Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การให้อาหารทางสายยาง

การให้อาหารทางสายยาง

Published by piyaporn, 2018-07-05 03:02:12

Description: อาจารย์ปิยะพร พรหมแก้ว
วพบ.นครศรีธรรมราช

Search

Read the Text Version

ปฏบิ ตั กิ ารชว่ ยเหลอื ผใู้ ชบ้ รกิ ารในการ รบั ประทานอาหารและดแู ลใหอ้ าหาร ทางสายยาง อาจารยป์ ิ ยะพร พรหมแกว้ วทิ ยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี นครศรธี รรมราช

หวั ขอ้ การเรยี นรู้• ชนดิ ของอาหารในโรงพยาบาล• การป้ อนอาหาร• การใหอ้ าหารทางสายใหอ้ าหาร• การชว่ ยเหลอื ผใู้ ชบ้ รกิ ารในการรบั ประทานและ ดแู ลใหอ้ าหารทางสายยาง

การป้ อนอาหาร (Feeding)• ผปู้ ่ วยทไี่ มส่ ามารถตกั อาหารรบั ประทานเองได้ พยาบาลจะเป็ นผดู้ แู ลใหก้ ารชว่ ยเหลอื โดยการป้ อน อาหารใหแ้ กผ่ ปู้ ่ วย• วตั ถปุ ระสงค์ 1. เตรยี มผปู้ ่ วยเพอื่ ไดร้ บั การรบั ประทานอาหาร โดย การป้ อนไดถ้ กู ตอ้ ง 2. เตรยี มอปุ กรณใ์ นการป้ อนอาหารไดถ้ กู ตอ้ ง 3. ปฏบิ ตั กิ ารป้ อนอาหารไดถ้ กู ตอ้ ง 4. ผปู้ ่ วยไดร้ บั อาหารอยา่ งเพยี งพอแกค่ วามตอ้ งการ ของรา่ งกาย โดยพยาบาลเป็ นผใู้ หค้ วามชว่ ยเหลอื

การป้ อนอาหาร (Feeding)• ขนั้ เตรยี ม1. ประเมนิ สภาพผู้ป่ วย เพื่อเลือกของใช้ และ วธิ กี ารใหเ้ หมาะสมกบั ผปู้ ่ วยแตล่ ะบคุ คล2. บอกขนั้ ตอน วธิ กี ารปฏบิ ตั แิ ละอธบิ าย ใหผ้ ปู้ ่ วย เขา้ ใจ เพอ่ื ใหผ้ ปู้ ่ วยคลายวติ กกงั วล3. ลา้ งมอื กอ่ นเตรยี มอปุ กรณ์

การป้ อนอาหาร (Feeding)4. เตรยี มอปุ กรณ์ 4.1 ผา้ /กระดาษเช็ดปากและผา้ คลมุ กนั เป้ื อน 4.2 ชนดิ ของอาหารตามสภาพของผปู้ ่ วย 4.3 แกว้ ใสน่ า้ ดม่ื 4.4 ชอ้ นสอ้ ม 4.5 ชามรปู ไต

การป้ อนอาหาร (Feeding)5. จดั สถานทแ่ี ละสงิ่ แวดลอ้ ม 5.1 เปิ ดไฝใหส้ วา่ งพอดี เพอื่ ชว่ ยใหม้ องเห็นได้ ชดั เจน 5.2 ไขหวั เตยี งทามมุ 90 องศา หรอื ใชห้ มอน หนุนหลายๆ ใบ เพอ่ื เตรยี มจดั ใหผ้ ปู้ ่ วยอยใู่ น ทา่ นง่ั เพอื่ ใหท้ างเดนิ อาหารตรง อาหาร เคลอ่ื นตวั ลงสกู่ ระเพาะอาหารไดง้ า่ ย

การป้ อนอาหาร (Feeding)5.3 เลอื่ นโตะ๊ ครอ่ มเตยี ง ปรบั ความสงู ใหเ้ หมาะสม เพอื่ ใหม้ คี วามสะดวก เสมอื นนง่ั รบั ประทาน อาหารทโ่ี ตะ๊5.4 วางถาดอาหาร ชุดใสอ่ าหารบนโตะ๊ ครอ่ มเตยี ง จดั ชอ้ นสอ้ ม แกว้ นา้ วางใหเ้ หมาะสม เตรยี ม ผา้ /กระดาษเช็ดปากไวใ้ กลม้ อื ชามรปู ไตจดั ไวใ้ หเ้ หมาะสม

การป้ อนอาหาร (Feeding)• ขน้ั ปฏบิ ตั ิ 1. บอกใหผ้ ปู้ ่ วยทราบ เพอ่ื ใหผ้ ปู้ ่ วยเขา้ ใจคลายความ วติ กกงั วล และพรอ้ มใหค้ วามรว่ มมอื 2. จดั ทา่ ใหผ้ ปู้ ่ วยอยใู่ นทา่ นง่ั ปรบั โตะ๊ ครอ่ มเตยี งให้ เหมาะสม ชว่ ยใหผ้ ปู้ ่ วยกลนื อาหารไดส้ ะดวก ป้ องกนั การสาลกั 3. ลา้ งมอื ใหส้ ะอาด เพอื่ ลดจานวนเชอ้ื โรค 4. เลอ่ื นถาดอาหารใหอ้ ยหู่ า่ งจากตวั ผปู้ ่ วยในระยะท่ี เหมาะสม เพอื่ ใหผ้ ปู้ ่ วยมองเห็นอาหาร และเพมิ่ ความอยากอาหาร 5. วางผา้ คลมุ กนั เป้ื อนบรเิ วณอกและหนา้ ทอ้ งของ ผปู้ ่ วย เพอื่ ป้ องกนั อาหารหกเปื้ อนเสอื้ ผา้

การป้ กอารนปอ้อนาอหาหาารร(F(eFeediengd) ing)6. บอกผปู้ ่ วยถงึ อาหารทไ่ี ดจ้ ดั เตรยี มมา พรอ้ มทง้ั บอก ถงึ ประโยชน์ ตอ่ ผปู้ ่ วย เพอ่ื กระตนุ้ ใหผ้ ปู้ ่ วยอยาก รบั ประทานอาหาร และทราบคณุ คา่ ของสารอาหาร7. ตกั อาหารใหน้ อ้ ยแตพ่ อคา คอ่ ย ๆ ใหผ้ ปู้ ่ วยอา้ ปาก รบั อาหารเขา้ ปากใหเ้ ป็ นเวลา ผปู้ ่ วยเคยี้ วและกลนื อยา่ เรง่ ผปู้ ่ วย อาหารคาเล็กๆ จะชว่ ยใหผ้ ปู้ ่ วยเคย้ี ว ไดส้ ะดวก และรบั รรู้ สชาตขิ องอาหารไดด้ ี และ ป้ องกนั การสาลกั อาหาร8. ระหวา่ งป้ อนอาหารหากผปู้ ่ วยตอ้ งการจบิ นา้ ก็ใหจ้ บิ ไดบ้ า้ งเป็ นระยะ ๆ ใชผ้ า้ /กระดาษเช็ดปากหาก อาหาร/นา้ เลอะมมุ ปาก เพอ่ื ชว่ ยใหผ้ ปู้ ่ วยกลนื อาหาร ไดส้ ะดวก

การป้ อนอาหาร (Feeding)9. เมอื่ ป้ อนอาหารจนผปู้ ่ วยพอแลว้ ใหผ้ ปู้ ่ วยจบิ นา้ หรอื ดม่ื นา้ ตาม เพอื่ ใหผ้ ปู้ ่ วย ไดร้ บั ปรมิ าณอาหารและนา้ ท่ี เพยี งพอ10. เลอ่ื นโตะ๊ ครอ่ มเตยี งออก จดั ใหผ้ ปู้ ่ วยไดน้ ง่ั อยตู่ อ่ ไปอกี ระยะหนง่ึ ประมาณ 30 นาที - 1 ชว่ั โมง ตามความ เหมาะสม จงึ คอ่ ยปรบั เตยี งหรอื ใหผ้ ปู้ ่ วยนอน การให้ ผปู้ ่ วยนง่ั จะชว่ ยใหอ้ าหารอยใู่ นกระเพาะอาหารตามปกติ เพอื่ การยอ่ ยและการดดู ซมึ ตามระบบของอวยั วะตอ่ ไป หากนอนราบทนั ทอี าหารจะไมถ่ กู เก็บในกระเพาะอาหาร จะไหลออกมาทาใหแ้ นน่ อดึ อดั อาจสาลกั ได้

การป้ อนอาหาร (Feeding)11.บอกผปู้ ่ วยเอาผา้ คลมุ กนั เปื้ อนออกจากตวั ผปู้ ่ วย จดั สงิ่ แวดลอ้ มไวด้ งั เดมิ12. นาอปุ กรณต์ า่ งๆ ทใ่ี ชแ้ ลว้ ไปลา้ งทาความ สะอาด และเก็บเขา้ ทใ่ี หเ้ รยี บรอ้ ย ของใชแ้ ลว้ ตอ้ ง ทงิ้ ใหน้ าไปทงิ้ ใหถ้ กู ตอ้ ง13. บนั ทกึ และรายงานการป้ อนอาหาร

การใหอ้ าหารทางสายยาง (Gastric gavage or Tube feeding ) หมายถงึ การใหอ้ าหารทางสายยาง เป็ นวธิ กี ารใหอ้ าหารเมอื่ มปี ัญหาในการใหอ้ าหารทางปาก แตร่ ะบบทางเดนิ อาหารยงั ทาหนา้ ท่ีอยใู่ นเกณฑด์ ี คอื การยอ่ ยและการดดู ซมึ เขา้สู่ร่า งกา ยดี แ ต่ผู้ป่ ว ยมีปัญหา เ ช่น ก ลืนลาบาก กลนื แลว้ สาลกั ร่างกายอ่อนเพลยีมาก รบั ประทานอาหารไมไ่ ดห้ รอื รบั ประทานอาหารไดไ้ มเ่ พยี งพอ ขาดอาหาร ผปู้ ่ วยทไ่ี ม่รสู้ กึ ตวั

การใหอ้ าหารทางสายยาง(Gastric gavage or Tube feeding )• เชน่ โรคทางสมอง หรอื ไดร้ บั การผา่ ตดั เกยี่ วกบั ปาก เป็ นการป้ องกนั ไมใ่ หเ้ กดิ ทพุ โภชนาการ หรอื ถา้ มที พุ โภชนาการเกดิ ขน้ึ แลว้ จะเป็ นการบาบดั ให้ หายจากภาวะทพุ โภชนาการ

ประเภทของการใหอ้ าหารทางสายใหอ้ าหาร• Nasogastric feeding สายใหอ้ าหารใสผ่ า่ นรจู มกู สว่ นนาของสายอยใู่ นกระเพราะอาหารเป็ นวธิ กี ารให้ อาหารทใี่ ชม้ ากทส่ี ดุ• Nasojejunal feeding สายใหอ้ าหารใสผ่ า่ นรจู มกู ใหส้ ว่ นนาของสายใหอ้ าหารอยเู่ ลย pylorus โดยให้ pyloric sphiheter ป้ องกนั การสารอกของอาหารที่ เขา้ ไป ใชใ้ นเด็กคลอดกอ่ นกาหนดและเด็กทเี่ จ็บป่ วย ดดู นมไมด่ ี• Gastrostomy feeding เป็ นการใหอ้ าหารผา่ นรเู ปิ ด ของกระเพาะอาหาร เป็ นวธิ ที ใ่ี ชใ้ นกรณีทไ่ี มส่ ามารถ ทา Nasogastric feeding ไดใ้ นผปู้ ่ วยทมี่ หี ลอด อาหารตบี ตนั

ประเภทของการใหอ้ าหารทางสาย ใหอ้ าหาร (ตอ่ )• Esophagestomy tube ในราย epidermoid carcinoma โดยทาผา่ ตดั esophagus เพอื่ ใส่ สายใหอ้ าหาร• Jejunostomy feeding เป็ นการใหอ้ าหารผา่ นรู เปิ ดของ jejunum เป็ นวธิ ใี ชใ้ หอ้ าหารกบั ผปู้ ่ วยท่ี ไดร้ บั การผา่ ตดั กระเพาะอาหาร



อาหารทใ่ี หท้ างสายใหอ้ าหาร• สตู รนา้ นมผสม (milk based formula) มนี า้ นม และผลติ ภณั ฑน์ มเป็ นสว่ นประกอบทส่ี าคญั• สตู รอาหารป่นั ผสม (blenderized formula) เป็ น สูตรอาหารประกอบดว้ ยอาหารหลายประเภท เชน่ เนอ้ื สตั ว์ ผกั ผลไม้ ไข่ ไขมนั สตั ว์ นา้ มนั พชื นม นา้ ตาล• สูตรอาหารสาเร็จรูป (commericial formula) เป็ นสูตรอาหารที่ผลติ โดยบรษิ ทั อุตสาหกรรม ผลติ ภณั ฑอ์ าหาร เช่น ซสั ตาเจน โปรโซบี (สุ ปราณี เสนาดสิ ยั , 2554: 569-570)

วตั ถปุ ระสงค์1. เตรยี มผปู้ ่ วยเพอื่ ไดร้ บั การใหอ้ าหารทางสายให้ อาหารไดถ้ กู ตอ้ ง2. เตรยี มอปุ กรณ์ในการใหอ้ าหารทางสายให้ อาหารไดถ้ กู ตอ้ ง3. ปฏบิ ตั กิ ารพยาบาลในการใหอ้ าหารทางสายให้ อาหารไดถ้ กู ตอ้ ง4. ผปู้ ่ วยไดร้ บั อาหารทางสายใหอ้ าหารทเ่ี พยี งพอ แกค่ วามตอ้ งการของรา่ งกาย

อปุ กรณ์การใหอ้ าหารทางสายยาง1. กระบอกแกว้ สาหรบั ใหอ้ าหารขนาด 50 ซ.ี ซ.ี(ลกั ษณะเหมอื นกระบอกฉดี ยา แตป่ ลายทต่ี อ่ กบัสายยางโต กวา่ )2. ภาชนะมฝี าปิ ด สาหรบั ใสก่ ระบอกแกว้3. สาลี แอลกอฮอล์ (70%) หรอื สาลชี ุบนา้ ตม้ สกุ4. อาหารเหลวตามสตู รทแ่ี พทยส์ ง่ั อนุ่ พอดี5. ยาตามแพทยส์ ง่ั6. ใสน่ า้ สะอาด สาหรบั ลา้ งสาย 50 – 100 ซ.ี ซ.ี

วธิ กี ารใหอ้ าหารทางสายยาง• ขนั้ เตรยี มการ1. ตรวจสอบชนดิ และปรมิ าณสตู รอาหาร2. เตรยี มอปุ กรณ์ในการใหอ้ าหารเหลว และอาหาร เหลวตามแผนการรกั ษา3. บอกใหผ้ ปู้ ่ วยทราบ และกน้ั มา่ น4. จดั ทา่ + จดั ใหผ้ ปู้ ่ วยนอนหงายศรี ษะสงู หรอื ทา่ นง่ั + ถา้ ผปู้ ่ วยนอนหงายไมไ่ ดใ้ หน้ อนทา่ ตะแคงขวา ศรี ษะสงู อยา่ งนอ้ ย 30 องศา และสงู ไดถ้ งึ 45 องศา หรอื 60 องศา

วธิ กี ารใหอ้ าหารทางสายยาง (ตอ่ )5. ลา้ งมอื ใหส้ ะอาด และอาจสวมถงุ มอื สะอาด6. เปิ ดจกุ ทปี่ ิ ดรเู ปิ ดสายใหอ้ าหาร เช็ดรเู ปิ ดและ ดา้ นนอกของสายใหอ้ าหารดว้ ยสาลชี ุบ แอลกอฮอล์ 70 % หรอื สาลชี ุบนา้ ตม้ สกุ7. ตรวจสอบปลายสายใหอ้ าหาร+ โดยการสวมปลาย syring Feed เขา้ กบั รเู ปิ ด ของสายใหอ้ าหารใหแ้ นน่ และดดู+ ดวู า่ มอี าหารเหลวมอ้ื กอ่ นเหลอื คา้ งอยใู่ น กระเพาะอาหารหรอื ไม่ ซงึ่ มวี ธิ กี ารทดสอบดงั น้ี

วธิ กี ารใหอ้ าหารทางสายยาง (ตอ่ )1.ทดสอบดว้ ยการดดู ดสู ง่ิ ตกคา้ งในกระเพาะอาหาร (Gastric residual)+ ถา้ มนี า้ จากกระเพาะอาหารมากกวา่ 200 ซซี .ี# คอ่ ยใสน่ า้ กลบั คนื สกู่ ระเพาะชา้ ๆ# ตรวจซา้ ทกุ ครงึ่ ชว่ั โมง# จนเหลอื นอ้ ย จงึ เรมิ่ ใหอ้ าหารได้# รายงานแพทยอ์ าจมกี ารเลอื่ นเวลา หรอื งดอาหาร มอ้ื นน้ั

วธิ กี ารใหอ้ าหารทางสายยาง (ตอ่ )+ ถา้ ดดู ไดอ้ าหารเหลวมอื้ กอ่ น เหลอื นอ้ ยกวา่ ¼ ของอาหารมอื้ กอ่ น ใหอ้ าหารเหลวมอื้ นน้ั ได้+ ถา้ ดดู ไดอ้ าหารมอื้ กอ่ นเหลอื มากกวา่ ¼ ของ อาการมอื้ กอ่ น ใหเ้ ลอื่ นอาหารมอ้ื นนั้ ออกไปอกี 1 ชว่ั โมง หลงั จาก 1 ชว่ั โมงไปแลว้ gastric content ยงั ไมล่ ดลงใหร้ ายงานใหแ้ พทยท์ ราบ เพอ่ื วางแผนการรกั ษาตอ่ ไป

วธิ กี ารใหอ้ าหารทางสายยาง (ตอ่ ) • ในเด็ก + ถา้ ดดู นา้ ไดเ้ ทา่ กบั หรอื มากกวา่ ½ ของปรมิ าณ อาหารมอื้ นน้ั งดการให้ + ถา้ ดดู นา้ ไดน้ อ้ ยกวา่ ½ อาหารมอื้ นน้ั ใหต้ อ่ แตห่ กั ปรมิ าณนา้ ทดี่ ดู ได้ + ถา้ ในกรณที ด่ี ดู แลว้ ไมไ่ ดส้ งิ่ ตกคา้ ง ปฏบิ ตั วิ ธิ ที ี่ 2 ตอ่ ไป 2.ทดสอบดว้ ยการฟงั เสยี งลมผา่ นปลายสาย + ใช้ Syringe feed ดนั ลมเขา้ ไป ในผใู้ หญ่ ประมาณ 5 -10 ซซี .ี ในเด็กเล็ก ประมาณ 1-5 ซซี .ี + พรอ้ มกบั ฟงั ดว้ ย Stethoscope บรเิ วณ Xiphoid Process

วธิ กี ารใหอ้ าหารทางสายยาง (ตอ่ ) • ระยะปฏบิ ตั ิ 1.เรม่ิ ใหอ้ าหารผปู้ ่ วยโดย ... - ถอดลกู สบู ของ Syringe ออก - สวมปลาย Syringe เขา้ กบั รเู ปิ ดของสายอาหารให้ แนน่ - ถอื Syringe ใหอ้ ยใู่ นระดบั เดยี วกบั กระเพาะอาหาร ผปู้ ่ วย คอ่ ย ๆ รนิ อาหารเหลวใส่ Syringe - ยก Syringe ขน้ึ อยเู่ หนอื ระดบั กระเพาะอาหาร ผปู้ ่ วยเล็กนอ้ ย หรอื ยกใหอ้ ยใู่ นระดบั ที่ อาหาร เหลวไหลลงชา้ ๆ



วธิ ีการให้อาหารทางสายยาง (ต่อ) + ปลอ่ ยให้อาหารไหลลงสู่กระเพาะอาหาร โดยอัตราการไหล ไมค่ วรเกนิ 30 ซซี ี. / 1 นาที + ไมค่ วรถอื Syringe สงู กว่ากระเพาะอาหาร 2.เมอื่ อาหารเหลวปริมาตรสุดทา้ ยไหลออกเกือบหมด Syringe รนิ น้า 50 ซซี ี. ลงใน Syringe 3.เมอื่ นา้ ไหลออกเกือบหมด Syringe ใหป้ ฏิบตั ิดงั นี้ 3.1 ถ้าไม่ต้องการให้ยาพรอ้ มอาหาร + รินน้าลงอีก 30 ซีซี. + ยก Syringe ให้สงู ให้น้าไหลลงจนหมด

วธิ ีการให้อาหารทางสายยาง (ต่อ)3.2 ถา้ ตอ้ งใหย้ าพรอ้ มอาหาร + รินนา้ ลงใน Syringe ประมาณ 10 ซีซี. + เทยาท่ลี ดละเอยี ดแล้วลงใน Syringe + เขยา่ Syringe เบาๆ + ยก Syringe ขน้ึ ใหย้ ากบั น้าไหลลง + ค่อย ๆ รนิ น้าทีละนอ้ ยลงใน Syringe หลายๆ คร้งั จนไมม่ ยี าเกาะติดข้างใน ไมค่ วรใช้น้ามากเกนิ 50-60 ซีซี.

วิธีการให้อาหารทางสายยาง (ต่อ)4.ถ้าเป็นยาหลงั อาหาร ควรใหห้ ลังอาหาร 30 นาที - 1 ชว่ั โมง5. ถา้ ยาที่ตดิ ปลาย Syringe ควรปฏบิ ัติดังน้ี + สวมลูกสบู เข้าใน Syringe + พบั สายใหอ้ าหารไว้ + เอียง Syringe ไปมาเขยา่ ให้ยาหลดุ ออก + ตัง้ Syringe ตรงให้ยาไหลพรอ้ มกบั เขย่า Syringe ไปดว้ ย6. พบั สายใหอ้ าหาร7. ปลด Syringe ออกจากสายให้อาหาร

วธิ ีการให้อาหารทางสายยาง (ต่อ)8. เชด็ รูเปดิ และ ดา้ นนอกของสายใหอ้ าหารอกี ครัง้ ดว้ ย ส้าลีชุบน้าต้มสกุ9. ใชจ้ ุกปิดรูเปดิ สายให้อาหารระยะหลงั การปฏิบัติ1. ถอดถุงมือ และล้างมอื ใหส้ ะอาด2. จัดให้ผูป้ ่วยนอนในท่าตะแคงขวาศีรษะ สูง 45 องศา หรอื ทา่ นอนหงายต่อไปอกี 30 นาที ถงึ 1 ช่วั โมง3.เกบ็ อุปกรณเ์ คร่อื งใช้ไปทา้ ความสะอาด

วิธีการให้อาหารทางสายยาง (ต่อ)4. ลงบนั ทึกในใบบันทกึ ทางการพยาบาล วันเวลาที่ใหอ้ าหาร ชนิด ปริมาณอาหารเหลว และนา้ ทผ่ี ู้ปว่ ยได้รับ ปริมาณอาหารท่ีเหลือคา้ ง (ถ้าม)ี รวมท้ังลักษณะ สี ส่งิ คัดหล่งั หรือเศษอาหารท่ี พบ ยาที่ได้รบั กอ่ นหรอื หลังอาหาร

การให้อาหารทางสายท่ใี ส่ผ่านหน้าท้องการ ให้อาหารผ่านทางสาย หรอื เป็นการให้อาหารทางสายที่ใส่ผ่านหน้าทอ้ งของ ผู้ปว่ ย โดยทป่ี ลายสายจะอยทู่ ีก่ ระเพาะอาหารหรือล้าไส้เล็กของผ้ปู ่วย จะกระทา้ ในรายท่ไี ม่สามารถใส่สายผา่ นทางจมกู ถึงกระเพาะอาหารได้ หรือในรายท่ี ตอ้ งการให้อาหารทางสายใหอ้ าหารเป็นเวลานานๆ เชน่ ผ้ปู ่วยไมร่ สู้ กึ ตัว

วธิ ปี ฏบิ ัติ• ลา้ งมอื ใหส้ ะอาด• เตรยี มอุปกรณใ์ นการให้อาหารเหลว และอาหารเหลวตามแผนการรักษา• บอกใหผ้ ปู้ ่วยทราบ• จัดเตรยี มผปู้ ่วยนอนหงายศรี ษะสูงหรือท่านัง่ หรือถ้าผปู้ ว่ ยนอนหงายไมไ่ ด้ใหน้ อน ตะแคงขวาศีรษะสงู อยา่ งนอ้ ย 30-60 องศา• เปิดจกุ ที่เปดิ สายให้อาหาร แลว้ เชด็ รูเปดิ ด้านนอกของสายให้อาหารด้วยส้าลชี ุบ น้าต้มสกุ• สวมปลาย Asepto Syringe เข้ากบั รเู ปดิ ของสายใหอ้ าหารใหแ้ น่น• เปิด clamp สาย gastrostomy ดูดดวู ่ามอี าหารมอ้ื ก่อนเหลือค้างอยูใ่ นกระเพาะ หรอื ไม่

8.พับสาย gastrostomy แล้วปลด Asepto Syringe ออก9.สวมปลาย Asepto Syringe เขา้ กบั รูของสายขณะทยี่ ังพับอยู่ เรม่ิ ใหอ้ าหารเหลว ให้อาหารไหลลงช้า และต่อเนอ่ื งเพ่อื ป้องกันอากาศเข้ากระเพาะอาหารเมื่ออาหาร เหลวใกลห้ มดไซริงค์ค่อยๆรินน้า 30-50 มล. พบั สาย gastrostomy แลว้ ปลด Asepto Syringe10.ปิด clamp สาย gastrostomy ให้แนน่ ปดิ จกุ ท่ปี ลายสาย จัดให้ผู้ปว่ ยนอนใน ท่าตะแคงขวาศรี ษะสงู หรือนอนหงายตอ่ ไปอีก 1 ช่ัวโมง เกบ็ อปุ กรณ์เครอ่ื งใช้ท้า ความสะอาด

การดแู ลรักษาสายยางใหอ้ าหาร1. เปลย่ี นพลาสเตอรท์ ่ีตดิ สายยางกับจมกู ทุก 2 – 3 วัน หรอื เมอ่ื หลุด2. ทา้ ความสะอาดรูจมกู และรอบจมูกด้วยไมพ้ ันสา้ ลี หรือผา้ ชบุ น้า3. ระวงั สายยางเลือ่ นหลดุ ควรทา้ เครอื่ งหมายไวเ้ ปน็ จดุ สังเกตด้วย4. ถ้าสายยางเลื่อนหลดุ ไมค่ วรใสเ่ อง เพราะอาจใส่ผิดไปเขา้ หลอดลม ใหม้ าพบ แพทย์5. ควรน้ามาพบแพทย์เพอื่ เปลย่ี นสายให้อาหารเมอ่ื สกปรก หรอื ทุก 1 เดอื น


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook