ดาวพฤหสั บดี Jupiter ดาวพฤหัสบดี เป็นดาวเคราะห์ท่ีอยหู่ ่างจากดวงอาทิตยเ์ ป็ นลาดบั ที่ 5 และเป็นดาวเคราะห์ที่มีขนาดใหญท่ ี่สุดในระบบสุริยะ นอกจากดาวพฤหสั บดี ดาวเคราะห์แกส๊ ดวงอ่ืนๆ ในระบบสุริยะไดแ้ ก่ ดาวเสาร์ ดาวยเู รนสั และดาวเนปจูน ชื่อละตินของดาวพฤหสั บดี (Jupiter) มาจากเทพเจา้ โรมนั สญั ลกั ษณ์แทนดาวพฤหสั บดี คือ ♃ เป็นสายฟ้ าของเทพเจา้ ซูส ดาวพฤหสั บดีมีมวลสูงกวา่ มวลของดาวเคราะห์อื่นรวมกนั ราว 2.5 เทา่ ทาใหศ้ ูนยร์ ะบบมวลระหวา่ งดาวพฤหสั บดีกบั ดวงอาทิตย์ อยเู่ หนือผวิ ดวงอาทิตย์ (1.068 เท่าของรัศมีดวงอาทิตย์ เมื่อวดั จากศูนยก์ ลางดวงอาทิตย)์ ดาวพฤหสั บดีหนกั วา่ โลก 318 เท่า เส้นผา่ น ศนู ยก์ ลางยาวกวา่ โลก 11 เทา่ และมีปริมาตรคิดเป็น 1,300 เทา่ ของโลก เช่ือกนั วา่ หากดาวพฤหสั บดีมีมวลมากกวา่ น้ีสัก 60-70 เท่า อาจเพียงพอท่ีจะใหเ้ กิดปฏิกิริยานิวเคลียร์จนกลายเป็นดาวฤกษไ์ ด้ ดาวพฤหสั บดีหมนุ รอบตวั เองด้วยอตั ราเร็วสงู ที่สดุ เมื่อเทียบกบั ดาวเคราะห์ดวงอ่ืนในระบบสรุ ิยะ ทาให้มีรูปร่างแป้ นเมื่อดผู า่ นกล้องโทรทรรศน์ นอกจากชนั้ เมฆที่ หอ่ ห้มุ ดาวพฤหสั บดี ร่องรอยท่ีเดน่ ชดั ท่ีสดุ บนดาวพฤหสั บดี คือ จุดแดงใหญ่ ซง่ึ เป็นพายหุ มนุ ที่มีขนาดใหญ่กวา่ โลก โดยทวั่ ไป ดาวพฤหสั บดีเป็ นวตั ถุท่ีสวา่ งที่สุดเป็นอนั ดบั ที่ 4 ในทอ้ งฟ้ า (รองจากดวงอาทิตย์ ดวงจนั ทร์ และดาวศุกร์ อยา่ งไรก็ตาม บางคร้ังดาวองั คารกป็ รากฏสวา่ งกวา่ ดาวพฤหสั บดี) จึงเป็ นที่รู้จกั มาต้งั แต่ยคุ ก่อนประวตั ิศาสตร์ การคน้ พบดาวบริวารขนาดใหญ่ 4 ดวง ไดแ้ ก่ ไอโอ, ยโู รปา, แกนีมีด และคลั ลิสโต โดยกาลิเลโอ กาลิเลอี เมื่อ ค.ศ. 1610 เป็นการคน้ พบวตั ถุท่ีไมไ่ ดโ้ คจรรอบโลกเป็น คร้ังแรก นบั เป็นจุดท่ีสนบั สนุนทฤษฎีดวงอาทิตยเ์ ป็นศูนยก์ ลางท่ีเสนอโดยโคเปอร์นิคสั การออกมาสนบั สนุนทฤษฎีน้ีทาใหก้ าลิเล โอตอ้ งเผชิญกบั การไต่สวนดาวพฤหสั บดี หมุนรอบตวั เองใชเ้ วลา 10 ชวั่ โมง
วงแหวนของดาวพฤหสั บดี (Jupiter ring) ดาวพฤหัสบดีมีวงแหวนเช่นเดียวกบั ดาวเสาร์ แต่มีความเลือนลางและขนาดเล็กกวา่ สามารถเห็นไดใ้ นรังสีอินฟราเรดท้งั จากกลอ้ งโทรทรรศน์ที่พ้ืนโลกและ จากยานกาลิเลโอ วงแหวนของดาวพฤหสั ค่อนขา้ งมืด ซ่ึงอาจประกอบดว้ ยเศษหินขนาดเล็ก และไมพ่ บน้าแขง็ เหมือนท่ีพบในวงแหวนของดาวเสาร์ วตั ถุท่ีอยใู่ นวง แหวนของดาวพฤหสั อาจไมอ่ ยใู่ นวงแหวนนาน เนื่องจากแรงเหวยี่ งท่ีเกิดจากบรรยากาศและสนามแม่เหล็ก มีหลกั ฐานท่ีแสดงใหเ้ ห็นวา่ วงแหวนไดว้ ตั ถุเพ่มิ เติมจากฝ่ นุ ท่ีเกิดจากอุกกาบาตตกชนดาวบริวารวงใน ซ่ึงเน่ืองจากพลงั งานมหาศาลจากแรงดึงดูดขนาดใหญข่ องดาวพฤหสั บด • แกนกลางซุปเปอร์ความร้อน แต่กย็ งั ไม่ชดั เจนที่ดาวพฤหสั บดีมีแกนกลาง ของวสั ดุแขง็ (Core of Solid) หรืออาจจะเป็น ซุปเปอร์ความร้อนและหนาแน่นมาก มีอุณหภูมิข้ึน ไปถึง 90,032 องศาฟาเรนไฮต์ (50,000 องศา เซลเซียส) ทาใหเ้ ป็นลกั ษณะของแร่ธาตุเหล็ก และซิ ลิเกตส่วนใหญ่(คลา้ ยกบั ผลึก) • สนามแม่เหลก็ กว้างไกลใหญ่โต ขอบเขตสนามแม่เหลก็ ของดาวพฤหสั บดี (Magnetosphere) กวา้ งไกลระหวา่ ง 600,000 ถึง 2 ลา้ นไมล์ (1 ถึง 3 ลา้ นกิโลเมตร) ไปทางดวงอาทิตย์ (เส้นผา่ ศูนยก์ ลาง 7 ถึง 21 เท่าหรือดาวพฤหสั บดี) และยบุ ตวั ลงสู่หางท่ีทอดตวั ยาวกวา่ 600 ลา้ นไมล์ (ประมาณ 1 พนั ลา้ นกิโลเมตร) ในดา้ นหลงั ดาวพฤหสั บดี ยาวไกลไปทางวงโคจรของ ดาวเสาร์ (Saturn)
• รังสีพลงั สูงสร้างอานาจ สนามแมเ่ หลก็ ขนาดมหึมาของดาวพฤหสั บดีมีขนาดใหญ่ถึง 16 ถึง 54 เทา่ ของสนามแมเ่ หลก็ โลกหมุนไปกวาดลา้ งอนุภาคที่มีประจุไฟฟ้ า และดกั จบั อนุภาคที่มีประจุ ไวเ้ ป็น ตวั ช่วยเร่งใหเ้ กิดพลงั งานท่ีสูงมาก จึงสามารถทาใหเ้ กิดรังสีท่ีรุนแรงส่งผลกระทบต่อดวงจนั ทร์ช้นั ในสุดของดาวพฤหสั บดีเอง ยงั สามารถอาจสร้างความ เสียหายแก่ยาน อวกาศที่เขา้ ใกลไ้ ด้ และสนามแมเ่ หล็กของดาวพฤหสั บดียงั เป็นเหตุให้เกิดแสงออโรร่า (Aurorae) ที่น่าต่ืนเตน้ ที่สุดของระบบสุริยะท่ีบริเวณข้วั เหนือ • อนั ตรายถ้าเข้าใกล้ ในฐานะที่เป็นยกั ษก์ ๊าซดาวพฤหสั บดีไม่มีพ้นื ผวิ ที่แทจ้ ริง หมายความวา่ หากเราเหยยี บลงบนดาวพฤหสั ดีในทนั ทีทนั ใดน้นั ตวั เราจะดิ่งจมหายไปคลา้ ยถูกดูดลงไปใน โคลนเหลวเพราะส่วนใหญเ่ ป็นก๊าซหมุนเวยี นและของเหลว (Swirling Gases and Liquids) ในขณะเดียวกนั ไม่มียานอวกาศใดๆเลย ที่จะลงจอดบนดาวพฤหสั บดี ได้ และก็ไม่สามารถบินผา่ นไดอ้ ยา่ งปราศจากอนั ตรายเช่นกนั เพราะแรงกดดนั และอุณหภมู ิท่ีลึกลงลงไปสามารถหลอมเหลว และระเหยยานอวกาศท่ีพยายามบินเขา้ ใกล้ ดาวพฤหสั บดีได้
Search
Read the Text Version
- 1 - 3
Pages: