Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Orange and Black Vector Job Fair Flyer

Orange and Black Vector Job Fair Flyer

Description: Orange and Black Vector Job Fair Flyer

Search

Read the Text Version

วันสํ าคั ญ • 4 มนี าคม วนั สถาปนา กศน. • ประจําเดือน • 5 มนี าคม วนั สือสารมวลชน มีนาคม... แหง่ ชาติ • • 8 มนี าคม วนั สตรสี ากล • • FACEBOOK • • 13 มนี าคม วนั ชา้ งไทย • หองสมดุ ประชาชนจงั หวดั นครสวรรค เปดบรกิ ารทกุ วนั 08.30 - 16.30 น. • 14 มนี าคม วนั รกั ษแ์ มน่ าและ หยดุ การสรา้ งเขอื น • ยกเวน วนั หยุดนักขตั ฤกษ • 17 มนี าคม วนั มวยไทย • สมัครสมาชิกไดฟ รี หลักฐานการสมัคร • 20 มนี าคม วนั อาสาสมคั ร 1.รปู ถา ยขนาด 1 นิ้ว สาธารณสขุ แหง่ ชาติ • 2.สาํ เนาบตั รประชาชน • 22 มนี าคม วนั อนรุ กั ษน์ าโลก • • 27 มนี าคม วนั ทรี ะลกึ กองทพั อากาศ • • 31 มนี าคม วนั พระบาทสมเดจ็ พระ นังเกลา้ เจา้ อยหู่ วั รชั กาลที 3 •

หอ งสมุดประชาชนจังหวดั นครสวรรค 4 มีนาคม วนั สถาปนา กศน. นับถึงปจจุบันประเทศไทยดาํ เนินการเก่ียวกับการจัดและสงเสริมการศึกษานอกระบบและการ ศึกษาตามอัธยาศัยกวา 80 ปมาแลว ในสมัยของพลตรี พระยาพหลพลพยุหเสนา นายกรัฐมนตรี ผูวาง นโยบายจัดการศึกษาผูใหญ และแถลงนโยบายตอสภาผูแทนราษฎร และไดจัดต้ังคณะกรรมการ พิจารณาเรื่อง การจัดแนวการศึกษาผูใหญ โดยวางโครงการดาํ เนินใหมีแบบแผนที่ดีและไดมอบให รัฐบาลจัดดําเนินการ เมื่อวันที่ 28 ธันวาคม 2480 ซึ่งถือเปนครั้งแรกท่ีประเทศไทยมีระบบการศึกษาที่ เอื้อตอโอกาสทางการศึกษาของผูดอย พลาด และขาดโอกาสทางการศึกษา จากภารกิจตอเนื่องมาจากกองการศึกษาผูใหญขางตน พัฒนาการเปนกรมการศึกษานอกโรงเรียน เมื่อป 2522 และถูกปรับลดโครงสรางเปนสาํ นักบริหารงานการศึกษานอกโรงเรียน เมื่อป 2546 กอนที่จะมี การประกาศใช พ.ร.บ.สงเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย พ.ศ.2551 ซึ่งมีผลบังคับใช เม่ือวันที่ 4 มีนาคม 2551 ซึ่งเปนระยะเวลา 12 ปเต็ม ในชื่อของสาํ นักงาน กศน. สังกัดสาํ นักงานปลัด กระทรวงศึกษาธิการ โดยจัดและสงเสริมการศึกษาใหผูที่ยังเรียนไมจบการศึกษาข้ันพื้นฐาน ไดศึกษา ตอตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบ ระดับการศึกษาข้ันพื้นฐาน พ.ศ.2551 ระดับประถมศึกษา มัธยมศึกษาตอนตน และมัธยมศึกษาตอนปลาย ในรูปแบบพบกลุม และทางไกล การเรียนรูปแบบนี้ รัฐบาลสนับสนุนงบประมาณรายหัว ไมมีคาใชจายในการลงทะเบียน นอกจากนี้ ยังมีการประเมินเทียบ ระดับการศึกษา ซึ่งเปนชองทางสําหรับกลุมเปาหมายที่มีความพรอมในเชิงวิชาการ และอาชีพ นอกจากนี้ สํานักงาน กศน. มีหองสมุดประชาชนจังหวัด หองสมุดประชาชนอําเภอ หองสมุด ประชาชน “เฉลิมราชกุมารี” ตลอดจนท่ีอานหนังสือชุมชน กระจายอยูท่ัวประเทศ เพ่ือใหบริการหนังสือ ส่ือ และกิจกรรมสงเสริมการอานและกิจกรรมสงเสริมการเรียนรูตามอัธยาศัย ซ่ึงประชาชนทุกคนสามารถ เขาใชบริการไดตามความสนใจและความตองการ นอกจากนี้ยังมีศูนยวิทยาศาสตรเพ่ือการศึกษา อีก 20 แหงทั่วประเทศ มีสถานีโทรทัศนเพื่อการศึกษากระทรวงศึกษาธิการ ETV ท่ีเผยแพรรายการสงเสริมการ เรียนรูผานระบบดาวเทียมใหแกผูสนใจไดเรียนรูตามอัธยาศัย การฝกทักษะอาชีพ และการพัฒนาอาชีพ หลักสูตรระยะส้ัน

5 มนี าคม วันนกั ขา วหรอื วันสอ่ื สาร มวลชนแหงชาติ มีนาคม\"ขวอันงนทักุกขปา วก\"อหตรั้งือโด\"ยวันสสม่ือาสคามรนมักวขลาชวนแแหหงงปชราะตเิ\"ทศตไรทงกยับเมว่ือันปท ่ี พ5 .ศ. 2498 และนายกสมาคมนักขาวแหงประเทศไทย สมัยน้ันคือ นายโชติ มณี นอย เปนนักขาวรุนบุกเบิก กอต้ังลงนามรวมกับบรรณาธิการหนังสือพิมพ รวม 16 ฉบับ ผูประกอบวิชาชีพหนังสือพิมพไดถือเอาวันที่ 5 มีนาคม ต้ังแตป พ.ศ. 2510 เปนวันหยุดงานประจาํ ป โดยวันท่ี 4 มีนาคมจะเปนวันนัดรวมประชุมใหญ สามัญประจําป เพื่อใหวันรุงขึ้นเปนวันหยุดนัดเฉลิมฉลองสังสรรค จัดท่ี ณ ที่ทาํ การ สมาคมนักขาวแหงประเทศไทย อาคาร 8 ถนนราชดาํ เนิน รายช่ือ 16 หนังสือพิมพที่รวมลงนามกอต้ังวันนักขาว 1. หนังสือพิมพเกียรติศักดิ์ 2. หนังสือพิมพขาวพาณิชย 3. หนังสือพิมพขาวสยาม 4. หนังสือพิมพซินเสียง 7. หนังสือพิมพไทยรัฐ 5. หนังสือพิมพเดลินิวส 8. หนังสือพิมพประชาธิปไตย 6. หนังสือพิมพตงฮ้ัว 9. หนังสือพิมพพิมพไทย 10. หนังสือพิมพหลักเมือง ความสําคัญของ \"วันนักขาว\" นับแตอดีต 11. หนังสือพิมพศิรินคร “วันนักขาว” ทาํ ใหสมาชิก และผูท่ีอยู 12. หนังสือพิมพสยามนิกร ในวงการแวดวงขาวสาร หนังสือพิมพ 13. หนังสือพิมพสยามรัฐ และสื่อทุกชองทาง ไดตระหนักถึงความ 14. หนังสือพิมพสากล สาํ คัญของขาวสาร มีการมอบรางวัลนัก 15. หนังสือพิมพบางกอกเวิลด ขาวดีเดน ภาพขาวดีเดน และขาวจาก 16. หนังสือพิมพบางกอกโพสต สาํ นักขาวตางๆ ที่จุดประกายตอยอดเปน หองสมุดประชาชนจงั หวัดนครสวรรค ประโยชนตอสังคม

8 มีนาคม 'วันสตรีสากล' วันสตรีสากล (International Women's Day) ตรงกับวันที่ 8 มีนาคมของทุกป เปนวันที่จัด ขึ้นเพ่ือเฉลิมฉลองความสําคัญของผูหญิงท่ัวโลก เพื่อใหตระหนักถึงบทบาทของผูหญิงท่ีมีตอ การขับเคล่ือนสังคมและเศรษฐกิจ ซ่ึงวันดังกลาวมีประวัติความเปนมายาวนานกวา 100 ปแลว ป ค.ศ. 1910 มีการจัดประชุมสมัชชาแรงงานสตรี ณ ประเทศเดนมารก นับเปนคร้ังแรกที่มีการแตงต้ังตัวแทน แรงงานผูหญิง จาํ นวน 100 คน จาก 17 ประเทศทั่วโลก ปตอมาจึงมีการจัดงานวันสตรีสากลข้ึน (แตเดิมใชช่ือวา \"วันสตรีแรงงานสากล\") ทาํ ใหการตอสูและนัดหยุดงานเพ่ือเรียกรองสิทธิของแรงงานหญิงดําเนินเรื่อยมา ในท่ีสุดป 1975 องคการสหประชาชาติไดประกาศใหมีการจัดงาน \"วันสตรีสากล\" ขึ้นอยางเปนทางการ เพื่อใหความสําคัญกับ บทบาทและสิทธิของสตรีท่ัวโลก \"ดอกมิโมซาสีเหลือง\" สัญลักษณแหงวันสตรีสากล สัญลักษณของวันสตรีสากล คือ \"ดอกมิโมซาสีเหลือง\" เปนดอกไมที่เปน ตัวแทนของความออนโยนของผูหญิง แตก็แข็งแกรงในคราวเดียวกัน เนื่องจากเปนดอกไมท่ีเติบโตในชวงฤดูหนาวทามกลางความหนาวเย็น แตสามารถอยูรอดจนผานฤดูหนาว และผลิดอกไดในชวงเดือนมีนาคม ซ่ึงตรงกับเดือนของวันสตรีสากลพอดีน่ันเอง นอกจากดอกมิโมซาสี เหลือง หลายประเทศในยุโรปก็ยังนิยมใชดอกทิวลิป ดอกกุหลาบ หรือ ดอกไมชนิดอ่ืนๆ มาเปนสัญลักษณ

13 มีนาคม วันชางไทย “ชาง” เปนสัตวที่มีความสัมพันธและผูกพันกับวิถีชีวิตของคนไทยมาเปน เวลานานแลว โดยเฉพาะอยางยิ่งในสมัยโบราณ ชางเปนพระราชพาหนะ เ คี ย ง คู พ ร ะ บ า ร มี พ ร ะ ม ห า ก ษั ต ริ ย ไ ท ย ทุ ก ยุ ค ทุ ก ส มั ย เ ล ย ที เ ดี ย ว แตสมัยปจจุบัน คนไทย แรกไดพิจารณาเอาวันที่สมเด็จพระ กลับเห็นคุณคาและความ นเรศวรมหาราช ทํายุทธหัตถีมีชัยชนะ สําคัญของชางไทยลดลงไป เหนือพระมหาอุปราชา แตวันดังกลาว ทุกขณะ จนชางถูกนาํ ไป ถูกใชเปนวันกองทัพไทยไปแลว จึงได เรรอนหาผลประโยชนโดย พิจารณาวันอ่ืน และเห็นวาวันที่ 13 ควาญชาง และลมตายเปน มีนาคม ซ่ึงเปนวันที่คณะกรรมการคัด จํานวนมากขึ้นทุกทีคณะ เลือกสัตวประจําชาติ มีมติใหชางเผือก อนุกรรมการจึงไดพิจารณา เปนสัญลักษณของประเทศไทยนั้นมี หาวันที่เหมาะสม ความเหมาะสม จึงไดนําเสนอมติตาม ลําดับขั้นเขาสูคณะรัฐมนตรี ซ่ึงคณะ รัฐมนตรีไดมีมติเมื่อวันที่ 26 พฤษภาคม พ.ศ. 2541 เห็นชอบใหวันที่ 13 มีนาคมของทุกป เปน “วันชาง ไทย” และไดประกาศสาํ นักนายก รัฐมนตรีลงในราชกิจจานุเบกษา เม่ือ 29 พฤษภาคม พ.ศ. 2541 ห้ อ ง ส มุุ ด ป ร ะ ช า ช น จั ง ห วั ด น ค ร ส ว ร ร ค์

14 มีนาคม วันรกั ษาแมน าํ้ และหยดุ การสรา งเข่ือน เปนวันทีมีขึนเพือให้คนทัวโลกตระหนักรูแ้ ละให้ความสาํ คัญ กับการ รกั ษาแหล่งนาํ แม่นาํ และหยุดการสรา้ งเขือนทีกระทบกับสิงแวดล้อม เพืออนุรกั ษ์แหล่งนาํ ตามธรรมชาติ และหยุดการเบียดเบียนสิงมีชีวิต! จุดเริ่มตนของวันสาํ คัญน้ี ตองนับยอนกลับไปในเดือนกันยายน 2538 หรือเม่ือ 23 ปกอน ขบวนการคัดคานเขื่อนแหงบราซิล (Movimento dos Atingidos por Barragens) ไดมีการรวม ตัวกันเพ่ือหารือถึงปญหาและตอตานความหายนะที่เกิดข้ึนจากการสรางเขื่อนพวกเขาตระหนักถึงความ สําคัญของภาคพลเมือง และเล็งเห็นวาปญหานี้ยอมไมไดเกิดข้ึนแคประเทศบราซิลท่ีเดียว แตยังเกิด ขึ้นในลุมแมนาํ้ ตาง ๆ ทั่วโลกท่ีประชุมจึงไดเสนอใหมีการจัดประชุมสาํ หรับประชาชนผูไดรับผลกระ ทบจากเขื่อนในระดับนานาชาติ ในครั้งนั้นเอง ที่ประชุมไดตกลงตั้งประกาศกูริติบา เพ่ือ \"ยืนหยัดการมีสิทธิความเปนมนุษย และวิถีชีวิตของ ประชาชนผูไดรับผลกระทบจากเข่ือน\" และกําหนดใหวันท่ี 14 มีนาคม ของทุกป เปน วันหยุดเขื่อนโลก โดยมีคาํ ขวัญท่ีจะใชรวมกันวา นา้ํ เพ่ือชีวิตไมใชเพื่อความตาย

17 มีนาคม วันมวยไทย วันมวยไทย หรือวันนักมวย ตรงกับวันท่ี 17 มีนาคม ของทุกป ซ่ึงในวันน้ีถือเปนวันระลึกเหตุการณในอดีตสมัย กรุงศรีอยุธยาเสียกรุงครั้งที่ 2 ที่ นายขนมตม นักมวยคาดเชือกชาวกรุงศรีอยุธยา ไดขึ้นชกมวยตอหนาพระท่ีนั่ง พระเจามังระ ในวันที่ 17 มีนาคม พ.ศ. 2317 และสามารถชนะไดถึงสิบคน ทาํ ใหศิลปะการตอสู การปองกันตัว ของไทยไดเปนท่ีรูจัก และมีชื่อเสียงตั้งแตบัดนั้นเปนตนมาพรอมกันนี้นายขนมตมยังไดรับการยกยองใหเปน เสมือน \"บิดามวยไทย\" อีกดวย ประวตั ินายขนมตม นายขนมตม เกดิ ทต่ี าํ บล บานกมุ อาํ เภอบางบาล จังหวดั พระนครศรีอยธุ ยา เปน บตุ รของนาย เกดิ และ นางอี มีพสี่ าวช่ือ เออื้ ย แตห ลงั การบกุ ของทพั พมาไดท าํ ใหพอแมและพีส่ าวถกู พมาฆาตาย ทง้ั หมดมีเพยี งแตน ายขนมตม คนเดยี ว ทร่ี อดชีวิตมาได จากการถูกจับเปนเชลยในระหวางการเสยี กรงุ ศรอี ยธุ ยาครงั้ ท่ี 2 และไดไปอาศยั อยูในวดั ต้งั แตเ ล็ก ก็ไดเรยี นร็ูวชิ าการตอ สูแมไ มม วยไทยอยาง ตอ เนอ่ื ง จนมชี ือ่ เสยี งเปนทเ่ี ลอื งลอื ดงั ปรากฎในพงศาวดารวา ”เมื่อพระเจามังระโปรดใหป ฏสิ งั ขรณและกอ เสริมพระเจดยี ช เวดากองในเมืองยางกงุ เปน การใหญ น้นั ครน้ั งานสาํ เรจ็ ลงในป พ.ศ. 2317 พอถึงวนั ฤกษงามยามดี คือวนั ท่ี 17 มีนาคม จึงโปรดใหท ํา พิธยี กฉตั รใหญข ้ึนไวบ นยอดเปน ปฐมฤกษ แลว ไดทรงเปดงานมหกรรมฉลองอยา งมโหฬาร ขนุ นาง พมา กราบทลู วา “นักมวยไทยมฝี มือดยี ง่ิ นัก” หลังจากท่ีนายขนมตมเอาชนะนักมวยพมาไดแ ลว พระเจามงั ระ ไดป ูบาํ เหน็จใหเปนขารบั ใชใ นกรุงอังวะแตน ายขนมตม ปฏเิ สธแตข อเปนการปลดปลอยตนและเชลยคนไทยทง้ั หมด เพื่อเปนอิสระ พระเจามังระ จงึ ยอมทําตามคาํ ขอ ในท่สี ดุ นายขนมตม และเชลยไทยได เดินทางกลับบา นเกิด คือ กรุงธนบุรี ที่เปนราชธานีสมัย พระเจากรุงธนบุรี หรือ ตากสนิ มหาราช ที ม า : H T T P S : / / W W W . T R U E P L O O K P A N Y A . C O M / L E A R N I N G / D E T A I L / 3 0 9 3 2 สื บ ค้ น โ ด ย : น า ง ส า ว ช ล ธิช า ยื น เ ค รือ

....20 มนี าคม.... วนั อาสาสมัครสาธารณสุขแหงชาติ วันอาสาสมัครสาธารณสุขแหงชาติ “อสม.แหงชาติ” กอนจะไปรูจักที่มาของ วันอาสาสมัครสาธารณสุขแหงชาติ เรานาจะมารูจักความหมายของอาสาสมัคร สาธารณสุข หรือ อสม. กันกอน โดย อาสาสมัครสาธารณสุข ก็คือ บุคคลท่ี สมัครใจจะทํางานเพื่อสังคมโดยสวนรวม ในดานการพัฒนาสุขภาพ ตามแนว นโยบายของกระทรวงสาธารณสุข โดยไมไดรับคาตอบแทนเปนรายเดือน บ ทบาทหนาที่ของอาสาสมัครสาธารณสุข หลายคนอาจสงสัยอยูบางวา แลวอาสาสมัครสาธารณสุขตองทําอะไรบาง ซึ่งหนาท่ีหลัก ๆ ของอาสาสมัครสาธารณสุข หรือ อสม. ก็คือ ทาํ หนาที่ดูแลคุณภาพชีวิตของคนในชุมชนใหมี สุขภาพแข็งแรงอยางทั่วถึงและตอเน่ือง เพ่ือใหคนในชุมชนปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ จน กลายเปน “ชุมชนจัดการระบบสุขภาพเขมแข็ง เมืองไทยแข็งแรง” ตามนโยบายของภาครัฐ น่ันเอง ท้ังนี้ ผูที่จะเขามาเปนอาสาสมัครน้ัน จะตองมีความสมัครใจท่ีจะทํางานเพ่ือสวนรวมดวย ความเสียสละ และมีเวลาพอท่ีจะชวยเหลือชุมชน นอกจากน้ี ควรจะเปนคนที่มีที่อยูอาศัยและ ประกอบอาชีพในหมูบานน้ัน ๆ ดวย เพ่ือใหประชาชนเขาไปติดตอไดงาย ค วามเปนมาวันอาสาสมัครสาธารณสุขแหงชาติ ดวยความท่ีกระทรวงสาธารณสุข มีนโยบายที่จะใหประชาชนไดรับบริการ สาธารณสุขอยางทั่วถึง ตลอดจนมีสวนรวมในการดาํ เนินงาน และพัฒนาสาธารณสุข จึงไดมีการจัดตั้งอาสาสมัครสาธารณสุขประจําหมูบาน เม่ือป พ.ศ. 2520 ซ่ึงเร่ิมดวย การเปนโครงการทดลองใน 20 จังหวัด จากนั้นก็ไดขยายพื้นที่ทดลองไปเรื่อย ๆ ใน ทุกอําเภอ กระทั่งในสมัย พลเอก เกรียงศักด์ิ ชมะนันทน เปนนายกรัฐมนตรี รัฐบาล ไดเล็งเห็นความสําคัญของการสาธารณสุข จึงไดอนุมัติใหบรรจุ “โครงการ สาธารณสุขมูลฐานแหงชาติ” เขาเปนโครงการหน่ึงในแผนพัฒนาการสาธารณสุข แหงชาติที่ถือเปนนโยบายระดับชาติ และไดลงมติอนุมัติใหเปล่ียนคําวา”สาธารณสุข เบื้องตน” เปน “การสาธารณสุขมูลฐาน” เมื่อวันที่ 20 มีนาคม พ.ศ. 2522 ตอมาในป พ.ศ. 2535 อาสาสมัครสาธารณสุขประจําหมูบานก็ไดรับการยกระดับ ใหเปน “อาสาสมัครสาธารณสุข” หรือ อสม. และถัดจากนั้นไมนาน กระทรวง สาธารณสุขก็ไดเสนอเร่ืองตอคณะรัฐมนตรี เพ่ือขอใหกาํ หนดเอาวันที่ 20 มีนาคม ของทุกปเปน “วันอาสาสมัครสาธารณสุขแหงชาติ” เพื่อเปนการใหความสําคัญของ อาสาสมัครสาธารณสุข ในท่ีสุดแลว เมื่อวันท่ี 21 ธันวาคม 2536 คณะรัฐมนตรีสมัย นายชวน หลีกภัย ก็ไดมีมติอนุมัติใหทุกวันท่ี 20 มีนาคมของทุกป เปน “วันอาสา สมัครสาธารณสุขแหงชาติ” ดังนั้น กระทรวงสาธารณสุขจึงไดเริ่มตนจัดงานเฉลิม ฉลองในนามวันอาสาสมัครสาธารณสุขแหงชาติเปนประจาํ ทุกป ต้ังแตวันท่ี 20 มีนาคม 2537 เปนตนมา

วันที่ 22 มีนาคม วันอนุรักษนํา้ โลก WORLD WATER DAY วันอนุรักษ์นาํ โลก หรือ WORLD WATER DAY ตรงกับวันที 22 มีนาคม ของทุกป ซึงถือเปนวันสาํ คัญวันหนึงของมวลมนุษยชาติเลยทีเดียว เพราะมนุษย์เราต้องใช้ทรัพยากรนําในการดาํ รงชีวต วันอนุรักษ์นําโลก มีจุดเรมต้นจากการประชุมเรองสิงแวดล้อมและ การพัฒนาแห่งสหประชาชาติ ทีเมืองรโอ เดอ จาเนโร ประเทศ บราซิล ในวันที 22 มีนาคม ป 1992 ทีมีเนือหาสาํ คัญโดยตระหนัก ถึงการใช้ทรัพยากรนาํ ของมนุษย์ จึงมีแนวคิดทีจะจัดกิจกรรมทีจะ เปนแผนแม่บทให้ประเทศต่าง ๆ ทัวโลกได้เฝาระวังทรัพยากรนาํ ใน ประเทศนัน ๆ และในวันนันเองสมัชชาทัวไปแห่งสหประชาชาติก็ได้ ออกประกาศให้วันที 22 มีนาคม ของทุกป เปนวัน World Water Day หรอ วันอนุรักษ์นาํ โลก

27 มีนาคม วันที่ระลึกกองทัพอากาศ กิจการบินของไทย เริ่มตนในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัว เนื่องจากชวงเวลา ดังกลาว ไดมีชาวตางชาตินําเครื่องบินมาบินแสดงใหชาวไทยไดชมเปนครั้งแรก ในวันที่ 2 กุมภาพันธ พ.ศ. 2454 เมื่อเห็นเชนน้ัน พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัว ทรงพิจารณาเห็นวา ประเทศไทย จําเปนจะตองมีเคร่ืองบินไวเพื่อปองกันภัยการคุกคามท่ีจะเกิดข้ึน ดังน้ัน กระทรวงกลาโหม จึงต้ัง \"แผนการบิน\" ข้ึนมาในกองทัพบก พรอมทั้งไดคัดเลือกนายทหารบก 3 นาย ซึ่งมีคุณสมบัติเหมาะสม ไปศึกษาวิชาการบิน ณ ประเทศฝร่ังเศส ไดแก นายพันตรี หลวงศกั ดิ์ศลั ยาวุธ นายรอยเอก หลวงอาวธุ สิขกิ ร นายรอยโท ทพิ ย เกตทุ ตั (สณุ ี สุวรรณประทีป) ตอ มาเปน (หลง สนิ ศุข) ตอมาเปน นาวา ตอ มาเปน นาวาอากาศเอก อากาศเอก พระยาเวหาสยาน พลอากาศโท พระยาเฉลมิ พระยาทะยานพิฆาต อากาศ ศิลปสทิ ธ์ิ และท้ัง 3 นายไดรับการยกยองจากกองทัพอากาศใหเปน \"บุพการีของกองทัพอากาศ\" ท้ังนี้ ในขณะที่ทั้ง 3 นายไดเขาเรียนท่ีบริษัท นีเออรปอรต (Nieuport Company) ในเดือนมกราคม พ.ศ. 2454 น้ัน ทางราชการก็ไดซ้ือเคร่ืองบินเปนครั้งแรก จํานวน 8 ลํา โดยระยะแรก ไดใชสนาม มาสระปทุม (ราชกรีฑาสโมสร) เปนสนามบิน แตดวยปญหาบางประการทําใหสนามมาสระปทุมไม สามารถรองรับกิจการการบินท่ีเติบโตขึ้นได จอมพล สมเด็จเจาฟาจักรพงษภูวนาถ ทรงยายที่ต้ัง แผนกการบิน มาท่ีตาํ บลดอนเมือง ต้ังแตวันท่ี 1 มีนาคม พ.ศ. 2457 และทรงยกฐานะแผนกการ บินเปน \"กองบินทหารบก\" ในวันที่ 27 มีนาคม พ.ศ. 2457 ดังน้ัน กระทรวงกลาโหม จึงยึดถือวันนี้ เปน \"วันท่ีระลึกกองทัพอากาศ\"

31 มีนาคม วันพระบาทสมเด็จพระนงั เกล้าเจา้ อยู่หัว เปนวันคลายวันพระราชสมภพของพระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัว ซ่ึงตรงกับวันท่ี 31 มีนาคม 2330 และดวยความสํานึกในพระเมตตาธิ คุณและพระมหากรุณาธิคุณ อันมีเปนอเนกประการ คณะรัฐมนตรีมีมติเมื่อวันท่ี 1 กันยายน 2535 กาํ หนดใหวันที่ 31 มีนาคม ของทุกป เปน \"วันระลึกพระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัว พระมหาเจษฎาราชเจา\" หรือ \"วันเจษฎา\" เพื่อนอมรําลึกถึงพระองคทาน พระราชประวัติ วันพระบาทสมเด็จพระน่ังเกลาเจาอยูหัว พระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัว รัชกาลท่ี 3 พระนามเดิมวา \"หมอม เจาชายทับ\" เปนพระราชโอรสพระองคใหญในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหลา นภาลัย รัชกาลที่ 2 และเจาจอมมารดาเรียม พระราชสมภพเมื่อวันท่ี 31 มีนาคม 2330 ณ พระราชวังเดิมธนบุรี เม่ือป 2356 ซ่ึงเปนรัชสมัยของพระบาทสมเด็จ พระพุทธเลิศหลานภาลัย รัชกาลที่ 2 ขณะน้ัน หมอมเจาชายทับ มีพระชันษาได 26 ป ทรงไดรับการสถาปนาข้ึนเปนเจาตางกรม ทรงพระนามวา \"พระเจาลูกยา เธอ กรมหมื่นเจษฎาบดินทร\" โดยทรงไดรับความไววางพระราชหฤทัยจาก สมเด็จพระบรมชนกนาถ ใหทรงกาํ กับราชการกรมทา กรมพระคลังมหาสมบัติ กรมพระตาํ รวจวาความฎีกา พระราชกรณียกิจ ตลอดระยะเวลาที่รัชกาลที่ 3 ทรงครองราชสมบัติ ประมาณ 27 ป ต้ังแตป 2367-2394 พระองคทรงปกครองประเทศโดยทํานุ บาํ รุงใหชาติเขมแข็งรุงเรือง โดยทรงมีสวนรวมกับขุนนางในการบริหารราชการ และทรงควบคุมกิจการบานเมืองดวยพระองคเองมา ตลอดรัชสมัยของพระองค และทรงเพิ่มพูนรายไดของประเทศชาติอยางหลากหลายวิธี อาทิ การสงสินคาไปคาขายกับตางประเทศ การเปลี่ยนแปลงและปรับปรุงการเก็บภาษีอากรจากรูปของสินคาและแรงงานเปนการชาํ ระดวยเงินตรา รวมถึงมีการเก็บภาษีตั้งขึ้น ใหมถึง 38 อยาง เพ่ือมิใหบังเกิดความขาดแคลนเหมือนเม่ือคร้ังรัชกาลกอน ทั้งยังไดเพิ่มงบประมาณการปองกันประเทศ สราง กองทัพเรือ ขุดคูคลอง สรางปอมปราการเพ่ือรักษาปากนา้ํ จุดสําคัญ ๆ ในขณะเดียวกันก็ทาํ นุบาํ รุงประเทศพรอมกันไปดวย คร้ันเม่ือพระองคเสด็จสวรรคตลวงเลยมา 43 ป พระองคไดพระราชทานพระราชทรัพยสวนพระองค คือ \"เงินถุงแดง\" ไวเพ่ือประโยชนแกแผนดิน และเงินจาํ นวนน้ีสามารถใชกอบกูเอกราชในดินแดนบางสวน และรักษาอาํ นาจอธิปไตยไวไดจนทุกวันนี้ ประชาชนชาวไทยและรัฐบาลจึงพรอมใจกันประดิษฐานพระราชานุสาวรีย ณ ลานพลับพลามหาเจษฎาบดินทร หนาวัดราชนัดดา ในป 2541 โดยทางราชการมีการถวายพระราชสมัญญาวา \"พระมหาเจษฎาราชเจา\" และไดใชช่ือวันงานใหมวา \"วันที่ระลึกพระบาทสมเด็จ พระนั่งเกลาเจาอยูหัว พระมหาเจษฎาราชเจา\" ดานการทํานุบาํ รุงพระพุทธศาสนา : พระองคทรงเล่ือมใสในพระพุทธศาสนามาก ทรงสรางวัดใหมข้ึน 3 วัด คือ วัดบวรนิเวศวิหาร วัดเทพธิดาราม และวัดราช นัดดา ทรงบูรณปฏิสังขรณวัดเกาอีก 35 วัด เชน วัดพระศรีรัตนศาสดาราม ซึ่งสรางมาต้ังแตรัชกาลที่ 1 วัดอรุณราชวราราม วัดราชโอรสาราม เปนตน ดานความเปนอยู : ในรัชสมัยของพระองคไดมีศาสนาจารยและนายแพทยชาวอเมริกันและอังกฤษเดินทางเขามาเผยแพรคริสต ศาสนาเพิ่มมากขึ้น หน่ึงในจํานวนน้ีคือ ศาสนาจารยแดน บีช บรัดเลย เอ็ม.ดี. หรือท่ีคนไทยรูจักกันดีในนามของ หมอบรัดเลย ไดเปนผู ริเริ่มใหมีการปลูกฝปองกันไขทรพิษ และการฉีดวัคซีนปองกันอหิวาตกโรคและการผาตัดข้ึนเปนคร้ังแรกในกรุงรัตนโกสินทร นอกจากน้ี หมอบรัดเลยยังไดคิดตัวพิมพอักษรไทยข้ึน (พ.ศ. 2379) ทําใหมีการพิมพหนังสือภาษาไทยเปนครั้งแรก โดยพิมพคําสอนศาสนาคริสต เปนภาษาไทย เมื่อวันที่ 26 ตุลาคม พ.ศ. 2379 ตอมา พ.ศ. 2385 หมอบรัดเลยพิมพปฏิทินภาษาไทยข้ึนเปนครั้งแรก


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook