปร.) กรงุ เทพฯ : 2550. สมโพธิ ผลเต็ม. ปรชั ญาคาํ กลอน 100 เร่ืองแรก, สิทธวิ รรณ , บริษทั . กรงุ เทพฯ : 2549. 80
สันต/ิ สามัคค/ี ปรองดอง/คานยิ ม 12 ประการ ของ คสช. : เน้ือหาชวยสอน และจดั กิจกรรม เพอ่ื นคร.ู [เว็ปไซต]. เขา ถงึ ไดจาก :http://www.slideshare.net/jukravuth. สบื คน เมือ่ วนั ที่ 26 สงิ หาคม 2557 สทุ ธิธรรม เลขววิ ฒั น หมวดวชิ าพฒั นาสงั คมและชุมชน ระดับประถมศึกษา การศึกษานอกโรงเรียน กรงุ เทพฯ : บรษิ ัท สามเจรญิ พาณิชย จํากดั , 2548 สํานักงานคณะกรรมการปอ งกนั และปราบปรามการทจุ ริตแหง ชาติ(ป.ป.ช.). รวมพลังเดนิ หนา ฝา วกิ ฤต คอรรัปชน่ั , เอกสารประชาสัมพนั ธ มปป. _______. โครงการเสริมสรา งเครือขา ยประชาชนในการพทิ กั ษสาธารณสมบตั ิ, 2553. (เอกสาร อัดสาํ เนา) สาํ นกั กฎหมาย สาํ นกั งานคณะกรรมการปอ งกนั และปราบปรามการทจุ รติ แหงชาต(ิ ป.ป.ช.). รวม กฎหมาย ระเบยี บ ประกาศ ทเ่ี กย่ี วขอ งกบั การปองกันและปราบปรามการทจุ รติ , 2555. _______. “ยุทธศาสตรช าติวา ดว ยการปอ งกันและปราบปรามการทจุ ริต”. สาํ นักงานคณะกรรมการ ปองกนั และปราบปรามการทุจริตแหงชาติ _______. กรอบเน้อื หาสาระ เรอื่ ง การมสี ว นรวมของประชาชนในการปอ งกันและปราบปรามการทจุ ริต, 2556. เอกสารอดั สาํ เนา การทจุ รติ คืออะไร, เขาถึง www.oknation.net วันที่ 19 มีนาคม 2556. http://th.wikipedia.org/wiki http://www.tumsrivichai.com 81
คณะผูจ ัดทาํ ที่ปรกึ ษา 1. นายประเสริฐ บุญเรอื ง เลขาธกิ าร กศน. รองเลขาธิการ กศน. 2. ดร.ชัยยศ อมิ่ สวุ รรณ รองเลขาธิการ กศน. ที่ปรกึ ษาดา นการพัฒนาหลักสูตร กศน. 3. นายวชั รนิ ทร จําป ผูอาํ นวยการกลมุ พัฒนาการศกึ ษานอกโรงเรยี น 4. ดร.ทองอยู แกว ไทรฮะ ขา ราชการบาํ นาญ สถาบนั การศกึ ษาทางไกล 5. นางรกั ขณา ตณั ฑวุฑโฒ กลุมพัฒนาการศึกษานอกโรงเรยี น ผเู ขียนและเรยี บเรียง ขาราชการบํานาญ สถาบนั กศน.ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือ 1. นางธญั ญาวดี เหลาพานชิ สถาบนั กศน.ภาคตะวันออก สถาบนั กศน.ภาคตะวนั ออก 2. นางสาววาสนา โกสียวฒั นา สถาบัน กศน.ภาคใต สถาบันการศกึ ษาทางไกล 3. นางพรทิพย เข็มทอง สถาบัน กศน.ภาคเหนอื สถาบนั กศน.ภาคเหนือ ผูบรรณาธกิ าร และพฒั นาปรับปรงุ สถาบนั กศน.ภาคเหนือ กลุมพัฒนาการศกึ ษานอกโรงเรียน 1. นางธญั ญาวดี เหลาพานชิ ขาราชการบํานาญ ขา ราชการบํานาญ 2. นางนลนิ ี ศรสี ารคาม จนั ทรตรี ขาราชการบํานาญ 3. นายเรืองเวช แสงรัตนา กลุม พฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรียน กลมุ พฒั นาการศึกษานอกโรงเรียน 4. นางสาวสรุ ัตนา บรู ณะวทิ ย กลุมพัฒนาการศึกษานอกโรงเรียน กลุมพัฒนาการศึกษานอกโรงเรียน 5. นางมยุรี สวุ รรณเจรญิ กลุมพฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรียน 6. นางสาววาสนา โกสียวัฒนา 7. นางสดุ ใจ บตุ รอากาศ 8. นายนิพนธ จนั ตา 9. นางอุบลรัตน มโี ชค 10. นางพรทิพย เข็มทอง 11. นางสาวสุรีพร เจริญนชิ 12. นางเอือ้ จติ ร สมจิตตชอบ 13. นางสาวชนิตา จิตตธรรม คณะทํางาน 1. นายสรุ พงษ ม่ันมะโน 2. นายศภุ โชค ศรรี ตั นศลิ ป 3. นางสาววรรณพร ปทมานนท 4. นางสาวศรญิ ญา กุลประดษิ ฐ 5. นางสาวเพชรนิ ทร เหลืองจิตวัฒนา 82
ผูพมิ พตนฉบบั นางสาวเพชรินทร เหลืองจิตวฒั นา กลมุ พัฒนาการศกึ ษานอกโรงเรียน กลมุ พฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรยี น ผูอ อกแบบปก นายศภุ โชค ศรีรตั นศลิ ป 83
คณะกรรมการจัดทํา เนื้อหา เพ่มิ เตมิ เร่อื ง “การมีสว นรวมในการปอ งกนั และปราบปรามการทุจริต” ประธานและรองประธานคณะกรรมการ 1. นายประเสรฐิ บุญเรอื ง เลขาธกิ าร กศน. 2. ดร.ชยั ยศ อม่ิ สุวรรณ รองเลขาธิการ กศน. 3. นายชาญวทิ ย ทับสพุ รรณ รองเลขาธกิ าร กศน. คณะกรรมการที่ปรึกษา 1. ดร.ทองอยู แกวไทรฮะ ขา ราชการบํานาญ 2. นายบญุ สม นาวานะเคราะห ขาราชการบํานาญ 3. นายกุลธร เลศิ สรุ ยิ ะกุล ผเู ชยี่ วชาญเฉพาะดา นพฒั นาหลกั สตู ร 4. นางศุทธนิ ี งามเขตต ผูอํานวยการกลมุ พฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรยี น 5. นายมนตชยั วสวุ ัต ผอู าํ นวยการสาํ นกั งานปองกนั การทจุ รติ ภาคประชาสังคมและการพัฒนาเครอื ขา ย 6. นางสุปรยี า บญุ สนิท เจาพนักงานปองกันการทจุ ริต สํานกั งาน ป.ป.ช. 7. นายประทปี คงสนทิ นักกฎหมาย สาํ นกั งาน ป.ป.ช. คณะกรรมการผเู ขยี นและเรยี บเรียง 1. นางพรทพิ ย เขม็ ทอง ขาราชการบาํ นาญ ศึกษานเิ ทศก สาํ นกั งาน กศน. 2. นางสุดใจ บุตรอากาศ ผูอาํ นวยการ กศน.อําเภอวชริ บารมี จ.พจิ ติ ร กลมุ พฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรยี น 3. นางเบญจมาศ สระทองหยอม 4. นางสาวชาลินี ธรรมธิษา คณะกรรมการผูบรรณาธิการ 1. ดร.ทองอยู แกว ไทรฮะ ขาราชการบํานาญ 2. นายมนตช ัย วสวุ ตั ผูอํานวยการสํานกั งานปองกนั การทุจรติ ภาคประชาสังคมและการพฒั นาเครือขาย 3. นางสปุ รียา บุญสนทิ เจา พนกั งานปองกนั การทุจริต สาํ นักงาน ป.ป.ช. 4. นายประทปี คงสนทิ นักกฎหมาย สาํ นกั งาน ป.ป.ช. 5. นางพรทิพย เขม็ ทอง ขา ราชการบาํ นาญ 6. นางสดุ ใจ บุตรอากาศ ศึกษานเิ ทศก สํานกั งาน กศน. 7. นางเบญจมาศ สระทองหยอ ม ผอู ํานวยการ กศน.อาํ เภอวชริ บารมี 8. นางสาวชาลนิ ี ธรรมธิษา กลุม พฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรยี น 84
คณะผูจ ดั ทํา เนื้อหา เพมิ่ เติม เร่อื ง “คณุ ธรรมและคา นยิ มพนื้ ฐานในการอยรู ว มกนั อยา งปรองดองสมานฉนั ท” ท่ปี รกึ ษา สกลุ ประดิษฐ เลขาธิการ กศน. ทับสุพรรณ รองเลขาธิการ กศน. 1. นายการณุ จําจด รองเลขาธิการ กศน. 2. นายชาญวทิ ย งามเขตต ผอู าํ นวยการกลมุ พฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรยี น 3. นายสุรพงษ 7. นางศุทธินี ผูเขยี น เรยี บเรียง จากการประชุม ครัง้ ท่ี 1 1. นายทองอยู แกวไทรฮะ ขา ราชการบํานาญ ขา ราชการบํานาญ 2. นางวันเพ็ญ สุทธากาศ ขา ราชการบํานาญ ขาราชการบํานาญ 3. นายวฒั นา อคั คพานิช โรงเรยี นสตรวี ทิ ยา 2 ในพระอุปถมั ภ สมเดจ็ พระศรีนครินทราบรมราชชนนี 4. นางบปุ ผา ประกฤตกิ ลุ สถาบัน กศน.ภาคใต กศน.อาํ เภอคลองหลวง จ.ปทมุ ธานี 5. นายไตรรตั น เอีย่ มพันธ 6. นางสาวณฐั ภัสสร แดงมณี 7. นางวิภานันท สิริวัฒนไกรกุล ผูเขยี น เรียบเรยี ง และ บรรณาธกิ าร จากการประชุมคร้งั ท่ี 2 1. นางวนั เพ็ญ สทุ ธากาศ ขา ราชการบํานาญ 2. นางสุคนธ สินธพานนท ขาราชการบาํ นาญ 3. นางสาววธั นียว รรณ อรุ าสขุ ขาราชการบาํ นาญ 4. นางพวิ ัสสา นภารตั น โรงเรียนบดนิ ทรเดชา (สงิ ห สิงหเสนี) 5. นายวรวฒุ ิ จรยิ ภคั รตกิ ร กศน.อาํ เภอบางแกว จ.พทั ลงุ คณะทํางาน กลมุ พฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรียน 1. นายสรุ พงษ มน่ั มะโน กลมุ พัฒนาการศกึ ษานอกโรงเรียน 2. นายศภุ โชค ศรรี ัตนศิลป กลุม พัฒนาการศกึ ษานอกโรงเรียน 3. นางสาวสุลาง เพช็ รสวาง กลมุ พัฒนาการศึกษานอกโรงเรยี น 4. นางสาวเบ็ญจวรรณ อาํ ไพศรี กลุม พฒั นาการศึกษานอกโรงเรยี น 5. นางสาวชมพนู ท สังขพิชัย กลุมพัฒนาการศึกษานอกโรงเรยี น 6. นางจฑุ ากมล อนิ ทระสันต กลมุ พฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรียน 7. นางสาวทพิ วรรณ วงศเรือน 85
คณะผปู รบั ปรุงขอมลู เก่ยี วกบั สถาบนั พระมหากษตั รยิ ป พ.ศ. 2560 ทปี่ รึกษา เลขาธิการ กศน. 1. นายสุรพงษ จาํ จด ผตู รวจราชการกระทรวงศกึ ษาธิการ 2. นายประเสรฐิ หอมดี ปฏบิ ตั ิหนา ทรี่ องเลขาธิการ กศน. ผูอํานวยการกลมุ พฒั นาการศึกษานอกระบบ 3. นางตรีนชุ สขุ สุเดช และการศกึ ษาตามอัธยาศัย ผปู รบั ปรงุ ขอ มูล กศน.เขตมนี บรุ ี กรุงเทพมหานคร นางเพญ็ ลดา ช่ืนโกมล คณะทาํ งาน 1. นายสุรพงษ ม่นั มะโน กลมุ พฒั นาการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย 2. นายศุภโชค ศรีรตั นศลิ ป กลมุ พฒั นาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั 3. นางสาวเบญ็ จวรรณ อาํ ไพศรี กลมุ พฒั นาการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั 4. นางสาวเยาวรัตน ปนมณีวงศ กลุมพฒั นาการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย 5. นางสาวสลุ าง เพ็ชรสวา ง กลมุ พฒั นาการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั 6. นางสาวทิพวรรณ วงคเ รอื น กลมุ พฒั นาการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย 7. นางสาวนภาพร อมรเดชาวฒั น กลมุ พฒั นาการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย 8. นางสาวชมพนู ท สังขพิชยั กลมุ พฒั นาการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย 86
Search