CPALL ซีพี ออลล์ C.P. ALL PUBLIC LIMITED COMPANY ธุรกิจค้าปลีกประเภทร้านค้าสะดวกซื้อภายใต้เครื่องหมายการค้า เซเว่น อีเลฟเว่น ในประเทศไทย
รายงาน วิชา ORGANIZATION AND HUMAN RESOURCE MANAGEMENT (MG111) เสนอ DR.THANAKIT VONGMAHASETHA จัดทำโดย นางสาววราพร อาคะพงศ์ ปีการศึ กษา 2/2564 คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยกรุ งเทพ
คำนำ หนั งสืออิเล็กทรอนิ กส์เล่มนี้ จัดทำขึ้นเพื่อเป็นส่วนหนึ่ งของวิชาการ จัดการองค์การและทรัพยากรมนุษย์ ORGANIZATION AND HUMAN RESOURCE MANAGEMENT (MG111) เพื่อศึกษาธุรกิจของซีพี ออลล์ เนื้ อหาประกอบด้วย ดำเนิ นธุรกิจเกี่ยวกับอะไร วัตถุประสงค์ที่ใช้ ลักษณะโครงสร้างองค์กร กลุ่มเป้าหมาย สินค้าและบริการที่จัดจำหน่ าย กิจกรรมเพื่อสังคม และธุรกิจค้าปลีก ผู้จัดทำคาดหวังเป็นอย่างยิ่งว่าการจัดทำเอกสารฉบับนี้ จะมีข้อมูลที่ เป็นประโยชน์ ต่อผู้ที่สนใจศึกษาด้านธุรกิจซีพี ออลล์ ผู้จัดทำ
สารบัญ หน้ า เรื่อง 1 3 ประวัติความเป็นมา 4 วัตถุประสงค์ 5 ลักษณะโครงสร้างองค์กร 6 กลุ่มเป้าหมาย 10 สินค้าและบริการจำหน่ าย 11 กิจกรรมเพื่อสั งคม 13 ธุรกิจค้าปลีกคืออะไร บรรณนุกรม
1 1.ความเป็นมา วัตถุประสงค์ เมื่อปี พ.ศ. 2531 บริษัท ซี.พี. คอนวีเนี ยนสโตร์ จำกัด ได้รับสิทธิ์การใช้ เครื่องหมายการค้าเซเว่น อีเลฟเว่นจาก 7-Eleven, Inc. สหรัฐอเมริกา จึงเริ่ม ดำเนิ นธุรกิจร้านสะดวกซื้อเซเว่น อีเลฟเว่น จากนั้ นเปลี่ยนชื่อมาเป็นบริษัท ซี.พี. เซเว่นอีเลฟเว่น จำกัด และได้เปิดสาขาแรกที่ซอยพัฒน์ พงษ์ต่อมาปี 2537 จัดตั้งบริษัท เคาน์ เตอร์เซอร์วิส จำกัด เพื่อประกอบธุรกิจเป็นตัวแทนรับชำระ เงินค่าสินค้าและบริการ ปี 2539 จัดตั้งบริษัท ซี.พี. ค้าปลีกและการตลาด จำกัด เพื่อประกอบธุรกิจผลิตและจำหน่ ายอาหารแช่แข็งและเบเกอรี ในปี 2541 จัดตั้ง Lotus Distribution Investment Limited และในปีนี้ เองที่ได้จดทะเบียน แปรสภาพเป็นบริษัทมหาชนจำกัด ในชื่อ บริษัท ซี.พี. เซเว่นอีเลฟเว่น จำกัด (มหาชน) ปี พ.ศ. 2545 ได้ร่วมมือกับ บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน) ในการเปิดร้านเซ เว่น อีเลฟเว่นในสถานี บริการน้ำมัน ปตท. จนปี 2550 ได้เปลี่ยนชื่อบริษัทมา เป็น บริษัท ซีพี ออลล์ จำกัด (มหาชน) และเปลี่ยนชื่อย่อหลักทรัพย์ในระบบ การซื้อขาย จาก CP7-11 มาเป็น CPALL ต่อมาปี 2556 เข้าซื้อกิจการ บริษัท สยามแม็คโคร จำกัด (มหาชน) ซึ่งประกอบธุรกิจศูนย์จำหน่ ายสินค้าระบบ สมาชิกแบบชำระเงินสดและบริการตนเอง การซื้อกิจการสยามแม็คโครเพื่อใช้ เป็นช่องทางนำสิ นค้าจากประเทศไทยโดยเฉพาะสิ นค้าจากผู้ผลิตขนาดเล็ก และขนาดกลาง (SME) และสินค้าผลิตผลทางการเกษตร อาหารแช่แข็งและ อาหารสดของไทย ไปจำหน่ ายในประเทศกลุ่มอาเซียน ในวันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2561 บริษัทมีสาขาทั้งสิ้น 10902 สาขา
2 1.ความเป็นมา วัตถุประสงค์ 9 มีนาคม พ.ศ. 2563 กลุ่มซีพีและซีพี ออลล์ ชนะการประมูลเทสโก้ โลตัส ด้วยมูลค่า 3.38 แสนล้านบาท โดยซีพี ออลล์ ถือ 40% กลุ่มซีพีถือ 40%, ซีพี เม อร์แชนไดซิ่ง (บริษัทลูก CPF) ถือ 20% ปัจจุบันได้โอนกิจการทั้งหมดให้สยาม แม็คโครซึ่งเป็นบริษัทลูกของ ซีพี ออลล์ เป็นผู้ดูแล และในเดือนพฤษภาคม ซีพี ออลล์ กัมพูชา บริษัทย่อยของซีพี ออลล์ ได้รับสิทธิแฟรนไชส์ในการจัดตั้ง และดำเนิ นการร้าน เซเว่นอีเลฟเว่นในประเทศกัมพูชาเป็นเวลา 30 ปี และคู่ สัญญาอาจตกลงต่ออายุสัญญาได้อีก 2 ครั้ง ๆ ละ 20 ปี
3 2.วัตถุประสงค์ มุ่งสร้างความผูกพันกับลูกค้าด้วยการสรรหา สินค้าและบริการที่มีคุณภาพ ภายใต้การบริหาร งานแบบ Harmony พร้อมสร้างสัมพันธภาพที่ดี กับสังคม และชุมชน
4 3.ลักษณะโครงสร้างองค์กร
5 4.กลุ่มเป้าหมาย ทั้งนี้ ในปี 2564 บริษัทปรับปรุงกรอบการดำเนิ นการเพื่อการพัฒนา อย่างยั่งยืน ทั้งระยะสั้นและระยยาว ระยะที่ 2 ที่คอรบคลุมการดำเนิ นงาน ตั้งแต่ปี 2564-2573 โดยพิจารณาจากเหตุการณ์ปัจจุบัน และแนวโน้ มของ โลก (Global Trend) ตลอดจนศักยภาพของบริษัท โดยเพิ่มประเด็นสำคัญ ใหม่ ได้แก่ การเข้าถึงอาหารและน้ำที่ปลอดภัยและสุขภาวะที่ดี ประสิทธิภาพ การใช้พลังงาน การจัดการบรรจุภัณฑ์ที่ยั่งยืน และการจัดการขยะอย่าง ยั่งยืน
6 5.สิ นค้าและ บริการจัดจำหน่ าย บริษัท ซีพี ออลล์ จากัด (มหาชน) ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี 2531 โดยบริษัทในเครือ เจริญโภคภัณฑ์ เพื่อให้เป็นบริษัทของ คนไทยที่ประกอบธุรกิจหลักด้านค้า ปลีกประเภทร้านค้าสะดวกซื้อในประเทศไทยภายใต้เครื่องหมายการค้า “7-Eleven” โดยบริษัทได้รับสิทธิการใช้เครื่องหมายการค้าดังกล่าวจาก 7-Eleven, Inc. สหรัฐอเมริกา และได้เปิดร้านสาขาแรกที่ ซอยพัฒน์ พงษ์ เมื่อปี 2532 ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2556 บริษัทมีร้าน 7-Eleven ทั่วประเทศรวม 7,210 สาขา โดยเป็นร้านในกรุงเทพฯ และ ปริมณฑล 3,326 สาขา (คิดเป็นร้อยละ 46) เป็นร้านในต่างจังหวัด 3,884 สาขา (คิดเป็นร้อยละ 54) เมื่อแบ่งตาม ประเภท ของร้านพบว่า มีร้านสาขาบริษัท 3,215 สาขา (คิดเป็นร้อยละ 45) ส่วน ที่เหลือเป็นร้านแฟรนไชส์ 3,437 สาขา (คิดเป็นร้อย ละ 48) และร้านค้าที่ได้รับ สิทธิช่วงอาณาเขต 558 สาขา (คิดเป็นร้อยละ 8) ปัจจุบันมีลูกค้าเข้าร้าน 7- Eleven เฉลี่ยวันละ 9.5 ล้านคน ทั้งนี้ ตั้งแต่ 1 มกราคม ถึง 30 มิถุนายน 2556 บริษัทได้ขยายสาขาร้าน 7-Eleven อย่างต่อเนื่ องรวม 388 สาขา ทั้งในรูปแบบของร้านในทาเลปกติ และร้านในสถานี บริการน้ กามันของบริษัท ปตท. จากัด (มหาชน) เพื่อให้ ครอบคลุมพื้นที่ ของลูกค้ากลุ่มเป้าหมายท้ังในกรุงเทพฯ และต่างจังหวัด โดย ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2556 บริษัทมี ร้านในทาเลปกติ 6,193 สาขา (คิดเป็นร้อยละ 86) และ ร้านในสถานี บริการน้ ามัน ปตท. 1,017 สาขา (คิดเป็นร้อ ยละ 14)
7 5.สิ นค้าและ บริการจัดจำหน่ าย นอกจากนั้ น บริษัทได้ขยายการลงทุนไปในธุรกิจที่ช่วยสนั บสนุนธุรกิจ ร้านค้าปลีกในประเทศไทยอย่างต่อเนื่ อง ดังต่อไปนี้ บริษัท เคาน์ เตอร์เซอร์วิส จากัด (CS) เพี่อประกอบธุรกิจเป็นตัวแทนรับ ชำระเงินค่าสิ นค้าและบริการ บริษัท ซีพีแรม จกกัด (CPRAM) เพี่อประกอบธุรกิจผลิตและจกหน่ าย อาหารแช่แข็งและเบเกอรี่ บริษัท ซีพี รีเทลลิงค์ จกกัด (CPR) เพื่อประกอบธุรกิจการจพหน่ ายและ ซ่อมแซมอุปกรณ์ ค้าปลีก บริษัท ไทยสมาร์ทคาร์ด จกกัด (TSC) (ลงทุนร่วมกับพันธมิตรทางธุรกิจ) เพื่อให้บริการชาระค่าสิ นค้าและ บริการผ่านบัตรเติมเงินอิเล็กทรอนิ กส์ (Smart Purse) บริษัท โกซอฟท์ (ประเทศไทย) จากัด (GOSOFT) เพื่อให้บริการออกแบบ และพัฒนาระบบงานด้านสารสนเทศ บริษัท เอ็ม เอ เอ็ม ฮาร์ท จกกัด (MAM) เพื่อให้บริการปรึกษาวางแผน กิจกรรมทางการตลาด บริษัท ไดนามิค แมนเนจเม้นท์ จำกัด (DM) เพื่อให้บริการบริหารงาน กิจการขนส่ งสิ นค้าและกระจายสิ นค้า
8 5.สิ นค้าและ บริการจัดจำหน่ าย บริษัท ศึกษาภิวัฒน์ จากัด (SPW) เพื่อให้บริการด้านการศึกษา อันได้แก่ วิทยาลัยเทคโนโลยีปัญญาภิวัฒน์ ซึ่งเปิดสอนในระดับอาชีวศึกษา และ สถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์ สกหรับหลักสูตรระดับปริญญาตรี 5 สาขา ได้แก่ บริหารธุรกิจ วิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยี ศิลปศาสตร์ วิทยาการจัดการ และนิ เทศศาสตร์ และระดับปริญญาโท 1 สาขา คือ บริหารธุรกิจ บริษัท ปัญญธารา จกกัด (PTR) เพื่อประกอบกิจการการจัดฝึกอบรม และ การจัดสั มมนาทางวิชาการ บริษัท ออลล์ เทรนนิ่ ง จพกัด (ATN) เพื่อประกอบกิจการการจัดฝึกอบรม และการจัดสัมมนาทางวิชาการเฉพาะพนั กงานของบริษัทในเครือ บริษัท ออลล์ คอร์ปอเรชั่น จพกัด เพื่อประกอบกิจการลงทุนในบริษัทอื่น นอกจากนี้ บริษัทยังมีการขยายช่องทางธุรกิจภายใต้การบริหารจัดการของ บริษัท อาทิ ธุรกิจ 7-Catalog Order เพ่ือเป็นการขยายช่องทางธุรกิจด้านการสั่งซ้ือสิ นค้าผ่านทาง ”วารสารแคตตาล็อก” ธุรกิจ บุ๊คสไมล์ (Book Smile) เพ่ือเป็นช่องทางในการจาหน่ ายหนั งสือและ วารสาร
9 5.สิ นค้าและ บริการจัดจำหน่ าย ธุรกิจ เอ็กซ์ต้า (eXta) โดยเป็นร้านสุขภาพและความงามดาเนิ นธุรกิจจัดจา หน่ ายสินค้าประเภทยาและเวชภัณฑ์ สินค้าสุขภาพ และเครื่องสาอาง ธุรกิจ คัดสรร (Kudsan) เพื่อเป็นช่องทางจาหน่ ายสินค้าที่คัดสรรพิเศษทั้ง กาแฟ และเบเกอรี่ บริษัทยังมีการขยายธุรกิจไปยังธุรกิจค้าส่ง ด้วยการเข้าซื้ออกิจการบริษัท สยามแม็คโคร จกกัด (มหาชน) (Makro) ซึ่งเป็นผู้ประกอบการค้าส่งสมัยใหม่ แต่เพียงรายเดียวในประเทศไทย ทกให้บริษัทสามารถขยายธุรกิจเข้าสู่ธุรกิจค้า ส่ง ซึ่ง จะเพิ่มฐานลูกค้าท้ังในด้านปริมาณและความหลากหลาย
10 6.กิจกรรมเพื่อสั งคม ซีพี ออลล์ เดินหน้ าพัฒนา “โรงเรียนต้นแบบ” 4 ด้าน ไอซีทีและ วิชาการ-วิชาชีพ-เกษตร-สิ่งแวดล้อม ภายใต้โครงสานอนาคตการ ศึกษา CONNEXT ED ชูความสำเร็จ 4 โรงเรียนเด่น ห้องเรียน AI-ร้าน กาแฟสร้างอาชีพ-Young Smart Farmer-ต้นกล้าไร้ถัง บูรณาการ หลักสูตรกับ 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ ขยายผลสู่ศูนย์การเรียนรู้ชุมชน สร้างรายได้ยั่งยืน เล็งขยายผลโครงการต้นกล้าไร้ถัง เพิ่มเติมอีกกว่า 200 โรงเรียน ภายในครึ่งปีแรกของปีนี้ หวังต่อยอดการสร้างโอกาส เยาวชนควบคู่การพัฒนาทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 นายยุทธศักดิ์ ภูมิสุรกุล ประธานเจ้าหน้ าที่บริหาร (รษก) บริษัท ซีพี ออลล์ จำกัด (มหาชน) ผู้บริหารเซเว่น อีเลฟเว่นและเซเว่น เดลิเว อรี่ กล่าวว่า ในฐานะหนึ่ งในพันธมิตรผู้ร่วมก่อตั้งมูลนิ ธิสานอนาคต การศึกษา คอนเน็ กซ์อีดี (CONNEXT ED) เพื่อร่วมขับเคลื่อนแผนงาน สร้างอนาคตการศึกษาไทย ซีพี ออลล์ ยังคงมุ่งมั่นดูแลและยกระดับ การศึกษาของโรงเรียนและชุมชนต่างๆ เพื่อร่วมสร้างสรรค์และแบ่งปัน โอกาสให้เยาวชนไทยอย่างต่อเนื่ อง โดยในปีนี้ บริษัทยังคงพยายาม ต่อยอดให้โรงเรียนที่ดำเนิ นโครงการ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ หรือ Best Practice สามารถพัฒนาขึ้นมาจนเป็น โรงเรียนต้นแบบ หรือ School Model ใน 4 ด้านหลัก ได้แก่ 1.ด้านไอซีทีและ วิชาการ 2.ด้านวิชาชีพ 3.ด้านการเกษตร และ 4.ด้านสิ่งแวดล้อม เพื่อให้เกิด ต้นแบบที่โรงเรียนต่างๆ ทั้งในและ นอกโครงการ CONNEXT ED สามารถนำไปใช้ในการพัฒนาผู้เรียน โรงเรียน และชุมชนได้ต่อไป
7.ธุรกิจค้าปลีก คืออะไร ? 11 ธุรกิจค้าปลีก หมายถึง กิจการที่เกี่ยวข้องกับการ 1.ธุรกิจค้าปลีกประเภท ซื้อขายสินค้า หรือบริการโดยตรงแก่ผู้บริโภคเพื่อ หาบเร่ ตอบสนองความต้องการของผู้บริโภคคนสุดท้าย 2.ธุรกิจค้าปลีกประเภทร้าน ประเภทของธุรกิจค้าปลีก โดยจำแนกตามประเภท ค้าเฉพาะอย่าง Specialty ของร้านค้า และสินค้าได้ ดังนี้ store 3.ธุรกิจค้าปลีกประเภทร้าน สะดวกซื้อ Convenience store 4.ธุรกิจค้าปลีกประเภทร้าน สรรพาหาร Supermarket 5.ธุรกิจค้าปลีกประเภทซูเปอร์ เซ็นเตอร์ Supercenter หรือ ไฮเปอร์มาร์ท 6.ธุรกิจค้าปลีกประเภทห้าง สรรพสินค้า Department store
12 7.ธุรกิจค้าปลีก คืออะไร ?
13 บรรณานุกรม ซีพี ออลล์. แหล่งที่มา https://www.cpall.co.th/ สืบค้นวันที่ 26 เมษายน2565
Search
Read the Text Version
- 1 - 18
Pages: