Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Active Learning & PLC

Active Learning & PLC

Published by ปกรณ์ ข้าวหอม, 2020-10-02 00:35:34

Description: การจัดการเรียนการสอนแบบ Active Learning และ PLC โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเยแพร่ผลการค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งความรู้ต่างๆ ภายใต้การสรุปองค์ความรู้ของตนเอง มีจัดมีความยินดีอย่างยิ่งที่จะได้่วมแบ่งปันกับทุกๆ ท่าน หนังสือเล่มนี้แปลงมาจากไฟล์ PPT ในรายวิชาวิทยาการจัดการเรียนรู้ มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์ คณะครุศาสตร์ สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา

Keywords: Active Learning,PLC,Education,Professional Learning community

Search

Read the Text Version

& PLC มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏราชนครินทร์ คณะครศุ าสตร์ สาขาวิชาคอมพิวเตอรศ์ ึกษา ประจาปกี ารศกึ ษา 2563

หัวขอ้ การเรียนรู้ 1 Passive Learning 2 Active Learning 3 PLC



LPeaasrsniivneg LAecartnivineg

Passive Learning

Passive Learning

PassiveLearningคอื อะไร? Passive learning เป็นการเรียนรู้ที่มีการสอนแบบบรรยาย ผู้เรียนนั่งฟังผู้สอน (บางครั้ง ไมส่ นใจรับฟัง) ผู้สอนพูดฝ่ายเดียวโดยไมส่ นใจข้อมูลย้อนกลับหรือการแสดงออก ของผู้เรียนว่าเขาได้รับรู้ หรือเข้าใจหรือไม่ เช่น การเรียนปฏิบัติการทางวิทยาศาสตร์ นักศึกษาทาการทดลองตามขั้นตอนท่เี ขียนไว้ใน แต่ละการทดลองโดยไม่ได้ตระหนักว่า จะ ทาการทดลองเพอื่ ตอบปัญหาอะไร ทาไมถงึ ไดอ้ อกแบบการ ทดลองตามข้ันตอนทีบ่ อกไว้ใน คู่มือ จึงทาการทดลองและบันทึกผลการทดลองตามท่ีคู่มือปฏิบัติการเขียน ไว้เท่าน้ัน ซ่ึง เห็นได้จากเมื่อทดลองเสร็จแล้วผู้เรียนไม่สามารถสรุปผลการทดลองได้ น่ันคือผู้เรียนได้ เรยี น ปฏิบตั ิการแบบทาตามคาบอกแทบจะไมไ่ ด้ใช้ความคดิ และสรา้ งความหมายเลย

ALcetarinvineg

ALcetarinvineg

Active Learning คอื อะไร? การเรียนที่เน้นให้ผู้เรียนมีปฏิสัมพันธ์กับการเรียนการสอน กระตุ้น ให้ผู้เรียนเกิดกระบวนการคิดขั้นสูง (Higher order thinking) ไม่เพียงแต่ ฟัง ผู้เรียนยังต้องอา่ น เขียน ถามคาถาม อภิปรายร่วมกัน และลงมือปฏิบัติ จริง ท้ังน้ีต้องคานึงถึงความรู้เดิมและความต้องการของผู้เรียนเป็นสาคัญ เป็นการเรียนรู้ผ่านการปฏิบัติ หรือ การลงมือทาซึ่ง “ความรู้” ท่ีเกิดข้ึนก็ เป็นความรู้ที่ได้จากประสบการณ์ ต้องจัดกิจกรรมให้ผู้เรียนได้การเรียนรู้ การโต้ตอบ และการวิเคราะห์ปัญหา ใช้กระบวนการคิดขั้นสูง ได้แก่ การ วเิ คราะห์ การสงั เคราะห์ ประเมนิ ค่า และความคิดสร้างสรรค์

กจิ กรรมพื้นฐานทส่ี าคญั สาหรับ Active Learning การพดู การเขียน และ การฟัง การอ่าน การ ตอบโต้

หลักการ แนวคิดของการเรยี นแบบ Active Learning แนวคดิ ของ Active Learning มาจากทฤษฎีการเรยี นร้ขู อง ผู้ใหญ่จากข้อสมมติฐาน 4 ขอ้ คือ 1. นยั สาคญั ของการเรียนรู้ คือ เน้อื หาทีผ่ ู้เรยี นจะเข้าใจ และยอมรบั ตอ้ ง มคี วามเก่ียวขอ้ งและสัมพนั ธ์ กบั จดุ มุ่งหมายของผู้เรยี น 2. สิ่งท่สี าคญั อย่างยิ่งในการเรยี นรู้ คือ ตอ้ งเรยี นผา่ นการกระทา 3. การเรียนรู้คอื การอานวยความสะดวกให้กับผูเ้ รยี น โดยผูเ้ รยี นมสี ่วน ร่วมและตอบสนองต่อ กระบวนการเรยี นรู้ 4. การเรียนรเู้ ปน็ สง่ิ ทเี่ กดิ ข้นึ ในตนเอง และเก่ยี วโยงไปส่ผู ู้เรยี นคนอ่ืน ๆ ทั้งดา้ นความรู้สกึ อารมณ์ และสตปิ ัญญา

Learning Pyramid ความรทู้ เี่ หลอื (Average Retention Rate) ฟงั บรรยาย Lecture 5% เห็น จาไดร้ ะยะสน้ั อา่ นเอง 10% Reading จาตามแบบ ใชส้ อ่ื และภาพ เสยี ง 20% Passive Learning Audio - Visual 30% ดู สาธติ Demonstration Active Learning อภปิ รายกลมุ่ ทางานกลมุ่ ทมี 50% สรา้ งความรู้ Discussion Group เขา้ ใจหลงั คดิ -ทา เรยี นจากลงมอื ปฏบิ ตั ิ 75% 90% Practice by Doing สอนผอู้ นื่ / นาเสนอ เสนอสาธารณะ Teach Others / Immediate Use วจิ ยั เขา้ ใจ รแู้ ท้ วจิ ยั คน้ ควา้ พฒั นาไดเ้ อง 100% Research & Development พรี ามิดแหง่ การเรียนรู้

LPeaasrsniivnge Learning Pyramid ความรทู้ เ่ี หลอื ฟงั บรรยาย (Average Retention Rate) เห็น จาไดร้ ะยะสนั้ Lecture 5% 10% อา่ นเอง Reading จาตามแบบ ใชส้ อื่ และภาพ เสยี ง 20% Passive Learning Audio - Visual 30% ดู สาธติ Demonstration Content-based Curriculum หลกั สตู รเนน้ เนอ้ื หา ครเู รม่ิ สอนจากทฤษฎี ใหน้ กั เรยี นนาไปใช้ Passive Learning ไมม่ กี ระบวนการสรา้ งความรู้ ไมม่ กี จิ กรรมทน่ี าสผู่ ล ไมม่ รี อ่ งรอยหลกั ฐานพฒั นาผเู้ รยี น ไมบ่ รรลตุ วั ชวี้ ดั และมาตรฐานการเรยี นรู้ เป็ นสงั คมผบู้ รโิ ภคมากกวา่ สงั คมผผู้ ลติ

Standard-based Curriculum LAeacrtnivineg หลกั สตู รเนน้ มาตรฐาน เชอื่ มโยงศตวรรษที่ 21 นกั เรยี นเรยี นจากการปฏบิ ตั ิ ไปสกู่ ารตงั้ ทฤษฏี Active Learning หลอมรวมเนอื้ หา มาตรฐานการเรยี นรู้ ตวั ชวี้ ดั Backward Design ผเู้ รยี นสรา้ งความรเู้ อง เป็ นสงั คมผผู้ ลติ มากกวา่ สงั คมผบู้ รโิ ภค กระบวนการเรยี นรู้ Active Learning อภปิ รายกลมุ่ ทางานกลมุ่ ทมี 50% สรา้ งความรู้ Discussion Group เขา้ ใจหลงั คดิ -ทา เรยี นจากลงมอื ปฏบิ ตั ิ 75% 90% วจิ ยั เขา้ ใจ รแู้ ท้ Practice by Doing สอนผอู้ นื่ / นาเสนอ เสนอสาธารณะ Teach Others / Immediate Use วจิ ยั คน้ ควา้ พฒั นาไดเ้ อง 100% Research & Development

ลกั ษณะของ Active Learning 1. ผู้สอนควรกาหนดเปา้ ประสงค์ 2. ผู้เรียนควรมีส่วนร่วมในการกาหนดแนวคิด การวางแผนการเรียนรู้ การยอมรับ การประเมินผลและการนาเสนอผลงาน 3. วิธีการจัดการเรียนรู้สามารถสะท้อนส่ิงท่ีผู้เรียนเรียนรู้ได้จากกิจกรรม และ ผเู้ รียนสามารถได้รบั ขอ้ มูลสะทอ้ นกลับจากผสู้ อนทันทีทันใดในการทากจิ กรรม 4. มกี ิจกรรมการเจรจาแลกเปลี่ยนเรยี นรูร้ ะหวา่ งผู้เรยี นและผูส้ อน 5. เปิดโอกาสให้ผู้เรยี นวิพากษว์ ิจารณ์

ลักษณะของ Active Learning 6.ผู้สอนต้องออกแบบการเรียนรู้ให้สอดคล้องกับความสนใจ และความ แตกต่างของผู้เรยี นแต่ละคน 7. การจัดการเรียนรู้ท่ีมีการสร้างสถานการณ์เพื่อให้ผู้เรียนได้ใช้ความคิด ในระดบั สงู 8. การจดั การเรียนร้ทู เี่ ชือ่ มโยงระหวา่ งสิ่งท่เี รยี นกับชีวิตจรงิ 9. การจดั การเรยี นร้ทู ีท่ าให้ผเู้ รียนเกดิ ความรสู้ ึกเรียนเหมือนไมเ่ รียน 10. การจดั การเรยี นรู้ที่ไม่จากดั เฉพาะภายในหอ้ งเรียน

บทบาทของผู้สอนในการจดั การเรยี นรู้แบบ Active Learning 1. ผู้สอนเปน็ ผู้วางแผนกิจกรรม หรือเป้าหมายทีต่ ้องการพฒั นาผเู้ รียน 2. เป็นคนสร้างบรรยากาศการมีสว่ นร่วม และการเจรจาโตต้ อบในการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ 3. จดั กิจกรรมการเรยี นรู้ส่งเสรมิ ให้ผู้เรยี นมสี ว่ นรว่ มในทุกกจิ กรรมทสี่ นใจ 4. จดั สภาพแวดลอ้ มการเรียนร้แู บบร่วมมือ 5. จัดกจิ กรรมการเรียนการสอนแบบบูรณาการทั้งเนอื้ หาสาระสู่การประยุกตใ์ ชใ้ นสถานการณจ์ ริง 6. จดั กิจกรรมการเรยี นการสอนใหท้ า้ ทาย และหลากหลาย 7. วางแผนในเร่ืองของเวลาการสอนอย่างชัดเจน 8. ใจกวา้ ง ยอมรับในความสามารถในการแสดงออก และความคดิ เห็นทผ่ี เู้ รยี นนาเสนอ

บทบาทของผ้สู อนในการจัดการเรยี นรแู้ บบ Active Learning 1. มคี วามรบั ผดิ ชอบ 2. ให้ความรว่ มมือกับผสู้ อน 3. มสี ่วนร่วมในการทากจิ กรรมอยา่ งกระตอื รอื รน้ 4. มีปฏสิ ัมพนั ธร์ ะหวา่ งผ้สู อนกบั ผูเ้ รียน 5. มีความกระตอื รอื รน้ ที่จะเรียนรูด้ ว้ ยตนเอง 6. มกี ารใช้ความคดิ เชิงระบบ ไดแ้ ก่ การคิดวเิ คราะหก์ ารคดิ เชงิ เหตุผล การคิดอยา่ งมวี ิจารณญาณ การคดิ เช่ือมโยง และการคดิ อยา่ งสร้างสรรค์ 7.มที ัศนคติที่ดตี ่อการเรยี นรู้

ข้อดขี องการจดั การเรียนร้แู บบ Active Learning 1. เป็นแรงขับท่ที าใหผ้ เู้ รียนอยากเรยี นรู้ในเน้ือหาวิชา 2. สง่ เสรมิ และพัฒนาทกั ษะการสร้างการทางานเป็นทมี 3. ส่งเสริมการเรียนรดู้ ้วยการคน้ พบแนวคิดและการสร้างองค์ความร้ดู ว้ ยตนเอง 4. สง่ เสริมการเรียนให้สนกุ สนาน 5. สามารถนาเนื้อหาทเ่ี รยี นไปประยกุ ตใ์ ช้ในการปฏบิ ัตจิ รงิ 6. เพมิ่ ชอ่ งการส่ือสารกับผูเ้ รียนทม่ี ีความแตกต่างกัน 7. ชว่ ยสรา้ งความคงทนในการจดจาข้อมลู และสร้างแรงจงู ใจในการเรยี นรู้ 8. เป็นการเตรยี มเสน้ ทางให้ผเู้ รยี นเหน็ คณุ ค่า ยอมรับ และไดร้ ับสิ่งตอบแทน

ขอ้ จากดั ของการจดั การเรยี นร้แู บบ Active Learning 1. ตอ้ งใช้เวลา อาจทาให้ผู้สอนไม่สามารถจดั การเวลาทม่ี ีอยกู่ ับจานวนเน้ือหาหลกั สูตรท่ีมากได้ 2. ตอ้ งใชเ้ วลาในการเตรียมการ 3. ในหอ้ งเรยี นทมี่ ีขนาดใหญ่ จานวนผ้เู รยี นมากอาจมี ข้อจากัดในการดูแล ควบคุมให้ผู้เรียนดาเนิน กจิ กรรมไปในทศิ ทางท่ผี สู้ อนวางแผนได้ยาก 4. ผู้สอนท่ีมีความเช่ือม่ันในตนเองสูงคิดว่าตนเองเป็นผู้บรรยายที่ดีจะไม่ยอมรับวิธีการเรียนรู้แบบ Active Learning ที่ให้ความสาคญั กับกระบวนการมากกว่าผู้สอน 5. ความต้องการวสั ดอุ ปุ กรณใ์ นหอ้ งเรยี น ตอ้ งมคี วามพร้อมในเรอื่ งวัสดอุ ปุ กรณ์ 6. ผู้เรียนต่อตา้ นวิธีการสอนที่ไมใ่ ชก่ ารบรรยาย

ตัวอย่างวิธกี ารสอนแบบ Active Learning 1. แบบระดมสมอง (Brainstorming) 2. แบบเนน้ ปญั หา/โครงงาน/กรณศี ึกษา (Problem/Project-based Learning/Case Study) 3. แบบแสดงบทบาทสมมตุ ิ (Role Playing) 4. แบบแลกเปลยี่ นความคิด (Think – Pair – Share) 5. แบบสะทอ้ นความคดิ (Student’s Reflection) 6. แบบต้ังคาถาม (Questioning-based Learning) 7. แบบใช้เกม (Games-based Learning)

สรุปแนวคิด การจดั การเรียนรู้แบบ Active Learning









ความ PLC หรือชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ มาจาก หมPาLยขCอง ภาษาอังกฤษสามคา หมายถึง การรวมตวั ของกลุ่มครู ผู้บริหาร โรงเรียน ผู้บริหารการศึกษาและบุคลากรทางการศึกษาท่ี เกี่ยวข้อง ต้ังแต่สองคนข้ึนไป เพ่ือร่วมมือ ร่วมใจกันเรียนรู้ทาง วิชาชพี การศึกษา ท่ีมุ่งผลสัมฤทธไิ์ ปท่ีผู้เรียน ให้ผู้เรียนสามารถ พัฒนาการเรียนรู้ได้ด้วยตนเอง ผ่านกระบวนการทางานอย่าง มืออาชีพ เรียนรู้แลกเปล่ียนเรียนรู้ซ่ึงการและกัน ตลอดจนร่วม ดาเนินการการวางแผนอย่างเป็นระบบ ต้ังเป้าหมายหรือมี วสิ ัยทัศน์ร่วมกัน ร่วมกันดาเนินงาน ร่วมสะท้อนผลการทางาน และร่วมพัฒนาและปรับปรุงคุณภาพการศึกษาให้มีคุณภาพ มากยิ่งข้ึน อย่างต่อเน่ือง จนเกิดเป็นวัฒนธรรมหรือชุมชนของ การแลกเปลีย่ นเรียนรซู้ ง่ึ กนั และกัน

ระดบั ของ PLC PLC สามารถแบ่งระดับได้ 3 ระดับ คือ ระดับสถานศึกษา ระดับเครือข่าย และระดับชาติ โดยแตล่ ะลักษณะจะแบง่ ตามระดับของความเปน็ PLC ย่อย ดังนี้ 1. ระดับสถานศึกษา คือ PLC ที่ขับเคลื่อนในบริบทสถานศึกษา หรือโรงเรียน สามารถแบ่งได้ 3 ระดับยอ่ ย คือ 1.1 ระดับนักเรียน 1.2 ระดับผ้ปู ระกอบวชิ าชีพ 1.3 ระดบั การเรียนรู้ของชุมชน

ระดับของ PLC 2. ระดับกลุ่มเครือข่าย (Network Level) คือ PLC ที่ขับเคล่ือนในลักษณะ การรวมตัวกนั ของกล่มุ วิชาชพี จากองค์กร หรือหนว่ ยงานต่าง ๆ ทมี่ ุ่งมั่นร่วมกันสร้าง ชุมชน เครือข่าย ภายใต้ วัตถุประสงค์ร่วม คือ การแลกเปล่ียนเรียนรู้ ส่งเสริม สนับสนุน ให้กาลังใจ สรา้ งความสัมพนั ธ์และพฒั นาวิชาชีพร่วมกัน อาจมเี ป้าหมายท่ี เปน็ แนวคิดร่วมกันอยา่ งชดั เจน แบ่งได้ 2 ลกั ษณะ คือ 2.1 กลุม่ เครอื ข่ายความรว่ มมือระหว่างสถาบัน 2.2 กลุ่มเครือข่ายความร่วมมือของสมาชิกวิชาชีพครู

ระดับของ PLC 3. ระดับชาติ (The National Level) คือ PLC ท่ีเกิดข้ึน โดยนโยบายของ รัฐท่ีมุ่งจัดเครือข่าย PLC ของชาติเพื่อขับเคล่ือน การเปล่ียนแปลงเชิงคุณภาพของ วิชาชีพ โดยความร่วมมือของสถานศึกษาและครู ท่ีผนึกกาลังร่วมกันพัฒนาวิชาชีพ ภายใต้การสนับสนุนของรัฐ ดังกรณีตัวอย่าง นโยบายวิสัยทัศน์เพ่ือความร่วมมือของ กระทรวงศึกษาธกิ ารประเทศสิงคโปร์ (MOE) (2009) รัฐจัดให้มี PLC ชาติสิงคโปร์ เพ่ือมุ่งหวังขับเคลื่อนแนวคิด “สอนใหน้ ้อย เรียนรู้ใหม้ าก” (Teach Less, Learn more) ให้เกิดผลสาเรจ็ เปน็ ตน้

องคป์ ระกอบของชมุ ชนการเรียนรูท้ างวิชาชพี ในบรบิ ทสถานศกึ ษา องค์ประกอบท่ี 1 วิสัยทัศนร์ ว่ ม การมองเห็นภาพเป้าหมาย ทศิ ทาง เสน้ ทาง และสิ่งท่ี จะเกิดข้ึนจริง เป็นเสมือนเข็มทิศในการขับเคลื่อน PLC ที่มีทิศทางร่วมกัน โดยมีวิสัยทัศน์เชิง อดุ มการณ์ทางวชิ าชพี ร่วมกัน หรือการมองเห็นจากแต่ละปัจเจกที่มีวิสัยทัศน์เห็นในสิง่ เดยี วกัน วิสยั ทศั น์รว่ มมลี กั ษณะสาคัญ 4 ประการ มีรายละเอียดสาคัญ ดังน้ี 1. วสิ ัยทศั นห์ รอื การเหน็ ภาพและทิศทางรว่ ม 2. เป้าหมายร่วม 3. คณุ คา่ ร่วม 4. พนั ธกจิ ร่วม

องคป์ ระกอบของชุมชนการเรียนรูท้ างวิชาชพี ในบริบทสถานศกึ ษา องค์ประกอบที่ 2 ทมี ร่วมแรงร่วมใจ ทีมร่วมแรงร่วมใจ เป็นการพฒั นามาจากกลมุ่ ที่ทางาน ร่วมกนั อยา่ ง สร้างสรรค์ ลกั ษณะการทางานร่วมกนั แบบมีวสิ ยั ทศั น์ คณุ คา่ เปา้ หมาย และ พนั ธกิจร่วมกนั รวมกนั ด้วยใจ จนเกิดเจตจานงในการทางานร่วมกนั อยา่ ง สร้างสรรค์ เพ่ือให้บรรลผุ ลท่ีการเรียนรู้ของผ้เู รียน

องคป์ ระกอบของชมุ ชนการเรยี นรู้ทางวชิ าชพี ในบรบิ ทสถานศึกษา องค์ประกอบที่ 3 ภาวะผู้นารว่ ม ภาวะผ้นู ารว่ มใน PLC มีนยั สาคญั ของการผู้นาร่วม 2 ลักษณะสาคัญ คือ ภาวะ ผู้นาผสู้ ร้างใหเ้ กดิ การนารว่ ม และภาวะผนู้ ารว่ มกนั ใหเ้ ปน็ PLC ทข่ี บั เคลอ่ื นดว้ ยการนา รว่ มกนั มีหวั ใจสาคญั คอื นาการเรียนรเู้ พ่ือการเปล่ยี นแปลงตนเองของแตล่ ะคน ทั้ง สมาชกิ และผนู้ า โดยตาแหนง่ เมื่อใดทบี่ ุคคลนั้นเกิดการเรียนรู้ ทง้ั ดา้ นวิชาชพี และชวี ิต จนเกิดพลังการเปล่ียนแปลงที่สง่ ผลตอ่ ความสุขในวชิ าชีพของตนเองและผู้อืน่ ภาวะผนู้ า ร่วมจะเกดิ ผลต่อความเป็น PLC

องค์ประกอบของชมุ ชนการเรยี นรู้ทางวิชาชีพ ในบริบทสถานศกึ ษา องคป์ ระกอบท่ี 4 การเรยี นร้แู ละการพฒั นาวชิ าชพี การเรียนรแู้ ละการพฒั นาวิชาชีพใน PLC มจี ดุ เน้นสาคญั 2 ด้าน คอื การเรียนรู้เพ่ือ พฒั นาวชิ าชีพและการเรียนรู้เพอ่ื จิต วญิ ญาณความเป็นครู องค์ประกอบที่ 5 ชุมชนกลั ยาณมติ ร เป็นชมุ ชนท่ียดึ หลกั วินยั เชงิ บวก เชื่อมโยงการพัฒนา PLC ไปกบั วถิ ชี วี ิตตนเองและวถิ ชี ีวิต ชมุ ชนอันเปน็ พืน้ ฐานสาคญั ของ สังคมฐาน การพง่ึ พาตนเอง มบี รรยากาศของ “วฒั นธรรมแบบ เปิดเผย” ทกุ คนมีเสรภี าพทีจ่ ะแสดง ความคิดเหน็ ของตน เป็นวถิ แี หง่ อิสรภาพ ยึดความสามารถ และสร้างพนื้ ท่ีปลอดการใชอ้ านาจกดดนั ดังกลา่ วนี้ สามารถขยายกรอบให้กวา้ งขวางออกไปจนถงึ เครอื ข่ายทส่ี ัมพนั ธ์กับชมุ ชนตอ่ ไป

องคป์ ระกอบของชุมชนการเรียนรู้ทางวชิ าชีพ 1 ในบริบทสถานศึกษา องคป์ ระกอบท่ี 6 โครงสรา้ งสนบั สนุนชมุ ชน สนบั สนุนปัจจัยซ่ึงเออื้ ตอ่ การดาเนินงาน PLC เช่น เวลา วาระ สถานท่ี ขนาดชน้ั เรียน ขวัญ กาลังใจ ข้อมลู สารสนเทศ และอื่นๆ ทีต่ ามความจาเป็น และบริบทของแตล่ ะชุมชน สร้างความปรองดอง และลดความขดั แย้ง มีรปู แบบ การสื่อสารดว้ ยใจ เปิดกวา้ งใหพ้ นื้ ทอี่ สิ ระในการสรา้ งสรรคข์ องชุมชน เนน้ ความ คล่องตวั ในการดาเนนิ การจดั การกับเงอ่ื นไขความ แตกแยก และมรี ะบบ สารสนเทศของชมุ ชนเพอ่ื การพฒั นาวิชาชพี

ชมุ ชนแห่งการเรียนรทู้ างวชิ าชีพมคี วามสาคญั อย่างไร? ความสาคัญของ PLC จากผลการวิจัยโดยตรงของท่ยี นื ยันวา่ การดาเนนิ การในรปู แบบ PLC นาไปสู่ การเปล่ียนแปลงเชิงคุณภาพทั้งด้านวิชาชีพและผลสัมฤทธ์ิของนักเรียนจากการสังเคราะห์ รายงานการวิจัย เก่ียวกับโรงเรียนท่ีมีการจัดตั้ง PLC โดยใช้คาถามว่า โรงเรียนดังกล่าวมีผลลัพธ์ อะไรบ้าง ท่ีแตกต่างไปจากโรงเรียนท่ัวไปที่ไม่มีชุมชนแห่งวิชาชีพ และถ้าแตกต่างแล้วจะมีผลดีต่อ ครผู ้สู อนและตอ่ นกั เรยี นอย่างไรบา้ งซ่ึง มีผลสรปุ 2 ประเด็นดังนี้ ประเด็นท่ี 1 ผลดตี อ่ ครูผู้สอน ประเดน็ ที่ 2 ผลดตี อ่ ผเู้ รยี น

ขน้ั ตอนการสรา้ งชุมชนแห่งการเรยี นรู้ทางวิชาชีพ ขั้นตอนที่ 1 ระบปุ ญั หา ขน้ั ตอนท่ี 2 วิเคราะห์สาเหตขุ องปญั หา ขั้นตอนที่ 3 ระดมความคิด เพ่ือนาเสนอวิธีแก้ปญั หา ขั้นตอนที่ 4 ทดลองใช้วธิ แี ก้ปัญหา ข้นั ตอนที่ 5 สรุปผลวิธีการแกป้ ญั หา

ตัวอยา่ ง ข้นั ตอน การทา PLC

กลยทุ ธ์ในการจัดการและใชช้ มุ ชนการเรยี นทางรู้วิชาชีพ (PLC) อย่างย่งั ยืน 1. เริ่มต้นด้วยขั้นตอนงา่ ยๆ โดยเริ่มตน้ จากการกาหนดเป้าหมายอภิปราย สะท้อนผล แลกเปลี่ยนกับคนอ่ืนๆ เพ่ือ กาหนดว่า จะดาเนนิ การอยา่ งไร โดยพิจารณาและสะทอ้ นผลในประเดน็ ตอ่ ไปนี้ 1.1 หลักการอะไรท่ีจะสรา้ งแรงจูงใจในการปฏบิ ัติ 1.2 เราจะเรมิ่ ตน้ ความรู้ใหมอ่ ยา่ งไร 1.3 การออกแบบอะไรทพ่ี วกเราควรใชใ้ นการตรวจสอบหลกั ฐานของการเรยี นรทู้ ส่ี าคญั 2. การวางแผนด้วยความร่วมมอื สมาชกิ ของกลมุ่ กาหนดสารสนเทศท่ีต้องใช้ในการดาเนินการ 3. การกาหนดความคาดหวังในระดับสงู และวิเคราะหก์ ารสอนสืบเสาะหาวธิ ีการที่จะทาให้ประสบผลสาเรจ็ สงู สดุ 3.1 ทดสอบข้อตกลงท่เี กีย่ วขอ้ งกบั การสอนหลงั จากไดม้ ีการจดั เตรยี มตน้ แบบท่เี ป็นการวางแผนระยะยาว 3.2 จดั ให้มีช่วงเวลาของการช้แี นะ โดยเนน้ การนาไปใช้ในชน้ั เรยี น 3.3 ให้เวลาสาหรับครูท่ีมีความยุ่งยากในการสังเกตการณ์ปฏิบัติในชั้นเรียนของครู ที่สร้างบรรยากาศใน การเรยี นร้อู ย่างประสบผลสาเรจ็

กลยทุ ธใ์ นการจดั การและใชช้ ุมชนการเรยี นทางรวู้ ชิ าชีพ (PLC) อย่างย่งั ยืน 4. เริ่มต้นจากจดุ เลก็ ๆ กอ่ น แล้วคอ่ ยปรับขยาย 5. ศึกษาและใช้ข้อมลู ตรวจสอบผลการนาไปใช้และการสะท้อนผลเพื่อนามากาหนดว่า แผนไหน ควรใช้ตอ่ ไป/แผนไหนควรปรับปรุงหรือยกเลิก 6. วางแผนเพือ่ ความสาเร็จ เรียนรู้จากอดีต 7. นาส่สู าธารณะ 8. ฝึกฝนร่างกายและหลอ่ เลีย้ งสมอง

วงจรการสร้างชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ ระบคุ วามตอ้ งการของ ผู้เรียนเปน็ สาคัญ สะทอ้ นผลการทางานและพิจารณา ครรู ว่ มการวางแผนการ เรยี นรแู้ ละทดลองใช้ แนวทางที่เหมาะสมกบั ผเู้ รยี น PLC ตรวจสอบแผนและ ศกึ ษาแนวทางวธิ ีการสอน กระบวนการนาไปใช้ และทดลองใช้วธิ กี ารใหม่ ปรบั ปรุงแกไ้ ขบน พ้นื ฐานของข้อมูล

สรุป ชุมชนแห่งการเรียนรู้ ทางวชิ าชีพ