Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แบบบันทึกกิจกรรม PLC

แบบบันทึกกิจกรรม PLC

Published by Rawat Yukerd, 2021-08-24 03:43:56

Description: แบบบันทึกกิจกรรม PLC - นายเรวัตร อยู่เกิด

Search

Read the Text Version

บนั ทกึ ข้อความ ส่วนราชการ โรงเรียนสรรพยาวิทยา อำเภอสรรพยา จังหวดั ชยั นาท ๑๗๑๕๐ ท่ี วนั ท่ี เดือน พฤษภาคม พ.ศ. 2563 เรอื่ ง ขออนญุ าตจัดต้ังกลุ่มชมุ ชนการเรยี นรู้ทางวิชาชีพ (PLC) ปกี ารศึกษา 2563 เรยี น ผูอ้ ำนวยการโรงเรียนสรรพยาวทิ ยา ตามท่ี หนังสือสำนักงาน ก.ค.ศ. ที่ ศธ 0206.3/ว 21 ลงวันที่ 5 กรกฎาคม 2560 กำหนด หลักเกณฑแ์ ละวธิ กี ารใหข้ า้ ราชการครแู ละบุคลากรทางการศึกษา ตำแหน่งครู มวี ิทยฐานะและเลอ่ื นวทิ ยฐานะ ในส่วนที่เกี่ยวข้องกับผลงานทีเ่ กิดจากการปฏิบัติหน้าที่ ตำแหน่งครู 3 ด้าน 13 ตัวชี้วัด เมื่อสิ้นปีการศึกษา ต้องเสนอผู้อำนวยการสถานศึกษาประเมนิ ซึ่งผลงานครูเกี่ยวกับชมุ ชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (Professional Learning Community : PLC) จะปรากฏในตวั ชี้วัดที่ 3.2 การพัฒนาวชิ าชีพ โดยมีรายละเอียดตามหนังสือ สำนักงาน ก.ค.ศ. ที่ ศธ. 020.3/0635 ลงวันท่ี 10 ตุลาคม 2560 นน้ั ข้าพเจ้าจึงขออนุญาตจัดตั้งกลุ่มชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ ประจำปีการศึกษา 2563 ชื่อกลุ่ม วทิ ยาศาสตรพ์ ฒั นา โดยมีสมาชกิ กลุ่มจำนวน 4 คน กำหนดวนั เวลาในการจัดกิจกรรม ตัง้ แตว่ นั จันทร์ - ศุกร์ ท้ังในเสลาราชการและหลงั จากเวลา 15.30 น. เป็นต้นไป จึงเรยี นมาเพ่ือโปรดพิจารณา (นายเรวัตร อยเู่ กิด) ตำแหน่ง ครู ครผู ูน้ ำการจดั ตัง้ กลุ่มชมุ ชนการเรยี นรู้ทางวิชาชีพ ความคดิ เหน็ หวั หน้าฝา่ ยบรหิ ารวชิ าการ  เหน็ ควรอนญุ าต  ไม่เหน็ ควรอนญุ าต (นางแกว้ ใจ สุชัยรตั น์) หวั หนา้ ฝ่ายบรหิ ารวชิ าการ

ความคดิ เหน็ ผู้อำนวยการโรงเรียน  ไมเ่ หน็ ควรอนมุ ัติ  เห็นควรอนุมตั ิ (นายสมชาย บษุ บงค์) ผู้อำนวยการโรงเรียนสรรพยาวทิ ยา





แบบบันทกึ กิจกรรม (Logbook) ชุมชนการเรยี นร้ทู างวิชาชพี (Professional Learning Community : PLC) ครง้ั ท่ี 1 โรงเรยี นสรรพยาวทิ ยา สงั กดั สำนกั งานเขตพืน้ ที่การศกึ ษามธั ยมศึกษา เขต 5 กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์ ภาคเรยี นท่ี 1 ปีการศึกษา 2563 วนั ที่ 25 เดอื น พฤษภาคม พ.ศ. 2563 เวลา 15.30 – 18.30 น จำนวน 3 ชวั่ โมง (180 นาที) 1. ชื่อกจิ กรรม : การออกแบบกจิ กรรมการจัดการเรยี นรรู้ ว่ มกนั ในกลุ่มสาระการเรียนร้วู ิทยาศาสตร์ด้วย แนวคิดการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) เพื่อพัฒนาสู่การสร้าง นวตั กรรมการเรยี นการสอน ชื่อหัวขอ้ การประชุม ช้ีแจง ทำความเข้าใจในการจดั ต้งั กลุ่ม PLC และคน้ หาปญั หาในการจดั การเรียนการสอน 2. จำนวนสมาชกิ : 4 คน 3. บทบาท ท่ี รายชอื่ สมาชกิ บทบาท ลายมอื ช่อื 1 นางศิริลกั ษณ์ ไทยพงษธ์ นาพร Model/Buddy/Expert/Mentor teacher 2 นางสาววชิ ชตุ า เพง็ ถาวร Model/Buddy/Expert teacher 3 นายเรวตั ร อยู่เกิด Model/Buddy teacher 4 นางสาววรรณภิ า เวทการ Model/Buddy teacher 4. ประเดน็ ปัญหา/สิ่งท่ีตอ้ งการพัฒนา ทำความเข้าใจในการจัดตั้งกลุ่ม PLC แนวคิดและหลักการทำงานตามกระบวนการ PLC และการจัดการ เรียนรู้แบบ Active Learning พร้อมทงั้ ค้นหาปญั หาในการจัดการเรียนการสอน รายวชิ าชีววิทยาพื่อพัฒนาสู่ การสร้างนวตั กรรมการเรยี นการสอน 5. สาเหตุ ครขู าดความรู้ความเข้าใจในแนวคดิ และหลักการทำงานตามกระบวนการ PLC และการจดั การเรยี นรแู้ บบ Active Learning และนกั เรียนท่ีเรยี นในรายวิชาชีววทิ ยา มีผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียนลดลง 6. ความรแู้ ละหลักการทน่ี ำมาใช้ 6.1 แนวคดิ และหลักการทำงานตามกระบวนการ PLC 6.2 แนวคิดและหลักการทำงานตามกระบวนการการจดั การเรยี นรู้แบบ Active Learning 7. กระบวนการ/วิธกี าร (บนั ทกึ รายละเอยี ดกระบวนการ/วิธีการ ตามบทบาทหนา้ ที)่  Model  Buddy  Expert  Mentor  Administrator Teacher 7.1 คุณครูกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ประชุมพร้อมกันและแบ่งกลุ่มย่อย เพื่อศึกษาแนวคิดและ หลกั การทำงานตามกระบวนการ PLC และการจดั การเรยี นรแู้ บบ Active Learning

7.2 ให้คุณครูแต่ละท่านศึกษาแนวคิดและหลักการทำงานตามกระบวนการ PLC โดยใช้การสืบค้นผ่าน แหล่งข้อมูลที่เชื่อถือได้ และคู่มือการอบรบการขับเคลื่อนด้วยกระบวนการ PLC ของสำนักพัฒนาครูและ บคุ ลากรทางการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน สพฐ. พรอ้ มทงั้ วางแผนการดำเนินกิจกรรมชมุ ชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพของ กลุม่ สาระการเรียนรู้ฯ 7.3 ให้คุณครูแต่ละท่านศึกษากลวิธีและรูปแบบการเรียนรู้ต่าง ๆ เพื่อนำมาใช้ในการจัดการเรียนรู้แบบ Active Learning พร้อมทงั้ วางแผนการดำเนนิ งาน 8. ผลที่ได้จากกิจกรรม 8.1 ได้แผนการดำเนินงานตามกระบวนการ PLC ของกลุ่ม 8.2 ไดร้ ปู แบบกลวธิ แี ละแนวทางการจดั การเรยี นรู้แบบ Active Learning 9. การนำผลที่ได้รับไปใช้ 9.1 ดำเนินงานตามแผนดว้ ยกระบวนการ PLC ของกลุ่ม 9.2 เขียนแผนการจัดการเรียนรู้แบบ Active Learning 10. นดั หมายและเตรยี มข้อมลู ในการเข้ารว่ มชุมชนการเรยี นรูท้ างวชิ าชีพ (PLC) ครั้งตอ่ ไป วันพฤหสั บดี ที่ 28 พฤษภาคม 2563 ขอรับรองว่าขอ้ มลู ดงั กลา่ วขา้ งต้นเปน็ ความจรงิ ทกุ ประการ ลงช่อื .................................................... ลงชอ่ื .................................................... (นายเรวตั ร อย่เู กิด) (นางศริ ลิ กั ษณ์ ไทยพงษธ์ นาพร) ครู กลมุ่ สาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์ หวั หนา้ กลุม่ สาระการเรียนรูว้ ทิ ยาศาสตร์ ลงช่ือ.................................................... (นางแก้วใจ สชุ ัยรัตน์) หัวหน้าฝา่ ยบริหารวิชาการ ลงชอ่ื .................................................... (นายสมชาย บษุ บงค์) ผ้อู ำนวยการโรงเรียนสรรพยาวทิ ยา

แบบบนั ทกึ กิจกรรม (Logbook) ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (Professional Learning Community : PLC) คร้ังท่ี 2 โรงเรียนสรรพยาวิทยา สงั กัด สำนกั งานเขตพ้ืนท่ีการศกึ ษามธั ยมศกึ ษา เขต 5 กลุม่ สาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์ ภาคเรยี นที่ 1 ปีการศึกษา 2563 วันท่ี 28 เดือน พฤษภาคม พ.ศ. 2563 เวลา 15.30 – 16.30 น จำนวน 3 ชั่วโมง (180 นาท)ี 1. ชอ่ื กิจกรรม : การออกแบบกจิ กรรมการจดั การเรียนร้รู ่วมกันในกล่มุ สาระการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์ด้วย แนวคิดการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) เพื่อพัฒนาสู่การสร้าง นวตั กรรมการเรียนการสอน ช่อื หัวข้อ STAR Approach และ เรอื่ งเล่าเร้าพลัง 2. จำนวนสมาชิก : 4 คน 3. บทบาท ท่ี รายช่ือสมาชกิ บทบาท ลายมือช่อื 1 นางศริ ิลกั ษณ์ ไทยพงษ์ธนาพร Model/Buddy/Expert/Mentor teacher 2 นางสาววิชชตุ า เพง็ ถาวร Model/Buddy/Expert teacher 3 นายเรวตั ร อยเู่ กดิ Model/Buddy teacher 4 นางสาววรรณิภา เวทการ Model/Buddy teacher 4. ประเด็นปัญหา/สงิ่ ทีต่ อ้ งการพฒั นา ทำความเข้าใจ และสะท้อนปัญหาที่เกิดขึ้นในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ภายในห้องเรียน เพื่อนำสู่การ ออกแบบกจิ กรรมการเรียนการสอน หรือแนวทางในการแก้ปัญหาผ่านกระบวนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เชิง รกุ ภายในห้องเรียนในอนาคต 5. สาเหตุ ครูกลมุ่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ มกั มีการบอกเลา่ พูดคุยกนั เกี่ยวกับปญั หาท่ีพบเจอในการจัดกิจกรรม การเรยี นการสอนอยูบ่ ่อยคร้งั แต่ปราศจากช่องทางหรือเวทีท่เี ปดิ โอกาสให้มกี ารรวบรวมปัญหาท่ีเกิดขึ้น และ ให้ครูรว่ มกนั ออกแบบแนวทาง หรอื กิจกรรมท่ีใช้ในการแกไ้ ขปญั หา 6. ความรู้และหลกั การที่นำมาใช้ 6.๑ STAR Approach/ STAR Technique 6.๒ เร่อื งเล่าเร้าพลัง

7. กระบวนการ/วิธกี าร (บันทึกรายละเอียดกระบวนการ/วิธีการ ตามบทบาทหน้าท)่ี  Model  Buddy  Expert  Mentor  Administrator Teacher 7.๑ คณุ ครแู ต่ละท่านวิเคราะห์ปัญหาท่ีเกดิ ขึ้นจากการจัดกจิ กรรมการเรยี นการสอนภายในห้องเรียน/คาบ เรยี นทร่ี บั ผดิ ชอบ โดยใหค้ ุณครแู ตล่ ะท่านดำเนินการบนั ทึกปัญหาทเี่ กิดขึ้นลงในแบบฟอร์ม STAR Approach/ STAR Technique 7.๒ จากนั้นให้คุณครูแต่ละท่านนำเสนอปัญหาของตนเองโดยผ่านกระบวนการ เรื่องเล่าเร้าพลัง โดยมีคุณ อำนวย คือ นายเรวตั ร อย่เู กดิ เป็นผู้ทำหนา้ ทีร่ วบรวมปัญหาทเี่ กิดขึ้นของคุณครูแตล่ ะท่าน 7.๓ สรุปประเดน็ ปัญหาท่ีไดจ้ ากการฟงั คณุ ครูแต่ละท่านนำเสนอ 8. ผลทไี่ ด้จากกิจกรรม 8.1 ได้รับทราบปัญหาทีเ่ กิดขึ้นจากการจัดกิจกรรมการเรยี นการสอนของคุณครแู ต่ละทา่ น ดงั นี้ 1) วธิ ีการสอนไม่เหมาะสมกับเน้ือหา และไม่สามารถดงึ ดดู ความสนใจของนักเรยี นได้ 2) สอนไม่ทัน เนอ่ื งจากเนือ้ หามากและโรงเรยี นมกี ารจัดกิจกรรมมาก 3) นักเรียนขาดพน้ื ฐานของกระบวนการคิด วิเคราะห์ และคำนวณ 4) กระบวนการจดั การเรยี นการสอนไมเ่ หมาะสม 5) นกั เรียนไม่สามารถสรปุ ความคิดรวบยอดได้ 6) สือ่ การสอนไมเ่ หมาะสม 9. การนำผลทไ่ี ด้รบั ไปใช้ รับทราบปัญหาที่เกิดขึ้นจากการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน สามารถนำปัญหาที่เกิดขึ้นมากำหนด ประเด็นเพอื่ ออกแบบแนวทาง หรอื กิจกรรมการเรียนรู้ท่จี ะใชใ้ นการแก้ปัญหารว่ มกัน โดยจะนำไปวเิ คราะห์ถึง สาเหตุของปัญหา และร่วมกันแสวงหาแนวทางในการแก้ไขภายในการดำเนินกิจกรรมชุมชนการเรียนรู้ทาง วชิ าชีพครง้ั ตอ่ ไป 10. นัดหมายและเตรยี มข้อมลู ในการเข้ารว่ มชมุ ชนการเรียนรูท้ างวิชาชพี (PLC) ครัง้ ต่อไป วันจันทร์ ที่ 1 มิถนุ ายน 2563

ขอรับรองว่าข้อมลู ดงั กลา่ วขา้ งต้นเปน็ ความจรงิ ทุกประการ ลงชือ่ .................................................... ลงช่อื .................................................... (นายเรวัตร อยเู่ กิด) (นางศริ ลิ กั ษณ์ ไทยพงษธ์ นาพร) ครู กลมุ่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ หวั หนา้ กลุ่มสาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์ ลงชอ่ื .................................................... (นางแก้วใจ สชุ ยั รตั น์) หัวหน้าฝ่ายบริหารวิชาการ ลงชื่อ.................................................... (นายสมชาย บุษบงค์) ผอู้ ำนวยการโรงเรยี นสรรพยาวิทยา

แบบบันทกึ กจิ กรรม (Logbook) ชมุ ชนการเรยี นรทู้ างวชิ าชีพ (Professional Learning Community : PLC) ครัง้ ที่ 3 โรงเรยี นสรรพยาวิทยา สังกัด สำนักงานเขตพื้นท่กี ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษา เขต 5 กลมุ่ สาระการเรยี นรูว้ ทิ ยาศาสตร์ ภาคเรยี นที่ 1 ปกี ารศึกษา 2563 วนั ท่ี 1 เดอื น มถิ นุ ายน พ.ศ. 2563 เวลา 12.00 – 13.00 น. 15.30 – 17.30 น. จำนวน 3 ช่ัวโมง (180 นาท)ี 1. ชอื่ กิจกรรม : การออกแบบกจิ กรรมการจัดการเรียนรูร้ ่วมกันในกล่มุ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ด้วย แนวคิดการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) เพื่อพัฒนาสู่การสร้าง นวตั กรรมการเรียนการสอน ชื่อหัวขอ้ Fishbone Diagram 2. จำนวนสมาชกิ : 4 คน 3. บทบาท ท่ี รายชือ่ สมาชกิ บทบาท ลายมือชื่อ 1 นางศริ ิลกั ษณ์ ไทยพงษ์ธนาพร Model/Buddy/Expert/Mentor teacher 2 นางสาววชิ ชตุ า เพง็ ถาวร Model/Buddy/Expert teacher 3 นายเรวตั ร อยเู่ กดิ Model/Buddy teacher 4 นางสาววรรณภิ า เวทการ Model/Buddy teacher 4. ประเดน็ ปญั หา/สง่ิ ท่ตี ้องการพฒั นา วิเคราะห์สภาพปัญหาที่ผ้รู ว่ มกิจกรรมชุมชนการเรยี นรู้ทางวิชาชีพกำลงั ประสบอยู่ หรือเคยประสบในอดีต เพื่อหาจุดร่วมของปัญหา สาเหตุที่มาของปัญหาที่เกิดข้ึน รวมถึงผลกระทบของปัญหาที่มีต่อการจัดกิจกรรม การเรียนการสอน ครู หรือผเู้ รียน ก่อนจะนำไปสแู่ นวทางในการแสวงหาวิธกี าร/กระบวนการในการแก้ปัญหา ต่อไป 5. สาเหตุ เมื่อทราบสภาพปัญหาที่เกิดขึ้นในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนจำเป็นที่จะต้องดำเนินการวิเคราะห์ ปัญหาเพื่อให้ทราบถึงที่มา ผลกระทบ รวมถึงจุดรว่ มของปัญหาในการจัดกิจกรรมกาเรียนการสอน ที่เกิดขึ้น ระหว่างคุณครูที่เป็นสมาชิกในชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ ก่อนจะนำมาสู่การดำเนินการเพื่อการแก้ปัญหา ตอ่ ไป 6. ความรู้และหลกั การทน่ี ำมาใช้ 6.๑ Fishbone Diagram 6.๒ เรื่องเล่าเรา้ พลัง

7. กระบวนการ/วิธกี าร (บนั ทึกรายละเอียดกระบวนการ/วธิ กี าร ตามบทบาทหนา้ ท)่ี  Model  Buddy  Expert  Mentor  Administrator Teacher 7.๑ คุณครูร่วมกันวิเคราะห์ปัญหาที่เกิดขึ้นจากการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนภายในห้องเรียน/คาบ เรียนที่รับผิดชอบ และนำปัญหาที่ได้รวบรวมไว้จากการทำกิจกรรม STAR Approach และ เรื่องเล่าเร้าพลงั ในครั้งที่ผ่านมา คัดเลือกมาเพื่อดำเนินการวิเคราะห์ หาสาเหตุ และผลกระทบของปัญหาทีเ่ กดิ ขึ้น โดยเลือก ปญั หาที่ใกลต้ ัวมากทส่ี ุด และต้องการแก้ปญั หาดงั กลา่ วอยา่ งแทจ้ ริง 7.๒ จากนน้ั ให้คุณครูแต่ละท่าน นำเสนอปญั หาของตนเอง โดยผ่านกระบวนการเรือ่ งเล่าเรา้ พลัง โดยมีคุณ อำนวย คอื หวั หน้ากลุ่มสาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์ เป็นผู้ทำหน้าทรี่ วบรวมผลการวิเคราะห์ หาสาเหตุ และ ผลกระทบของปญั หาที่เกิดข้ึนกบั คุณครูแต่ละท่าน 7.๓ สรปุ ประเดน็ ปญั หาทีไ่ ดจ้ ากการฟงั คณุ ครูแตล่ ะท่านนำเสนอ มาเขียนเปน็ Fishbone Diagram 8. ผลท่ีไดจ้ ากกิจกรรม 8.1 มีโอกาสได้เรียนรู้สภาพปญั หาทางด้านการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนของคุณครูสมาชิกชุมชนแห่ง การเรียนรู้ทางวชิ าชีพแต่ละทา่ น 8.2 รับทราบสาเหตุ ที่มา และผลกระทบของปัญหาที่เกิดขึ้น พร้อมทั้งได้ระดมความคิดที่เพื่อวิเคราะห์ ปญั หาดงั กลา่ ว และได้รับทราบแนวคดิ ในการแกไ้ ขปัญหาเฉพาะหน้า หรอื แนวทางในการแก้ไขปัญหาเบ้ืองต้น เมื่อประสบปัญหาทางด้านการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน 9. การนำผลทไ่ี ด้รบั ไปใช้ สามารถนำสาเหตุ ที่มา และผลกระทบของปัญหาทางด้านการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนเป็นผลผลิต จากการดำเนินกิจกรรมชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพนำไปสู่การต่อยอดในการดำเนินการชุมชนแห่งการ เรยี นรทู้ างวชิ าชีพเพ่ือพัฒนาสกู่ ารสรา้ งนวัตกรรมการเรียนการสอนในคร้ังต่อไป 10. นัดหมายและเตรยี มข้อมลู ในการเขา้ ร่วมชุมชนการเรียนรทู้ างวชิ าชพี (PLC) คร้งั ต่อไป วนั จันทร์ ท่ี 16 มถิ นุ ายน 2563

ขอรับรองว่าข้อมลู ดงั กลา่ วขา้ งต้นเป็นความจรงิ ทกุ ประการ ลงชือ่ .................................................... ลงชอื่ .................................................... (นายเรวัตร อยเู่ กิด) (นางศริ ลิ กั ษณ์ ไทยพงษธ์ นาพร) ครู กลมุ่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ หวั หนา้ กลุ่มสาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์ ลงชื่อ.................................................... (นางแกว้ ใจ สชุ ยั รัตน์) หัวหนา้ ฝา่ ยบริหารวิชาการ ลงชื่อ.................................................... (นายสมชาย บุษบงค์) ผอู้ ำนวยการโรงเรยี นสรรพยาวิทยา

แบบบนั ทึกกิจกรรม (Logbook) ชมุ ชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (Professional Learning Community : PLC) คร้งั ที่ 4 โรงเรียนสรรพยาวิทยา สังกัด สำนกั งานเขตพน้ื ทีก่ ารศึกษามธั ยมศกึ ษา เขต 5 กลมุ่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศกึ ษา 2563 วนั ที่ 16 เดือน มิถนุ ายน พ.ศ. 2563 เวลา 15.30 – 18.30 น. จำนวน 3 ชว่ั โมง (180 นาที) 1. ชอื่ กจิ กรรม : การออกแบบกิจกรรมการจดั การเรยี นร้รู ่วมกันในกลุ่มสาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ด้วย แนวคิดการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) เพื่อพัฒนาสู่การสร้าง นวตั กรรมการเรียนการสอน ช่อื หัวขอ้ How to use it และ เร่ืองเล่าเร้าพลงั 2. จำนวนสมาชกิ : 4 คน 3. บทบาท ท่ี รายช่ือสมาชิก บทบาท ลายมอื ชอ่ื 1 นางศิรลิ ักษณ์ ไทยพงษ์ธนาพร Model/Buddy/Expert/Mentor teacher 2 นางสาววชิ ชุตา เพ็งถาวร Model/Buddy/Expert teacher 3 นายเรวตั ร อยูเ่ กดิ Model/Buddy teacher 4 นางสาววรรณภิ า เวทการ Model/Buddy teacher 4. ประเด็นปญั หา/สงิ่ ทตี่ อ้ งการพฒั นา แนวทางในการจัดกิจกรรมการเรยี นการสอน หรอื วิธกี ารท่จี ะสามารถช่วยให้ครูเลือกใช้ และสามารถนำมา ประยุกต์ใช้ในการแก้ปัญหาภายในชั้นเรียน หรือพัฒนาชั้นเรียนให้ดีขึ้น และเพื่อเป็นการระดมความคิด เลือกสรรแนวทาง หรือวิธีการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่จะนำไปใช้ในการแก้ปัญหาที่เหมาะสม และ สอดคล้องกับบริบทของปัญหา 5. สาเหตุ การแกไ้ ขปญั หาทเ่ี กดิ ข้นึ ในการจดั กิจกรรมการเรียนการสอนจำเปน็ อยา่ งยิ่งที่ครูผู้สอนแต่ละท่านต้องมีการ แสวงหาแนวทางในการดำเนินการเพื่อแก้ไขปัญหาให้มีความเหมาะสม และสอดคล้องกับสภาพปัญหาและ บริบทภายในหอ้ งเรียน 6. ความรแู้ ละหลักการท่ีนำมาใช้ 6.๑ How to use it 6.๒ เรอ่ื งเล่าเร้าพลงั

7. กระบวนการ/วธิ กี าร (บนั ทึกรายละเอยี ดกระบวนการ/วธิ กี าร ตามบทบาทหน้าที)่  Model  Buddy  Expert  Mentor  Administrator Teacher 7.๑ คุณครูแต่ละท่านเขียนวิธีการ/กระบวนการ/แนวทางในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่ประสบ ความสำเร็จ หรือคาดว่าเปน็ กระบวนการทีจ่ ะชว่ ยใหส้ ามารถแก้ไขปัญหาที่เกดิ ข้นึ ในกจิ กรรมการเรียนการสอน ของตนเองได้ โดยใหบ้ ันทึกวิธีการ/กระบวนการจัดกจิ กรรมการเรียนการสอนลงในแบบฟอร์ม How to use it 7.๒ จากนั้นใหค้ ุณครูแต่ละท่าน นำเสนอวิธีการ/กระบวนการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนของแต่ละคน โดยผ่านกระบวนการเรื่องเล่าเร้าพลัง โดยมีคุณอำนวย คือ หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์เป็นผู้ รวบรวมวิธีการ/กระบวนการจดั การเรียนการสอนท่ปี ระสบความสำเรจ็ ของคุณครูแต่ละท่าน 7.๓ สรุปประเด็นวธิ กี าร/กระบวนการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่ประสบความสำเร็จที่ได้จากการฟัง คุณครูแตล่ ะท่านนำเสนอ 8. ผลท่ีไดจ้ ากกจิ กรรม 8.1 ไดท้ ราบวธิ ีการ/กระบวนการจัดกจิ กรรมการเรยี นการสอนท่ีประสบความสำเร็จเป็นท่นี า่ พึงพอใจของ แต่ละทา่ น ดังนี้ 1) วิชาชวี วิทยา โดย ครเู รวตั ร อยเู่ กดิ จัดกจิ กรรมการเรียนการสอนแบบใช้ส่อื เปน็ ฐาน บูรณาการ กบั กิจกรรมการเรยี นรเู้ ชงิ รกุ (Active Learning) 2) วิชาฟิสกิ ส์ โดย ครวู รรณิภา เวทการ จดั กิจกรรมการเรียนการสอนแบบมีส่วนร่วมและการทดลอง 8.2 ผลลัพธ์ทีเ่ กิดข้นึ กบั นักเรียนจากการจดั กิจกรรมการเรียนการสอนดว้ ยวธิ กี าร/กระบวนการตา่ งๆ คอื 1) นักเรียนเขา้ ใจเน้ือหาที่เรยี นมากขึ้น 2) นักเรยี นมีสว่ นร่วมในการทำกิจกรรม 3) นักเรยี นกลา้ พดู กล้าถามในสิ่งที่ไม่เขา้ ใจ 4) นกั เรียนสามารถแกป้ ญั หาในการเรยี นได้ 5) นกั เรยี นมกี ารแลกเปลีย่ นความรซู้ ึง่ กนั และกัน 6) นกั เรียนมที กั ษะและกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ 7) นักเรียนสามารถจดั วธิ ีคิด มกี ารระดมความคดิ และช่วยเหลือกนั 9. การนำผลที่ไดร้ ับไปใช้ เมื่อรับรู้ถึงวิธีการ/กระบวนการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน สามารถนำไปปรับปรุงและแก้ไขปัญหาที่ เกิดขึ้นจากการจัดกจิ กรรมการเรียนการสอนตอ่ ไปได้ โดยจะนำไปวิเคราะหถ์ ึงวธิ กี าร/กระบวนดงั กล่าวภายใน การดำเนนิ กจิ กรรมชมุ ชนการเรยี นรูท้ างวิชาชีพครงั้ ต่อไป 10. นดั หมายและเตรยี มข้อมลู ในการเข้ารว่ มชุมชนการเรียนรูท้ างวชิ าชีพ (PLC) ครง้ั ต่อไป วนั จันทร์ ที่ 18 มถิ นุ ายน 2563

ขอรับรองว่าข้อมลู ดงั กลา่ วขา้ งต้นเปน็ ความจรงิ ทุกประการ ลงชือ่ .................................................... ลงช่อื .................................................... (นายเรวัตร อยเู่ กิด) (นางศริ ลิ กั ษณ์ ไทยพงษธ์ นาพร) ครู กลมุ่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ หวั หนา้ กลุ่มสาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์ ลงชอ่ื .................................................... (นางแก้วใจ สชุ ยั รตั น์) หัวหน้าฝ่ายบริหารวิชาการ ลงชื่อ.................................................... (นายสมชาย บุษบงค์) ผอู้ ำนวยการโรงเรยี นสรรพยาวิทยา

แบบบนั ทึกกิจกรรม (Logbook) ชมุ ชนการเรียนรูท้ างวิชาชพี (Professional Learning Community : PLC) ครั้งที่ 5 โรงเรียนสรรพยาวิทยา สงั กัด สำนักงานเขตพน้ื ที่การศึกษามธั ยมศกึ ษา เขต 5 กลุม่ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ ภาคเรยี นท่ี 1 ปกี ารศกึ ษา 2563 วนั ที่ 18 เดอื น มิถนุ ายน พ.ศ. 2563 เวลา 15.30 – 18.30 น. จำนวน 3 ช่ัวโมง (180 นาท)ี 1. ช่อื กจิ กรรม : การออกแบบกิจกรรมการจัดการเรยี นร้รู ว่ มกนั ในกลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์ด้วย แนวคิดการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) เพื่อพัฒนาสู่การสร้าง นวตั กรรมการเรียนการสอน ช่อื หวั ขอ้ การเลือกสภาพปัญหา/เน้อื หา/กำหนดเวลาในการดำเนนิ กจิ กรรม 2. จำนวนสมาชกิ : 4 คน 3. บทบาท ท่ี รายชื่อสมาชกิ บทบาท ลายมอื ชือ่ 1 นางศริ ิลกั ษณ์ ไทยพงษธ์ นาพร Model/Buddy/Expert/Mentor teacher 2 นางสาววชิ ชตุ า เพง็ ถาวร Model/Buddy/Expert teacher 3 นายเรวตั ร อยู่เกดิ Model/Buddy teacher 4 นางสาววรรณภิ า เวทการ Model/Buddy teacher 4. ประเด็นปัญหา/สง่ิ ทตี่ อ้ งการพฒั นา ดำเนินการเลือกสภาพปัญหา หรือเนือ้ หาในการจดั กจิ กรรมการเรียนการสอนท่ีต้องการแก้ไขปัญหา หรือ พัฒนาใหด้ ยี งิ่ ข้นึ ผ่านกระบวนการดำเนนิ กิจกรรมชมุ ชนการเรยี นรู้ทางวิชาชพี ร่วมกับสมาชิกชุมชนการเรียนรู้ ทางวิชาชีพ นอกจากนั้นยังจำเป็นที่จะต้องกำหนดระยะเวลา ที่มีความสอดคล้องกับขั้นตอนที่ใช้ใน กระบวนการดำเนินกจิ กรรมชุมชนการเรยี นรทู้ างวชิ าชีพ 5. สาเหตุ การดำเนนิ กิจกรรมชมุ ชนการเรยี นรู้ทางวชิ าชพี เพอื่ แกไ้ ขปญั หาในการจัดกจิ กรรมการเรยี นการสอน จำเปน็ ที่จะต้องเลือกเนื้อหาที่คุณครูดำเนินการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนแล้วประสบปัญหา หรือเป็นเนื้อหาท่ี กำลังจะดำเนินการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนในอนาคต เพื่อนำไปสู่การวางแผน และออกแบบแนวทาง/ วิธีการ/กระบวนการในการแก้ปัญหา รวมถึงต้องมีการกำหนดขอบเขตหรือช่วงเวลาในการดำเนินกิจกรรม ชมุ ชนการเรียนรทู้ างวชิ าชีพอยา่ งชัดเจนในการแกไ้ ขปัญหา 6. ความรูแ้ ละหลักการท่ีนำมาใช้ 6.๑ การเลอื กสภาพปัญหา หรือเนอื้ หาในการจดั กิจกรรมการเรียนการสอน 6.๒ วิธีการเขยี นการกำหนดระยะเวลาและขั้นตอนของการจัดกจิ กรรม (Time Line)

7. กระบวนการ/วธิ ีการ (บันทึกรายละเอียดกระบวนการ/วธิ ีการ ตามบทบาทหนา้ ท)ี่  Model  Buddy  Expert  Mentor  Administrator Teacher 7.๑ รวบรวมสภาพปญั หา สาเหตุ ผลกระทบ และแนวทางในการดำเนนิ การทไี่ ดจ้ ากการทำกจิ กรรมชุมชน การเรยี นรู้ทางวชิ าชพี คร้ังกอ่ น ไดแ้ ก่ กิจกรรม STAR Approach, Fishbone Diagram และ How to use it 7.2 คัดเลือกเนื้อหาที่กำลังจะต้องดำเนินการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนซึ่งอยู่ในรายวิชาที่เปิดในภาค เรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2563 ซึ่งจำเป็นตอ้ งมคี วามสอดคล้องกับสภาพปญั หา และแนวทางในการแก้ปัญหา ข้างต้นเพื่อนำไปสู่การออกแบบแนวทางการแก้ปัญหาที่มีความเหมาะสมสอดคล้องกับปัญหา เนื้อหา และ ช่วงเวลา เพอ่ื พฒั นาสกู่ ารสร้างนวัตกรรมการเรยี นการสอน 7.3 กำหนดระยะเวลาในการดำเนนิ กิจกรรมชุมชนการเรียนรูท้ างวิชาชีพ ให้สอดคล้องกับเนื้อหาที่เลือก เปน็ ประเดน็ ในการพัฒนาและแก้ปัญหา รวมถงึ ขัน้ ตอนในการดำเนินการกิจกรรมชมุ ชนการเรยี นรู้ทางวิชาชีพ ทง้ั 4 ข้นั ไดแ้ ก่ Plan, Do, See และ Reflect 7.4 สรุปปัญหา เนื้อหาที่เลือก และระยะเวลาในการดำเนินกิจกรรมชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพของ สมาชกิ ชุมชนการเรยี นรู้ทางวชิ าชพี ทุกท่าน 8. ผลท่ีไดจ้ ากกจิ กรรม สภาพปญั หา เนอื้ หา และระยะเวลา ของสมาชกิ ชุมชนการเรยี นรทู้ างวชิ าชีพทุกท่านท่มี ีความสอดคล้องกับ ขัน้ ตอนการดำเนนิ กิจกรรมชุมชนการเรยี นรูท้ างวชิ าชพี โดยคร้งั นี้ คือ การแกป้ ัญหาการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ เรือ่ ง ประเภทภมู คิ มุ้ กนั ในรายวิชาวิทยาศาสตร์ชวี ภาพ ซึ่งมกั จะอย่ใู นรปู แบบการเรยี นการสอนแบบบรรยาย และนกั เรียนมกั จะเกดิ ความสับสนระหว่างคณุ สมบัติของภูมิคุ้มกันชนิดก่อเอง และภมู คิ ุ้มกนั ชนิดรับมา 9. การนำผลท่ไี ด้รบั ไปใช้ สภาพปัญหา เนื้อหา และขอบเขตระยะเวลา สามารถทำให้สมาชิกชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ ดำเนินการตามขั้นตอนในการดำเนนิ กิจกรรมชมุ ชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพตามทกี่ ำหนด เพื่อพัฒนานวัตกรรม การเรียนการสอนให้เป็นไปตามแนวคดิ การจดั กจิ กรรมการเชิงรุก 10. นดั หมายและเตรียมข้อมูล ในการเข้าร่วมชมุ ชนการเรียนร้ทู างวิชาชพี (PLC) ครั้งตอ่ ไป วนั จันทร์ ท่ี 22 มถิ นุ ายน 2563

ขอรับรองว่าข้อมลู ดงั กลา่ วขา้ งต้นเปน็ ความจรงิ ทุกประการ ลงชือ่ .................................................... ลงช่อื .................................................... (นายเรวัตร อยเู่ กิด) (นางศริ ลิ กั ษณ์ ไทยพงษธ์ นาพร) ครู กลมุ่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ หวั หนา้ กลุ่มสาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์ ลงชอ่ื .................................................... (นางแก้วใจ สชุ ยั รตั น์) หัวหน้าฝ่ายบริหารวิชาการ ลงชื่อ.................................................... (นายสมชาย บุษบงค์) ผอู้ ำนวยการโรงเรยี นสรรพยาวิทยา

แบบบันทกึ กิจกรรม (Logbook) ชมุ ชนการเรยี นรู้ทางวิชาชพี (Professional Learning Community : PLC) คร้งั ที่ 6 โรงเรียนสรรพยาวทิ ยา สังกดั สำนกั งานเขตพนื้ ทกี่ ารศึกษามธั ยมศึกษา เขต 5 กลมุ่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ภาคเรยี นที่ 1 ปีการศกึ ษา 2563 วันท่ี 22 เดือน มถิ ุนายน พ.ศ. 2563 เวลา 15.30 – 18.30 น. จำนวน 3 ชว่ั โมง (180 นาที) 1. ชอื่ กจิ กรรม : การออกแบบกิจกรรมการจดั การเรียนรรู้ ว่ มกันในกลุม่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ด้วย แนวคิดการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) เพื่อพัฒนาสู่การสร้าง นวัตกรรมการเรียนการสอน ชื่อหัวขอ้ การออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอน (Plan) เพื่อแก้ไขปัญหาและพัฒนาการสร้าง นวัตกรรมการเรียนการสอนตามแนวคิดการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) เรื่อง ประเภทของภูมิค้มุ กัน 2. จำนวนสมาชกิ : 4 คน 3. บทบาท ท่ี รายชื่อสมาชิก บทบาท ลายมือชือ่ 1 นางศริ ิลักษณ์ ไทยพงษธ์ นาพร Model/Buddy/Expert/Mentor teacher 2 นางสาววิชชตุ า เพ็งถาวร Model/Buddy/Expert teacher 3 นายเรวตั ร อยเู่ กดิ Model/Buddy teacher 4 นางสาววรรณภิ า เวทการ Model/Buddy teacher 4. ประเดน็ ปัญหา/ส่ิงท่ตี อ้ งการพฒั นา กจิ กรรมการเรยี นการสอน เร่อื ง ประเภทของภมู คิ ้มุ กัน โดยเฉพาะในหัวขอ้ ภมู ิคมุ้ กนั กอ่ เอง และภมู คิ ุ้มกัน รบั มา มกั เปน็ การจัดการเรียนการสอนโดยการบรรยาย ซงึ่ ครูผู้สอนเป็นศูนยก์ ลางในการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ หากมีการพัฒนารปู แบบการจัดกิจกรรมการเรยี นการสอนท่ีเปดิ โอกาสให้นักเรยี นได้มีส่วนรว่ มในกิจกรรมการ เรียนรู้มากข้ึน หรือออกแบบสื่อการจดั การเรียนรู้ท่ีสง่ เสริมใหผ้ ูเ้ รียนได้ทำกิจกรรมซึ่งเป็นการการจดั กิจกรรม การเรยี นรเู้ ชงิ รกุ จะช่วยส่งเสรมิ ให้ผู้เรยี นเกิดการเรียนอย่างมปี ระสทิ ธิภาพ 5. สาเหตุ การจัดกจิ กรรมการเรียนการสอนเชงิ บรรยาย ซ่ึงมีครผู สู้ อนเป็นศนู ย์กลางในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้มัก เป็นการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่ไม่เปิดโอกาสให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในชั้นเรียน อันจะส่งผลให้การจัด กิจกรรมการเรียนการสอนสามารถบรรลุวัตถุประสงค์การเรียนรู้ทางด้านความรู้ (K) เท่านั้น อีกทั้งยังพฒั นา ผูเ้ รียนได้เพียงแค่ด้านความจำ ความเขา้ ใจ ไม่สามารถพฒั นาใหผ้ ้เู รียนเกดิ ทักษะท่สี ูงข้นึ ได้

6. ความร้แู ละหลักการที่นำมาใช้ 6.๑ การออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้แบบ 5 ขั้น (5 Steps) ตามแนวคิดของ รองศาสตราจารย์ ดร.พมิ พนั ธ์ เดชะคปุ ต์ และรองศาสตราจารย์ พเยาว์ ยินดีสุข 6.๒ เทคนิคการจดั กิจกรรมการเรยี นการสอนโดยใช้กรณศี ึกษา (Case study) 6.3 การรู้เท่าทันสือ่ 6.4 การออกแบบกิจกรรม Crossword 7. กระบวนการ/วิธีการ (บนั ทึกรายละเอยี ดกระบวนการ/วิธกี าร ตามบทบาทหน้าท)่ี  Model  Buddy  Expert  Mentor  Administrator Teacher 7.๑ กำหนดวตั ถปุ ระสงคก์ ารเรียนรู้ เร่ือง ภมู คิ มุ้ กันกอ่ เอง และภูมคิ ุ้มกนั รับมา 7.2 ออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง ภูมิคุ้มกันก่อเอง และภูมิคุ้มกันรับมา โดยพัฒนาเป็นแผนการจดั กิจกรรมการเรียนรู้แบบ 5 ขั้น ซึ่งกำหนดให้ผู้เรียนศึกษากรณีศึกษา และเอกสารประกอบกรณีศึกษา กำหนดให้ พร้อมทงั้ ตอบคำถามลงแบบบนั ทกึ กิจกรรม และรว่ มกนั สบื คน้ ขอ้ มูลเกีย่ วกบั ประเภทภูมิคุ้มกันจาก บทความที่ครเู ตรียมให้ 7.3 ออกแบบส่อื ประกอบการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ ได้แก่ 1) กรณศี ึกษา ซ่ึงบอกเล่าเรอื่ งราวของสมาชิกครอบครวั 3 คนทเ่ี ดินทางเข้าไปท่องเท่ยี วในป่า 2) เอกสารประกอบกรณีศึกษา ซึ่งมีข้อมูลอาการป่วยที่สัมพันธ์กับกรณีศึกษา โดยข้อมูลภายใน เอกสารประกอบกรณีศึกษามีท้ังขอ้ มูลท่ีเป็นโรคทถ่ี ูกต้องจากแหลง่ ขอ้ มูลท่ีเชอื่ ถือได้ และขอ้ มลู ที่ไมถ่ ูกต้องจาก แหล่งข้อมูลอ่นื ๆ 3) แบบบันทกึ กิจกรรม ประกอบไปด้วย 3 ตอน คอื การตอบคำถามจากกรณีศึกษา, ความหมายของ ประเภทภูมคิ ุ้มกนั และกจิ กรรม Crossword 4) ใบความรู้ เรือ่ ง ประเภทภูมิคุ้มกัน ซึ่งเปน็ บทความท่ีเก่ียวขอ้ งกับ ภูมิคุม้ กันก่อเอง และภูมิคุ้มกัน รับมา 7.4 ออกแบบวิธีการ และเครื่องมือในการวัดและประเมินผลให้มีความสอดคล้องกับวัตถุประสงค์การ เรยี นรู้ และครอบคลมุ ทง้ั K P และ A 8. ผลที่ไดจ้ ากกิจกรรม 8.1 แผนการจดั กิจกรรมการเรยี นรูแ้ บบ 5 ข้ัน เรอื่ ง ภูมิคุม้ กันก่อเอง และภูมคิ ุ้มกันรบั มา 8.2 สอื่ ประกอบการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ 9. การนำผลทไี่ ดร้ บั ไปใช้ แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบ 5 ขั้น เรื่อง ภูมิคุ้มกันก่อเอง และภูมิคุ้มกันรับมา สามารถนำไป ดำเนนิ การตามขน้ั ตอนกจิ กรรมชมุ ชนการเรยี นรทู้ างวิชาชีพเพื่อวพิ ากษ์แผนการจดั กจิ กรรมการเรยี นร้ตู อ่ ไป 10. นัดหมายและเตรยี มข้อมูล ในการเข้ารว่ มชมุ ชนการเรยี นร้ทู างวชิ าชีพ (PLC) คร้งั ต่อไป วันพุธ ท่ี 24 มิถุนายน 2563

ขอรับรองว่าข้อมลู ดงั กลา่ วขา้ งต้นเปน็ ความจรงิ ทุกประการ ลงชือ่ .................................................... ลงช่อื .................................................... (นายเรวัตร อยเู่ กิด) (นางศริ ลิ กั ษณ์ ไทยพงษธ์ นาพร) ครู กลมุ่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ หวั หนา้ กลุ่มสาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์ ลงชอ่ื .................................................... (นางแก้วใจ สชุ ยั รตั น์) หัวหน้าฝ่ายบริหารวิชาการ ลงชื่อ.................................................... (นายสมชาย บุษบงค์) ผอู้ ำนวยการโรงเรยี นสรรพยาวิทยา

แบบบันทกึ กจิ กรรม (Logbook) ชมุ ชนการเรียนรูท้ างวิชาชพี (Professional Learning Community : PLC) ครั้งท่ี 7 โรงเรียนสรรพยาวิทยา สงั กัด สำนักงานเขตพ้ืนทีก่ ารศึกษามธั ยมศกึ ษา เขต 5 กล่มุ สาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์ ภาคเรยี นท่ี 1 ปีการศึกษา 2563 วนั ท่ี 24 เดอื น มถิ ุนายน พ.ศ. 2563 เวลา 15.30 – 18.30 น. จำนวน 3 ช่วั โมง (180 นาที) 1. ช่อื กิจกรรม : การออกแบบกิจกรรมการจัดการเรียนร้รู ว่ มกนั ในกลุ่มสาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์ด้วย แนวคิดการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) เพื่อพัฒนาสู่การสร้าง นวัตกรรมการเรียนการสอน ชื่อหัวขอ้ การวิพากษ์แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ (Plan) เพื่อพัฒนาการสร้างนวัตกรรมการ เรียนการสอนตามแนวคิดการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) เรื่อง ประเภทของภูมิคุ้มกนั 2. จำนวนสมาชกิ : 4 คน 3. บทบาท ท่ี รายชอ่ื สมาชิก บทบาท ลายมือชอ่ื 1 นางศริ ิลักษณ์ ไทยพงษ์ธนาพร Model/Buddy/Expert/Mentor teacher 2 นางสาววชิ ชตุ า เพ็งถาวร Model/Buddy/Expert teacher 3 นายเรวัตร อยู่เกดิ Model/Buddy teacher 4 นางสาววรรณิภา เวทการ Model/Buddy teacher 4. ประเดน็ ปัญหา/ส่งิ ท่ตี อ้ งการพัฒนา แผนการจัดกิจกรรมการสอนแบบ 5 ขั้น เรื่อง ภูมิคุ้มกันก่อเอง และภูมิคุ้มกันรับมา จำเป็นต้องได้รับการ วพิ ากษ์จากสมาชกิ ชุมชนการเรยี นรู้ทางวิชาชีพเพอื่ ให้เกิดการพัฒนาแผนการจัดกิจกรรมการสอนแบบ 5 ข้ัน อย่างสมบรู ณต์ ามขัน้ ตอนในขน้ั วางแผนการสอน (Plan) 5. สาเหตุ การออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอน ผ่านการจัดทำแผนการจัดกิจกรรมการสอนแบบ 5 ขั้น เรื่อง ภูมิคุ้มกันก่อเอง และภูมิคุ้มกันรับมา ยังคงเป็นการออกแบบกจิ กรรมการเรยี นรู้โดยครผู ู้สอนเพียงท่านเดียว เท่านั้น ดังนั้น เพื่อให้เป็นการพัฒนาแผนการจัดกิจกรรมการสอนอย่างสมบูรณ์เป็นไปตามขั้นตอนของการ ดำเนินกิจกรรมชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ ในขั้นวางแผนการสอน (Plan) ก่อนนำไปสู่ขั้นตอนของการ ปฏบิ ัติการสอนและสงั เกตการเรียนรู้ (Do)

6. ความรูแ้ ละหลักการท่ีนำมาใช้ 6.๑ การออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้แบบ 5 ขั้น (5 Steps) ตามแนวคิดของ รองศาสตราจารย์ ดร.พิมพันธ์ เดชะคปุ ต์ และรองศาสตราจารย์ พเยาว์ ยินดสี ุข 6.๒ เทคนิคการจดั กจิ กรรมการเรียนการสอนโดยใชก้ รณศี กึ ษา (Case study) 6.3 การวิพากษ์แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ 6.4 การออกแบบกจิ กรรม Crossword 7. กระบวนการ/วิธีการ (บนั ทกึ รายละเอียดกระบวนการ/วิธีการ ตามบทบาทหนา้ ที)่  Model  Buddy  Expert  Mentor  Administrator Teacher 7.๑ รว่ มกนั ศึกษาแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรแู้ บบ 5 ขั้น เรือ่ ง ภมู คิ ุ้มกันกอ่ เอง และภูมคิ ้มุ กันรับมา ซึ่ง ครูผสู้ อน (Model Teacher) ได้ออกแบบมาจากกจิ กรรมชุมชนการเรียนรูท้ างวชิ าชีพในครัง้ กอ่ น 7.2 วิเคราะห์ความสอดคล้องของแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ทั้งวัตถุประสงค์ กระบวนการเรียนการ สอน การวัดและประเมินผล และสื่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ รวมถึงความสอดคล้องระหว่างกิจกรรมและ ขั้นตอนทั้ง 5 ขั้นตอนในกระบวนการเรียนการสอน ได้แก่ ขั้นระบุปัญหา, ขั้นแสวงหาสารสนเทศ, ขั้นสร้าง ความรู้, ข้ันสื่อสาร และขน้ั ตอบแทนสงั คม 7.3 วพิ ากษป์ ระเดน็ สำคญั ในแผนการจัดกจิ กรรมการเรียนรโู้ ดยสง่ เสริมจุดเด่น กำจดั จุดด้อย เพ่ือปรับปรุง ใหแ้ ผนการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้มีความเหมาะสมกับเน้อื หา และสภาพปัญหา เพื่อพฒั นาการจดั กิจกรรมการ เรียนรู้สกู่ ารสร้างนวัตกรรมการเรยี นการสอนตามแนวคดิ การจัดการเรยี นร้เู ชิงรกุ (Active learning) 7.4 ครูสอน (Model Teacher) นำข้อเสนอแนะที่ได้จากการแนะนำในกิจกรรมชุมชนการเรียนรู้ทาง วชิ าชีพไปดำเนนิ การปรับปรงุ แก้ไข และพฒั นาแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบ 5 ข้นั เร่ือง ภูมิคุ้มกันก่อ เอง และภูมคิ ุ้มกันรบั มา 8. ผลที่ได้จากกจิ กรรม 8.1 ข้อเสนอแนะที่ได้จากการวิเคราะห์ และวิพากษ์แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบ 5 ขั้น เรื่อง ภูมิค้มุ กนั กอ่ เอง และภูมิคุ้มกนั รบั มา 8.2 แผนการจดั กิจกรรมการเรียนรแู้ บบ 5 ข้ัน เรื่อง ภมู คิ ุ้มกันกอ่ เอง และภูมิคุ้มกันรับมา ท่ไี ดร้ บั การปรับปรุง และพัฒนาครั้งท่ี 1 9. การนำผลท่ไี ดร้ บั ไปใช้ แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบ 5 ขั้น เรื่อง ภูมิคุ้มกันก่อเอง และภูมิคุ้มกันรับมา สามารถนำไป ดำเนินการตามขั้นตอนกจิ กรรมชุมชนการเรียนรู้ทางวชิ าชพี ขนั้ ปฏิบตั กิ ารสอนและสงั เกตการเรยี นรู้ต่อไป 10. นดั หมายและเตรยี มขอ้ มลู ในการเขา้ ร่วมชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชพี (PLC) ครง้ั ตอ่ ไป วนั อังคาร ท่ี 4 สิงหาคม 2563

ขอรับรองว่าข้อมลู ดงั กลา่ วขา้ งต้นเปน็ ความจรงิ ทุกประการ ลงชือ่ .................................................... ลงช่อื .................................................... (นายเรวัตร อยเู่ กิด) (นางศริ ลิ กั ษณ์ ไทยพงษธ์ นาพร) ครู กลมุ่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ หวั หนา้ กลุ่มสาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์ ลงชอ่ื .................................................... (นางแก้วใจ สชุ ยั รตั น์) หัวหน้าฝ่ายบริหารวิชาการ ลงชื่อ.................................................... (นายสมชาย บุษบงค์) ผอู้ ำนวยการโรงเรยี นสรรพยาวิทยา

แบบบนั ทกึ กิจกรรม (Logbook) ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชพี (Professional Learning Community : PLC) ครงั้ ท่ี 8 โรงเรยี นสรรพยาวทิ ยา สงั กดั สำนกั งานเขตพ้ืนที่การศึกษามธั ยมศึกษา เขต 5 กลมุ่ สาระการเรียนรูว้ ทิ ยาศาสตร์ ภาคเรยี นท่ี 1 ปกี ารศึกษา 2563 วนั ที่ 4 เดอื น สงิ หาคม พ.ศ. 2563 เวลา 15.30 – 17.30 น. 15.30 – 17.30 น. จำนวน 5 ชว่ั โมง (300 นาที) 1. ชื่อกจิ กรรม : การออกแบบกิจกรรมการจดั การเรยี นรรู้ ว่ มกันในกลมุ่ สาระการเรียนร้วู ิทยาศาสตร์ด้วย แนวคิดการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) เพื่อพัฒนาสู่การสร้าง นวัตกรรมการเรียนการสอน ชือ่ หัวขอ้ การปฏิบตั ิการสอนและสังเกตการเรียนรู้ (Do) ตามแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เพื่อ พฒั นาการสรา้ งนวตั กรรมการเรียนการสอนตามแนวคดิ การจัดกิจกรรมการเรียนรเู้ ชิงรุก (Active Learning) เรื่อง ภมู ิคมุ้ กนั ก่อเอง และภูมิคุ้มกนั รับมา 2. จำนวนสมาชิก : 4 คน 3. บทบาท ท่ี รายชอ่ื สมาชิก บทบาท ลายมือช่ือ 1 นางศิริลักษณ์ ไทยพงษ์ธนาพร Model/Buddy/Expert/Mentor teacher 2 นางสาววิชชุตา เพง็ ถาวร Model/Buddy/Expert teacher 3 นายเรวัตร อยเู่ กิด Model/Buddy teacher 4 นางสาววรรณภิ า เวทการ Model/Buddy teacher 4. ประเดน็ ปัญหา/ส่งิ ที่ตอ้ งการพัฒนา รูปแบบ หรือแนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่เหมาะสมกับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง ภมู ิคมุ้ กันก่อเอง และภมู ิคุ้มกันรับมา ซ่ึงจำเป็นจะต้องมีส่อื ท่เี หมาะสมต่อการเรยี นรูก้ ระตุน้ ใหผ้ ู้เรียนเกิดความ สนใจ และสามารถมีสว่ นร่วมในกิจกรรมการเรียนการสอนสอดคล้องกับแนวคิดการจดั กิจกรรมการเรียนรู้เชิง รกุ (Active learning) 5. สาเหตุ ขั้นตอนในการดำเนินกิจกรรมชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพจำเป็นท่ีจะต้องดำเนินการจนครบทุก กระบวนการย่อย เพ่อื ใหเ้ กดิ การทำงานรว่ มกนั แนะนำกันอย่างเปน็ กัลยาณมิตรระหวา่ งสมาชิก และท่ีสำคัญ ที่สุดคือการดำเนินการเพื่อให้ได้ผลผลิต คือ รูปแบบ หรือแนวทางการในการแก้ปัญหาหรือพัฒนาการจัด กิจกรรมการเรียนการสอนให้บรรลุวัตถุประสงค์ของการจัดตั้งกลุ่มชมุ ชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ พัฒนาสู่การ สร้างนวตั กรรมการเรยี นการสอน

6. ความรูแ้ ละหลักการทีน่ ำมาใช้ 6.๑ การออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้แบบ 5 ขั้น (5 Steps) ตามแนวคิดของ รองศาสตราจารย์ ดร.พมิ พันธ์ เดชะคปุ ต์ และรองศาสตราจารย์ พเยาว์ ยนิ ดีสขุ 6.๒ การควบคุมชน้ั เรียน 6.3 การใชส้ ่อื การจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ 6.4 การนเิ ทศการจดั กิจกรรมการเรยี นการสอน 7. กระบวนการ/วิธีการ (บันทึกรายละเอียดกระบวนการ/วธิ ีการ ตามบทบาทหนา้ ท่)ี  Model  Buddy  Expert  Mentor  Administrator Teacher 7.๑ ครผู ้สู อน (Model Teacher) จัดกิจกรรมการเรยี นการสอนตามแผนการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ที่ได้รับ การปรับปรุงและพัฒนาคร้งั ท่ี 1 ซง่ึ เกิดจากการดำเนนิ กิจกรรมชมุ ชนการเรยี นรู้ทางวชิ าชพี ครงั้ ที่ 7 7.2 สมาชิกชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ สังเกตการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยเฉพาะอย่างยิ่งการ ดำเนินการตามแผนการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ ความสอดคล้องระหว่างข้อมลู ที่ระบุภายในแผนการจัดกิจกรรม การเรยี นรู้ และการปฏบิ ตั กิ ารสอนของครผู ูส้ อน 7.3 สมาชิกชมุ ชนการเรยี นร้ทู างวิชาชพี รว่ มกนั สะทอ้ นผลการสงั เกตการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนของ ครูผสู้ อน รวมทัง้ แนะนำข้อเสนอแนะ และแนวทางในการปรับปรงุ พฒั นาแผนการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ และ รูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน เรื่อง ภูมิคุ้มกันก่อเอง และภูมิคุ้มกันรับมา ให้มีความสมบูรณ์มา ย่ิงข้ึน 8. ผลที่ไดจ้ ากกิจกรรม 8.1 ข้อเสนอแนะที่ได้จากการปฏิบัติการสอนและสังเกตการเรียนรู้ เพื่อพัฒนาแผนการจัดกิจกรรมการ เรียนร้แู บบ 5 ข้นั และแนวทางในการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ เร่อื ง ภมู คิ ุ้มกนั กอ่ เอง และภูมิคมุ้ กนั รับมา 8.2 แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบ 5 ขั้น เรื่อง ภูมิคุ้มกันก่อเอง และภูมิคุ้มกันรับมา ที่ได้รับการ ปรบั ปรงุ และพฒั นาครัง้ ท่ี 2 9. การนำผลทีไ่ ด้รบั ไปใช้ แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบ 5 ขั้น เรื่อง ภูมิคุ้มกันก่อเอง และภูมิคุ้มกันรับมา สามารถนำไป ดำเนนิ การตามข้นั ตอนกิจกรรมชุมชนการเรยี นร้ทู างวชิ าชพี ขน้ั สะทอ้ นคดิ การปฏบิ ัติงาน (See) ตอ่ ไป 10. นดั หมายและเตรียมข้อมลู ในการเข้าร่วมชุมชนการเรยี นรทู้ างวชิ าชพี (PLC) ครั้งตอ่ ไป วันพฤหัสบดี ที่ 6 สิงหาคม 2563

ขอรับรองว่าข้อมลู ดงั กลา่ วขา้ งต้นเปน็ ความจรงิ ทุกประการ ลงชือ่ .................................................... ลงช่อื .................................................... (นายเรวัตร อยเู่ กิด) (นางศริ ลิ กั ษณ์ ไทยพงษธ์ นาพร) ครู กลมุ่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ หวั หนา้ กลุ่มสาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์ ลงชอ่ื .................................................... (นางแก้วใจ สชุ ยั รตั น์) หัวหน้าฝ่ายบริหารวิชาการ ลงชื่อ.................................................... (นายสมชาย บุษบงค์) ผอู้ ำนวยการโรงเรยี นสรรพยาวิทยา

แบบบันทึกกจิ กรรม (Logbook) ชมุ ชนการเรียนร้ทู างวชิ าชพี (Professional Learning Community : PLC) คร้งั ท่ี 9 โรงเรียนสรรพยาวิทยา สังกดั สำนักงานเขตพืน้ ทกี่ ารศกึ ษามัธยมศึกษา เขต 5 กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศกึ ษา 2563 วนั ท่ี 6 เดอื น สิงหาคม พ.ศ. 2563 เวลา 15.30 – 18.30 น. จำนวน 3 ช่วั โมง (180 นาท)ี 1. ชอ่ื กจิ กรรม : การออกแบบกิจกรรมการจัดการเรียนรู้ร่วมกนั ในกล่มุ สาระการเรยี นรูว้ ิทยาศาสตร์ด้วย แนวคิดการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) เพื่อพัฒนาสู่การสร้าง นวัตกรรมการเรยี นการสอน ช่อื หัวข้อ การสะท้อนคิดผลการปฏิบัติงาน (See) ตามแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เพ่ือ พฒั นาการสรา้ งนวัตกรรมการเรยี นการสอนตามแนวคดิ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้เชงิ รุก (Active Learning) เรอื่ ง ภมู คิ ้มุ กนั กอ่ เอง และภมู ิคมุ้ กันรบั มา 2. จำนวนสมาชกิ : 4 คน 3. บทบาท ท่ี รายชอื่ สมาชิก บทบาท ลายมือชอ่ื 1 นางศริ ิลักษณ์ ไทยพงษ์ธนาพร Model/Buddy/Expert/Mentor teacher 2 นางสาววิชชตุ า เพ็งถาวร Model/Buddy/Expert teacher 3 นายเรวัตร อย่เู กิด Model/Buddy teacher 4 นางสาววรรณภิ า เวทการ Model/Buddy teacher 4. ประเด็นปัญหา/ส่งิ ทตี่ อ้ งการพฒั นา การจัดกิจกรรมการเรยี นการสอนตามขั้นตอนการปฏิบัติการสอนและสังเกตการเรยี นรู้ (Do) ซ่งึ เป็นการใช้ แผนการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ เร่ือง ภมู คิ มุ้ กนั ก่อเอง และภมู ิคมุ้ กันรบั มา ท่ีได้รบั การปรับปรุงและพัฒนาคร้ัง ที่ 1 ครูผู้สอนจำเป็นต้องนำแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ไปพัฒนาอีกครั้งหลังดำเนินการจัดกิจกรรมการ เรียนรู้เพือ่ ให้ได้แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่สมบูรณ์ เป็นไปตามแนวคิดการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้เชงิ รกุ (Active Learning) เพ่ือพัฒนาสกู่ ารสรา้ งนวัตกรรมการเรยี นการสอน 5. สาเหตุ การพัฒนาแผนการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้เปรียบเสมอื นเครื่องมอื ในการพฒั นาผูเ้ รยี นใหเ้ กิดการเรียนรู้อย่าง มีประสิทธิภาพจำเปน็ ตอ้ งมีการปรบั ปรุง พัฒนาให้มีความสมบรู ณ์สอดคล้อง และเหมาะสมกับทั้งบรบิ ทของ ผู้เรียน และธรรมชาติของรายวิชา หรือเนื้อหาทีป่ ระสบปัญหา อีกทั้งยังจำเป็นที่จะต้องมีการดำเนนิ การตาม ขอ้ เสนอแนะของสมาชกิ ชมุ ชนการเรียนรทู้ างวิชาชีพ ซ่ึงเป็นกลุ่มสะท้อนท้งั การปฏิบตั ิหนา้ ทกี่ ารสอน และการ ออกแบบกิจกรรมการเรียนรตู้ ามกระบวนการชมุ ชนการเรยี นรทู้ างวชิ าชพี

6. ความร้แู ละหลกั การท่นี ำมาใช้ 6.๑ การออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้แบบ 5 ขั้น (5 Steps) ตามแนวคิดของ รองศาสตราจารย์ ดร.พิมพันธ์ เดชะคปุ ต์ และรองศาสตราจารย์ พเยาว์ ยินดสี ุข 6.๒ การสะท้อนคิดผลการปฏิบัติงาน ตามแนวคิดการทบทวนหลังปฎิบัติงาน (After Action Review : AAR) 7. กระบวนการ/วิธกี าร (บันทึกรายละเอียดกระบวนการ/วธิ กี าร ตามบทบาทหน้าท่)ี  Model  Buddy  Expert  Mentor  Administrator Teacher 7.๑ ครูผู้สอน (Model Teacher) นำเสนอแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เรื่อง ภูมิคุ้มกันก่อเอง และ ภูมิคุ้มกันรับมา ท่ีผ่านการดำเนินการปรับปรุงและพัฒนาครั้งที่ 2 หลังจากกิจกรรมการปฏิบัติการสอนและ สังเกตการเรียนรู้ (Do) พร้อมทั้งวิเคราะห์ความแตกต่างระหว่างแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ได้รับการ พฒั นาคร้งั ที่ 1 และ 2 รวมถงึ สะทอ้ นคดิ ผลการปฏิบตั กิ ารสอนในประเด็นตา่ ง ๆ ตามแนวคดิ การทบทวนหลัง ปฏิบตั ิงาน ดังนี้ 1) ส่งิ ท่ีคาดหวงั อะไรจากการจัดกจิ กรรมการเรียนการสอนครง้ั การจดั กิจกรรมการเรยี นการสอนเชงิ รกุ ทมี่ ีผู้เรยี นเปน็ ศูนย์กลางในการดำเนินกิจกรรม โดยอาศัยส่ือ เป็นเครื่องมือในการนำกจิ กรรมแต่ละขั้นตอน เปิดโอกาสให้นักเรียนได้มีส่วนร่วมในการดำเนินกิจกรรมและ วิเคราะห์ขอ้ มลู ที่ครูเตรยี มให้ 2) การปฏบิ ัตเิ ปน็ ไปตามท่ีคาดหวังหรือไม่ การปฏิบัติการสอนเป็นไปตามที่คาดหวัง นักเรียนได้รับประสบการณ์การเรียนรู้ที่แปลกใหม่จาก การศึกษากรณศี กึ ษา และเอกสารประกอบกรณีศึกษา รวมถึงไดร้ ว่ มกนั วิเคราะห์ขอ้ มูลทคี่ รเู ตรียมไว้ให้ 3) สงิ่ ใดทไี่ มเ่ ป็นไปตามความคาดหวงั มีนักเรียนบางคนที่ยังคงให้ความร่วมมือในการทำกิจกรรมกลุ่มค่อนข้างน้อย ถึงแม้ว่าจะไม่ส่งผล กระทบต่อกจิ กรรมการเรียนการสอนในภาพรวมมากนัก เนื่องจากการจัดกลุ่มเป็นแบบคละผู้เรียน เก่ง กลาง ออ่ น แต่ย่อมสง่ ผลตอ่ ประสิทธิภาพการเรียนรู้ของผู้เรยี นคนดงั กลา่ วแน่นอน 4) สง่ิ ใดทเ่ี กินความคาดหวัง นักเรียนสามารถวิเคราะห์ และแยกแยะสื่อลวงที่ไม่เกี่ยวข้องกับกรณีศึกษา รวมทั้งสามารถบอก ความหมายของประเภทภมู คิ ุม้ กนั ไดจ้ ากการศึกษาบทความ 5) สงิ่ ทีจ่ ะดำเนินการตอ่ ไปเพื่อให้บรรลุจุดมุ่งหมาย หรอื พฒั นาการเรยี นการสอน ดำเนินการปรับปรุงแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ สื่อการเรียนรู้ ให้มีความสอดคล้องเหมาะสม เป็นไปตามแนวคิดการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) เพื่อพัฒนาสู่การสร้างนวัตกรรมการ เรยี นการสอน 7.2 สมาชกิ ชมุ ชนการเรยี นร้ทู างวิชาชีพ ตง้ั ขอ้ สังเกตจากการดำเนนิ กจิ กรรมการปฏบิ ตั กิ ารสอนและสังเกต การเรียนรู้ (Do) ของครูผู้สอน พร้อมทั้งสะท้อนคิดผลการปฏิบัติการสอนในประเด็นต่าง ๆ ตามแนวคิดการ ทบทวนหลงั ปฏบิ ตั งิ าน โดยมีหวั หนา้ กลุ่มสาระการเรียนร้วู ทิ ยาศาสตรป์ ฏบิ ตั หิ น้าที่คณุ อำนวย 7.3 สรุปประเด็นการตั้งขอสังเกต ข้อเสนอแนะ และการสะท้อนคิดผลการปฏิบัติการสอนจากสมาชิก ชมุ ชนการเรยี นรทู้ างวิชาชีพแต่ละท่าน

8. ผลท่ไี ด้จากกิจกรรม 8.1 ขอ้ ดี ขอ้ เสีย ขอ้ เสนอแนะ และข้อสังเกตสำหรับการจดั กจิ กรรมการเรียนการสอนในขัน้ การปฏิบัติการ สอนและสังเกตการเรียนรู้ (Do) ของครผู ้สู อน เพ่ือนำมาใช้ในการปรับปรุง พฒั นาแนวทาง หรอื รูปแบบการจัด กิจกรรมการเรยี นรู้ท่เี ป็นการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้เชงิ รกุ (Active Learning) เพ่ือพัฒนาสู่การสร้างนวัตกรรม การเรยี นการสอนตอ่ ไป 8.2 การสะท้อนปฏิกิรยิ าตอบสนองของผู้เรียนจากจากสมาชิกชมุ ชนการเรียนรู้ทางวชิ าชีพแตล่ ะท่าน ซ่ึง พบว่า นกั เรียนสว่ นใหญ่ใหค้ วามรว่ มมือในการจดั กจิ กรรมการเรียนการสอนดี มคี วามกระตือรือร้นในการเรียน มากยิง่ ขึน้ ซง่ึ เปน็ ตัวชว้ี ัดอยา่ งดเี ยี่ยมที่สะท้อนประสิทธิภาพของการจดั กิจกรรมการเรียนการสอน 8.3 แผนการจดั กิจกรรมการเรียนรู้แบบ 5 ข้นั เร่อื ง ภมู ิคุ้มกันกอ่ เอง และภมู ิค้มุ กันรับมา สามารถนำไปใช้ ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนต่อไป 9. การนำผลท่ไี ดร้ บั ไปใช้ ผลที่ได้รับจากการทำกิจกรรมชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพครั้งนี้ สามารถนำไปใช้เป็นต้นแบบในการ ปรับปรุงพฒั นาแผนการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ หรอื แนวทางในการจดั กิจกรรมการเรยี นร้ขู องเนอื้ หาในรายวิชา ท่ีประสบปญั หาใกลเ้ คยี งกัน 10. นัดหมายและเตรยี มขอ้ มลู ในการเขา้ ร่วมชมุ ชนการเรยี นรทู้ างวิชาชีพ (PLC) ครง้ั ตอ่ ไป วันจนั ทร์ ท่ี 9 พฤศจิกายน 2563 เพ่ือเรม่ิ การดำเนินกจิ กรรมชมุ ชนการเรียนรทู้ างวิชาชพี ในภาคเรียน ท่ี 2 ประจำปกี ารศกึ ษา 2563 ขอรบั รองวา่ ข้อมูลดังกลา่ วขา้ งต้นเป็นความจรงิ ทุกประการ ลงชอื่ .................................................... ลงชอ่ื .................................................... (นายเรวัตร อย่เู กดิ ) (นางศิริลักษณ์ ไทยพงษธ์ นาพร) ครู กล่มุ สาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์ หัวหน้ากลุ่มสาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์ ลงชื่อ.................................................... (นางแก้วใจ สุชัยรัตน์) หัวหนา้ ฝา่ ยบรหิ ารวชิ าการ ลงชอ่ื .................................................... (นายสมชาย บุษบงค์) ผู้อำนวยการโรงเรียนสรรพยาวทิ ยา

แบบบนั ทึกกิจกรรม (Logbook) ชุมชนการเรยี นรทู้ างวิชาชพี (Professional Learning Community : PLC) ครัง้ ท่ี 10 โรงเรยี นสรรพยาวทิ ยา สงั กดั สำนกั งานเขตพ้ืนทกี่ ารศึกษามัธยมศึกษา เขต 5 กลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ ภาคเรียนท่ี 2 ปีการศกึ ษา 2563 วนั ท่ี 9 เดอื น พฤศจิกายน พ.ศ. 2563 เวลา 12.00 – 13.00 น. 15.30 – 17.30 น.จำนวน 3 ช่วั โมง (180 นาที) 1. ชือ่ กิจกรรม : การออกแบบกจิ กรรมการจัดการเรยี นรรู้ ่วมกนั ในกลุ่มสาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์ด้วย แนวคิดการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) เพื่อพัฒนาสู่การสร้าง นวตั กรรมการเรียนการสอน ชอ่ื หัวข้อ Fishbone Diagram 2. จำนวนสมาชกิ : 4 คน 3. บทบาท ท่ี รายช่ือสมาชิก บทบาท ลายมอื ช่อื 1 นางศริ ลิ ักษณ์ ไทยพงษ์ธนาพร Model/Buddy/Expert/Mentor teacher 2 นางสาววชิ ชตุ า เพง็ ถาวร Model/Buddy/Expert teacher 3 นายเรวตั ร อยเู่ กดิ Model/Buddy teacher 4 นางสาววรรณิภา เวทการ Model/Buddy teacher 4. ประเดน็ ปญั หา/ส่งิ ท่ตี ้องการพฒั นา วเิ คราะห์สภาพปญั หาที่ผ้รู ่วมกิจกรรมชมุ ชนการเรียนรู้ทางวิชาชพี ประสบมาในภาคเรียนท่ี 1 ปีการศึกษา 2563 เพื่อหาจุดร่วมของปัญหา สาเหตุที่มาของปัญหาที่เกิดขึ้น รวมถึงผลกระทบของปัญหาที่มีต่อการจัด กิจกรรมการเรยี นการสอน ครู หรือผู้เรียน ก่อนจะนำไปสู่แนวทางในการแสวงหาวิธีการ/กระบวนการในการ แก้ปัญหาตอ่ ไป 5. สาเหตุ เมื่อทราบสภาพปัญหาที่เกิดขึ้นในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนจำเป็นที่จะต้องดำเนินการวิเคราะห์ ปัญหาเพื่อให้ทราบถึงที่มา ผลกระทบ รวมถึงจุดรว่ มของปัญหาในการจัดกิจกรรมกาเรียนการสอน ที่เกิดขึ้น ระหว่างคุณครูที่เป็นสมาชิกในชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ ก่อนจะนำมาสู่การดำเนินการเพื่อการแก้ปัญหา ตอ่ ไป 6. ความรู้และหลักการท่ีนำมาใช้ 6.๑ Fishbone Diagram 6.๒ เรอื่ งเลา่ เร้าพลัง

7. กระบวนการ/วธิ กี าร (บันทึกรายละเอยี ดกระบวนการ/วธิ กี าร ตามบทบาทหน้าท)ี่  Model  Buddy  Expert  Mentor  Administrator Teacher 7.๑ คุณครูร่วมกันวิเคราะห์ปัญหาที่เกิดขึ้นจากการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนภายในห้องเรียน/คาบ เรียนที่รับผิดชอบ และนำปัญหาที่ได้รวบรวมไวจ้ ากการทำกิจกรรม STAR Approach และ เรื่องเล่าเร้าพลงั ในครั้งที่ผ่านมา คัดเลือกมาเพื่อดำเนินการวิเคราะห์ หาสาเหตุ และผลกระทบของปัญหาทีเ่ กดิ ขึ้น โดยเลือก ปัญหาท่ใี กลต้ ัวมากที่สดุ และตอ้ งการแก้ปญั หาดังกลา่ วอยา่ งแทจ้ รงิ 7.๒ จากน้นั ใหค้ ณุ ครแู ต่ละทา่ น นำเสนอปญั หาของตนเอง โดยผ่านกระบวนการเรื่องเล่าเร้าพลงั โดยมีคุณ อำนวย คือ หัวหนา้ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เปน็ ผู้ทำหน้าท่รี วบรวมผลการวิเคราะห์ หาสาเหตุ และ ผลกระทบของปัญหาที่เกิดขนึ้ กบั คุณครแู ตล่ ะท่าน 7.๓ สรปุ ประเดน็ ปัญหาทีไ่ ดจ้ ากการฟงั คุณครแู ต่ละทา่ นนำเสนอ มาเขยี นเป็น Fishbone Diagram 8. ผลที่ไดจ้ ากกิจกรรม 8.1 มโี อกาสไดเ้ รียนรู้สภาพปัญหาทางด้านการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนของคุณครูสมาชิกชุมชนแห่ง การเรียนรูท้ างวชิ าชพี แตล่ ะทา่ น 8.2 รับทราบสาเหตุ ที่มา และผลกระทบของปัญหาที่เกิดขึ้น พร้อมทั้งได้ระดมความคิดที่เพื่อวิเคราะห์ ปญั หาดังกลา่ ว และได้รับทราบแนวคดิ ในการแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้า หรอื แนวทางในการแก้ไขปัญหาเบ้ืองต้น เมอื่ ประสบปัญหาทางด้านการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน 9. การนำผลท่ีไดร้ ับไปใช้ สามารถนำสาเหตุ ที่มา และผลกระทบของปัญหาทางด้านการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนเป็นผลผลิต จากการดำเนินกิจกรรมชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพนำไปสู่การต่อยอดในการดำเนินการชุมชนแห่งการ เรยี นรทู้ างวิชาชพี เพอ่ื พัฒนาส่กู ารสร้างนวัตกรรมการเรยี นการสอนในครงั้ ต่อไป 10. นดั หมายและเตรยี มขอ้ มูล ในการเข้ารว่ มชุมชนการเรียนรทู้ างวชิ าชีพ (PLC) คร้ังต่อไป วันจันทร์ ที่ 11 พฤศจิกายน 2563

ขอรับรองว่าข้อมลู ดงั กลา่ วขา้ งต้นเปน็ ความจรงิ ทุกประการ ลงชือ่ .................................................... ลงช่อื .................................................... (นายเรวัตร อยเู่ กิด) (นางศริ ลิ กั ษณ์ ไทยพงษธ์ นาพร) ครู กลมุ่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ หวั หนา้ กลุ่มสาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์ ลงชอ่ื .................................................... (นางแก้วใจ สชุ ยั รตั น์) หัวหน้าฝ่ายบริหารวิชาการ ลงชื่อ.................................................... (นายสมชาย บุษบงค์) ผอู้ ำนวยการโรงเรยี นสรรพยาวิทยา

แบบบนั ทึกกจิ กรรม (Logbook) ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชพี (Professional Learning Community : PLC) คร้งั ท่ี 11 โรงเรยี นสรรพยาวทิ ยา สงั กัด สำนักงานเขตพนื้ ที่การศกึ ษามธั ยมศกึ ษา เขต 5 กล่มุ สาระการเรยี นรูว้ ทิ ยาศาสตร์ ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2563 วันท่ี 11 เดือน พฤศจกิ ายน พ.ศ. 2563 เวลา 15.30 – 18.30 น. จำนวน 3 ชั่วโมง (180 นาท)ี 1. ช่ือกิจกรรม : การออกแบบกจิ กรรมการจัดการเรียนรรู้ ่วมกันในกลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์ด้วย แนวคิดการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) เพื่อพัฒนาสู่การสร้าง นวัตกรรมการเรยี นการสอน ชอื่ หัวข้อ How to use it และ เรื่องเลา่ เร้าพลงั 2. จำนวนสมาชกิ : 4 คน 3. บทบาท ท่ี รายชอื่ สมาชิก บทบาท ลายมือช่อื 1 นางศริ ลิ กั ษณ์ ไทยพงษ์ธนาพร Model/Buddy/Expert/Mentor teacher 2 นางสาววชิ ชุตา เพง็ ถาวร Model/Buddy/Expert teacher 3 นายเรวตั ร อยู่เกิด Model/Buddy teacher 4 นางสาววรรณภิ า เวทการ Model/Buddy teacher 4. ประเด็นปญั หา/ส่งิ ทตี่ ้องการพัฒนา แนวทางในการจัดกจิ กรรมการเรียนการสอน หรอื วธิ ีการทีจ่ ะสามารถชว่ ยใหค้ รูเลือกใช้ นำมาประยุกต์ใช้ใน การแก้ปัญหาภายในชั้นเรยี น หรือพัฒนาช้ันเรยี นให้ดีขึน้ ซึ่งอาจจะเป็นแนวทางที่ประสบความสำเร็จจากการ ดำเนินการร่วมกันในกิจกรรมชมุ ชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ ในภาคเรียนท่ี 1 เพื่อเป็นการระดมความคิด และ สร้างแรงบันดาลใจที่แกป้ ญั หาในชั้นเรยี นอย่างเหมาะสม 5. สาเหตุ การแก้ไขปัญหาท่ีเกดิ ขนึ้ ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนจำเปน็ อย่างย่ิงทีค่ รูผสู้ อนแต่ละทา่ นต้องมีการ แสวงหาแนวทางในการดำเนินการเพื่อแก้ไขปัญหาให้มีความเหมาะสม และสอดคล้องกับสภาพปัญหาและ บริบทภายในห้องเรยี น 6. ความรแู้ ละหลกั การท่ีนำมาใช้ 6.๑ How to use it 6.๒ เรื่องเล่าเร้าพลัง

7. กระบวนการ/วธิ ีการ (บนั ทกึ รายละเอียดกระบวนการ/วธิ ีการ ตามบทบาทหนา้ ท่ี)  Model  Buddy  Expert  Mentor  Administrator Teacher 7.๑ คุณครูแต่ละท่านเขียนวิธีการ/กระบวนการ/แนวทางในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่ประสบ ความสำเรจ็ หรือคาดว่าเปน็ กระบวนการทจ่ี ะชว่ ยให้สามารถแก้ไขปัญหาท่เี กดิ ขน้ึ ในกจิ กรรมการเรียนการสอน ของตนเองได้ โดยใหบ้ นั ทึกวิธกี าร/กระบวนการจดั กิจกรรมการเรียนการสอนลงในแบบฟอร์ม How to use it 7.๒ จากนั้นให้คุณครแู ต่ละท่าน นำเสนอวิธีการ/กระบวนการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนของแต่ละคน โดยผ่านกระบวนการเรื่องเล่าเร้าพลัง โดยมีคุณอำนวย คือ หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์เป็นผู้ รวบรวมวิธกี าร/กระบวนการจัดการเรียนการสอนทปี่ ระสบความสำเรจ็ ของคณุ ครูแตล่ ะทา่ น 7.๓ สรุปประเด็นวิธกี าร/กระบวนการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่ประสบความสำเร็จที่ได้จากการฟัง คุณครูแต่ละทา่ นนำเสนอ 8. ผลทีไ่ ดจ้ ากกิจกรรม 8.1 ได้ทราบวิธกี าร/กระบวนการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนทีป่ ระสบความสำเรจ็ เปน็ ที่นา่ พึงพอใจของ แตล่ ะท่าน ดังน้ี 1) วิชาชีววิทยา โดย ครูเรวัตร อยู่เกิด จัดกิจกรรมการเรียนการสอน เรื่อง ภูมิคุ้มกันก่อเอง และ ภูมิคุ้มกันรบั มาท่ีมีการใช้สื่อที่หลากหลาย เนน้ การมสี ่วนรว่ มของนกั เรียนในการดำเนินกิจกรรมการเรียนการ สอน 2) วิชาฟิสกิ ส์ โดย ครูวรรณิภา เวทการ จัดกิจกรรมการเรยี นการสอนแบบมีส่วนร่วมและการทดลอง 8.2 ผลลัพธ์ทเ่ี กิดข้นึ กบั นักเรียนจากการจัดกิจกรรมการเรยี นการสอนดว้ ยวธิ กี าร/กระบวนการต่างๆ คอื 1) นกั เรียนเขา้ ใจเนือ้ หาท่ีเรียนมากขึ้น 2) นกั เรียนมีสว่ นร่วมในการทำกจิ กรรม 3) นกั เรียนกล้าพดู กลา้ ถามในสิ่งทไี่ มเ่ ข้าใจ 4) นักเรยี นสามารถแกป้ ัญหาในการเรียนได้ 5) นักเรียนมีการแลกเปลยี่ นความรู้ซง่ึ กันและกนั 6) นักเรยี นมที ักษะและกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ 7) นักเรียนสามารถจดั วธิ ีคดิ มกี ารระดมความคดิ และชว่ ยเหลอื กนั 9. การนำผลทีไ่ ดร้ ับไปใช้ เมื่อรับรู้ถึงวิธีการ/กระบวนการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน สามารถนำไปปรับปรุงและแก้ไขปัญหาท่ี เกิดขึ้นจากการจดั กจิ กรรมการเรยี นการสอนต่อไปได้ โดยจะนำไปวเิ คราะหถ์ ึงวธิ ีการ/กระบวนดงั กล่าวภายใน การดำเนนิ กจิ กรรมชมุ ชนการเรยี นรู้ทางวิชาชีพคร้ังต่อไป 10. นดั หมายและเตรียมขอ้ มูล ในการเข้าร่วมชุมชนการเรียนรูท้ างวิชาชีพ (PLC) คร้ังต่อไป วนั องั คาร ท่ี 17 พฤศจิกายน 2563

ขอรับรองว่าข้อมลู ดงั กลา่ วขา้ งต้นเปน็ ความจรงิ ทุกประการ ลงชือ่ .................................................... ลงช่อื .................................................... (นายเรวัตร อยเู่ กิด) (นางศริ ลิ กั ษณ์ ไทยพงษธ์ นาพร) ครู กลมุ่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ หวั หนา้ กลุ่มสาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์ ลงชอ่ื .................................................... (นางแก้วใจ สชุ ยั รตั น์) หัวหน้าฝ่ายบริหารวิชาการ ลงชื่อ.................................................... (นายสมชาย บุษบงค์) ผอู้ ำนวยการโรงเรยี นสรรพยาวิทยา

แบบบนั ทึกกิจกรรม (Logbook) ชมุ ชนการเรียนรู้ทางวชิ าชพี (Professional Learning Community : PLC) คร้ังท่ี 12 โรงเรียนสรรพยาวทิ ยา สังกดั สำนกั งานเขตพน้ื ทกี่ ารศึกษามัธยมศึกษา เขต 5 กลมุ่ สาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์ ภาคเรยี นท่ี 2 ปกี ารศกึ ษา 2563 วนั ที่ 17 เดือน พฤศจิกายน พ.ศ. 2563 เวลา 15.30 – 18.30 น. จำนวน 3 ชัว่ โมง (180 นาที) 1. ชือ่ กิจกรรม : การออกแบบกจิ กรรมการจดั การเรยี นรู้ร่วมกนั ในกล่มุ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ด้วย แนวคิดการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) เพื่อพัฒนาสู่การสร้าง นวัตกรรมการเรยี นการสอน ชอ่ื หวั ขอ้ การเลอื กสภาพปัญหา/เนือ้ หา/กำหนดเวลาในการดำเนินกิจกรรม 2. จำนวนสมาชกิ : 4 คน 3. บทบาท ท่ี รายชอื่ สมาชกิ บทบาท ลายมอื ช่ือ 1 นางศริ ิลักษณ์ ไทยพงษธ์ นาพร 2 นางสาววิชชตุ า เพง็ ถาวร Model/Buddy/Expert/Mentor teacher 3 นายเรวัตร อยเู่ กดิ 4 นางสาววรรณภิ า เวทการ Model/Buddy/Expert teacher Model/Buddy teacher Model/Buddy teacher 4. ประเด็นปัญหา/สิง่ ทีต่ ้องการพัฒนา ดำเนินการเลือกสภาพปัญหา หรือเนื้อหาในการจัดกจิ กรรมการเรียนการสอนท่ีต้องการแก้ไขปัญหา หรือ พัฒนาใหด้ ียงิ่ ขน้ึ ผ่านกระบวนการดำเนนิ กิจกรรมชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชพี รว่ มกับสมาชิกชุมชนการเรียนรู้ ทางวิชาชีพ นอกจากนั้นยังจำเป็นที่จะต้องกำหนดระยะเวลา ที่มีความสอดคล้องกับขั้นตอนที่ใช้ใน กระบวนการดำเนนิ กจิ กรรมชมุ ชนการเรยี นรู้ทางวชิ าชพี 5. สาเหตุ การดำเนินกิจกรรมชมุ ชนการเรียนรทู้ างวชิ าชพี เพื่อแก้ไขปญั หาในการจดั กจิ กรรมการเรียนการสอน จำเป็น ที่จะต้องเลือกเนื้อหาที่คุณครูดำเนินการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนแล้วประสบปัญหา หรือเป็นเนื้อหาที่ กำลังจะดำเนินการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนในอนาคต เพื่อนำไปสู่การวางแผน และออกแบบแนวทาง/ วิธีการ/กระบวนการในการแก้ปัญหา รวมถึงต้องมีการกำหนดขอบเขตหรือช่วงเวลาในการดำเนินกิจกรรม ชุมชนการเรียนรทู้ างวิชาชีพอย่างชดั เจนในการแกไ้ ขปญั หา 6. ความรู้และหลกั การท่ีนำมาใช้ 6.๑ การเลอื กสภาพปัญหา หรอื เน้ือหาในการจัดกจิ กรรมการเรยี นการสอน 6.๒ วิธกี ารเขียนการกำหนดระยะเวลาและขน้ั ตอนของการจัดกิจกรรม (Time Line)

7. กระบวนการ/วธิ กี าร (บันทกึ รายละเอยี ดกระบวนการ/วิธกี าร ตามบทบาทหน้าท่ี)  Model  Buddy  Expert  Mentor  Administrator Teacher 7.๑ รวบรวมสภาพปญั หา สาเหตุ ผลกระทบ และแนวทางในการดำเนินการท่ไี ดจ้ ากการทำกิจกรรมชุมชน การเรยี นรู้ทางวชิ าชพี คร้งั ก่อน 7.2 คัดเลือกเนื้อหาที่กำลังจะต้องดำเนินการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนซึ่งอยู่ในรายวิชาที่เปิดในภาค เรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2563 ซึ่งจำเป็นตอ้ งมคี วามสอดคล้องกับสภาพปญั หา และแนวทางในการแก้ปญั หา ข้างต้นเพื่อนำไปสู่การออกแบบแนวทางการแก้ปัญหาที่มีความเหมาะสมสอดคล้องกับปัญหา เนื้อหา และ ชว่ งเวลา เพื่อพัฒนาสกู่ ารสรา้ งนวตั กรรมการเรยี นการสอน 7.3 กำหนดระยะเวลาในการดำเนินกิจกรรมชุมชนการเรียนรูท้ างวิชาชีพ ให้สอดคล้องกับเนื้อหาที่เลือก เปน็ ประเดน็ ในการพัฒนาและแกป้ ญั หา รวมถึงขั้นตอนในการดำเนินการกิจกรรมชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ ท้ัง 4 ขั้น ไดแ้ ก่ Plan, Do และSee 7.4 สรุปปัญหา เนื้อหาที่เลือก และระยะเวลาในการดำเนินกิจกรรมชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพของ สมาชกิ ชุมชนการเรยี นรู้ทางวชิ าชพี ทกุ ท่าน 8. ผลทไ่ี ด้จากกจิ กรรม สภาพปัญหา เน้อื หา และระยะเวลา ของสมาชิกชุมชนการเรยี นรูท้ างวิชาชีพทุกทา่ นทมี่ ีความสอดคล้องกับ ข้ันตอนการดำเนินกิจกรรมชุมชนการเรียนรู้ทางวชิ าชีพ โดยครงั้ น้ี คอื การแกป้ ัญหาการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ เร่อื ง อาณาจักรฟงั ไจ ในรายวิชาชวี วิทยา 6 ซึง่ มักจะอยใู่ นรปู แบบการเรียนการสอนแบบบรรยาย 9. การนำผลท่ีได้รบั ไปใช้ สภาพปัญหา เนื้อหา และขอบเขตระยะเวลา สามารถทำให้สมาชิกชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ ดำเนนิ การตามข้ันตอนในการดำเนนิ กิจกรรมชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพตามทก่ี ำหนด เพ่ือพัฒนานวัตกรรม การเรยี นการสอนให้เปน็ ไปตามแนวคดิ การจดั กจิ กรรมการเชิงรุก 10. นดั หมายและเตรียมข้อมูล ในการเข้ารว่ มชมุ ชนการเรียนรู้ทางวิชาชพี (PLC) ครง้ั ตอ่ ไป วนั องั คาร ท่ี 1 ธนั วาคม 2563

ขอรับรองว่าข้อมลู ดงั กลา่ วขา้ งต้นเปน็ ความจรงิ ทุกประการ ลงชือ่ .................................................... ลงช่อื .................................................... (นายเรวัตร อยเู่ กิด) (นางศริ ลิ กั ษณ์ ไทยพงษธ์ นาพร) ครู กลมุ่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ หวั หนา้ กลุ่มสาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์ ลงชอ่ื .................................................... (นางแก้วใจ สชุ ยั รตั น์) หัวหน้าฝ่ายบริหารวิชาการ ลงชื่อ.................................................... (นายสมชาย บุษบงค์) ผอู้ ำนวยการโรงเรยี นสรรพยาวิทยา

แบบบันทกึ กิจกรรม (Logbook) ชมุ ชนการเรยี นร้ทู างวิชาชพี (Professional Learning Community : PLC) ครั้งที่ 13 โรงเรยี นสรรพยาวิทยา สงั กัด สำนักงานเขตพน้ื ทกี่ ารศึกษามธั ยมศกึ ษา เขต 5 กลุม่ สาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์ ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2563 วนั ท่ี 1 เดอื น ธันวาคม พ.ศ. 2563 เวลา 15.30 – 18.30 น. จำนวน 3 ช่ัวโมง (180 นาท)ี 1. ชอื่ กิจกรรม : การออกแบบกิจกรรมการจัดการเรยี นรรู้ ่วมกันในกลุม่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ด้วย แนวคิดการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) เพื่อพัฒนาสู่การสร้าง นวัตกรรมการเรียนการสอน ชื่อหวั ข้อ การออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอน (Plan) เพื่อแก้ไขปัญหาและพัฒนาการสร้าง นวัตกรรมการเรียนการสอนตามแนวคิดการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) เรอ่ื ง อาณาจักรฟังไจ 2. จำนวนสมาชิก : 4 คน 3. บทบาท ท่ี รายช่ือสมาชกิ บทบาท ลายมือชื่อ 1 นางศริ ลิ ักษณ์ ไทยพงษ์ธนาพร 2 นางสาววชิ ชตุ า เพง็ ถาวร Model/Buddy/Expert/Mentor teacher 3 นายเรวตั ร อยู่เกิด 4 นางสาววรรณิภา เวทการ Model/Buddy/Expert teacher Model/Buddy teacher Model/Buddy teacher 4. ประเดน็ ปญั หา/สิ่งทต่ี ้องการพัฒนา กิจกรรมการเรียนการสอน เรื่อง อาณาจักรฟังไจ มักเป็นการจัดการเรียนการสอนโดยการบรรยาย ซึ่ง ครผู สู้ อนเปน็ ศูนยก์ ลางในการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ หากมกี ารพัฒนารปู แบบการจดั กิจกรรมการเรยี นการสอน ท่ีเปิดโอกาสใหน้ กั เรยี นไดม้ สี ว่ นร่วมในกิจกรรมการเรยี นรูม้ ากขนึ้ หรือออกแบบสือ่ การจดั การเรียนรู้ที่ส่งเสริม ให้ผ้เู รียนไดท้ ำกจิ กรรมซึ่งเป็นการการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้เชิงรกุ จะช่วยสง่ เสรมิ ใหผ้ ้เู รียนเกิดการเรยี นอย่างมี ประสิทธิภาพ 5. สาเหตุ การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนเชงิ บรรยาย ซึ่งมีครผู ูส้ อนเป็นศูนยก์ ลางในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้มัก เป็นการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่ไม่เปิดโอกาสให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในชั้นเรียน อันจะส่งผลให้การจัด กิจกรรมการเรียนการสอนสามารถบรรลุวัตถปุ ระสงค์การเรียนรู้ทางด้านความรู้ (K) เท่านั้น อีกทั้งยังพฒั นา ผูเ้ รียนไดเ้ พียงแค่ดา้ นความจำ ความเข้าใจ ไม่สามารถพัฒนาใหผ้ เู้ รียนเกิดทักษะทสี่ ูงขน้ึ ได้

6. ความรูแ้ ละหลักการท่นี ำมาใช้ 6.๑ การออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้แบบ 5 ขั้น (5 Steps) ตามแนวคิดของ รองศาสตราจารย์ ดร.พมิ พันธ์ เดชะคปุ ต์ และรองศาสตราจารย์ พเยาว์ ยินดสี ขุ 6.๒ เทคนคิ การจัดกิจกรรมการเรียนรูแ้ บบปรศิ นาความคิด (Jigsaw) 6.3 การเตรียมตัวอยา่ งสิ่งมชี วี ติ 7. กระบวนการ/วิธกี าร (บนั ทึกรายละเอียดกระบวนการ/วธิ ีการ ตามบทบาทหน้าท)่ี  Model  Buddy  Expert  Mentor  Administrator Teacher 7.๑ กำหนดวัตถุประสงคก์ ารเรยี นรู้ เร่อื ง อาณาจกั รฟงั ไจ 7.2 ออกแบบกิจกรรมการเรยี นรู้ เร่ือง อาณาจกั รฟังไจ โดยพฒั นาเปน็ แผนการจดั กิจกรรมการเรียนรู้แบบ 5 ขัน้ ซง่ึ กำหนดใหผ้ ู้เรยี นแบ่งกลุม่ จำนวน 4 กลมุ่ เรียกว่า กลุ่มบา้ น (Home group) โดยในแต่ละกลุ่มบ้าน จะมีกลุ่มย่อยอีก 4 กลุ่ม เรียกว่า กลุ่มผู้เชี่ยวชาญ (Expert group) โดยกำหนดให้กลุ่มผู้เชี่ยวชาญออกมา ศกึ ษาคณุ ลักษะของฟงั ไจแตล่ ะไฟลมั แลว้ นำกลบั ไปผลัดกนั อธิบายในกลมุ่ บา้ น 7.3 ออกแบบสื่อประกอบการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ ได้แก่ 1) เอกสารบทความ/ขอ้ มูลของสง่ิ มีชีวติ อาณาจกั ร์ฟังไจแตล่ ะไฟลมั 2) ตัวอย่างส่งิ มชี ีวิตในอาณาจักรฟงั ไจแตล่ ะไฟลมั อาทิ ราขนมปัง, ยสี ต์, เหด็ นางฟ้าง, ราข้าวโพด 7.4 ออกแบบวิธีการ และเครื่องมือในการวัดและประเมินผลให้มีความสอดคล้องกับวัตถุประสงค์การ เรยี นรู้ และครอบคลมุ ทงั้ K P และ A 8. ผลทีไ่ ดจ้ ากกิจกรรม 8.1 แผนการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้แบบ 5 ข้ัน เรือ่ ง อาณาจกั รฟงั ไจ 8.2 สื่อประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ 9. การนำผลทีไ่ ดร้ ับไปใช้ แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบ 5 ขั้น เรื่อง อาณาจักรฟังไจ สามารถนำไปดำเนินการตามขั้นตอน กจิ กรรมชมุ ชนการเรียนรูท้ างวิชาชพี เพ่ือวิพากษ์แผนการจดั กิจกรรมการเรียนรตู้ ่อไป 10. นดั หมายและเตรียมขอ้ มลู ในการเข้ารว่ มชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชพี (PLC) ครง้ั ตอ่ ไป วนั พุธ ท่ี 3 ธนั วาคม 2563

ขอรับรองว่าข้อมลู ดงั กลา่ วขา้ งต้นเปน็ ความจรงิ ทุกประการ ลงชือ่ .................................................... ลงช่อื .................................................... (นายเรวัตร อยเู่ กิด) (นางศริ ลิ กั ษณ์ ไทยพงษธ์ นาพร) ครู กลมุ่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ หวั หนา้ กลุ่มสาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์ ลงชอ่ื .................................................... (นางแก้วใจ สชุ ยั รตั น์) หัวหน้าฝ่ายบริหารวิชาการ ลงชื่อ.................................................... (นายสมชาย บุษบงค)์ ผอู้ ำนวยการโรงเรยี นสรรพยาวิทยา

แบบบันทึกกจิ กรรม (Logbook) ชมุ ชนการเรียนรูท้ างวิชาชพี (Professional Learning Community : PLC) ครงั้ ที่ 14 โรงเรยี นสรรพยาวิทยา สังกดั สำนักงานเขตพน้ื ท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 5 กลมุ่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ภาคเรยี นท่ี 2 ปีการศกึ ษา 2563 วนั ที่ 3 เดอื น ธนั วาคม พ.ศ. 2563 เวลา 15.30 – 18.30 น. จำนวน 3 ช่ัวโมง (180 นาท)ี 1. ชือ่ กจิ กรรม : การออกแบบกจิ กรรมการจดั การเรียนรู้รว่ มกนั ในกลุ่มสาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์ด้วย แนวคิดการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) เพื่อพัฒนาสู่การสร้าง นวัตกรรมการเรยี นการสอน ช่ือหัวขอ้ การวิพากษ์แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ (Plan) เพื่อพัฒนาการสร้างนวัตกรรมการ เรียนการสอนตามแนวคิดการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) เรื่อง อาณาจกั รฟงั ไจ 2. จำนวนสมาชิก : 4 คน 3. บทบาท ท่ี รายชื่อสมาชิก บทบาท ลายมือชอื่ 1 นางศิริลักษณ์ ไทยพงษธ์ นาพร 2 นางสาววชิ ชุตา เพง็ ถาวร Model/Buddy/Expert/Mentor teacher 3 นายเรวตั ร อยู่เกิด 4 นางสาววรรณิภา เวทการ Model/Buddy/Expert teacher Model/Buddy teacher Model/Buddy teacher 4. ประเดน็ ปญั หา/สงิ่ ท่ตี อ้ งการพัฒนา แผนการจัดกิจกรรมการสอนแบบ 5 ขั้น เรื่อง อาณาจักรฟังไจ จำเป็นต้องได้รับการวิพากษ์จากสมาชิก ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพเพื่อให้เกดิ การพัฒนาแผนการจดั กิจกรรมการสอนแบบ 5 ขั้นอย่างสมบูรณ์ตาม ขัน้ ตอนในขั้นวางแผนการสอน (Plan) 5. สาเหตุ การออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอน ผ่านการจัดทำแผนการจัดกิจกรรมการสอนแบบ 5 ขั้น เรื่อง อาณาจักรฟังไจ ยังคงเป็นการออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้โดยครูผู้สอนเพียงทา่ นเดียวเท่านั้น ดังนั้น เพื่อให้ เปน็ การพฒั นาแผนการจัดกจิ กรรมการสอนอยา่ งสมบรู ณ์เป็นไปตามข้ันตอนของการดำเนนิ กจิ กรรมชุมชนการ เรียนรู้ทางวิชาชีพ ในขั้นวางแผนการสอน (Plan) ก่อนนำไปสู่ขั้นตอนของการปฏิบัติการสอนและสังเกตการ เรยี นรู้ (Do)

6. ความรูแ้ ละหลักการทนี่ ำมาใช้ 6.๑ การออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้แบบ 5 ขั้น (5 Steps) ตามแนวคิดของ รองศาสตราจารย์ ดร.พมิ พันธ์ เดชะคุปต์ และรองศาสตราจารย์ พเยาว์ ยินดสี ุข 6.๒ เทคนคิ การจดั กจิ กรรมการเรยี นร้แู บบปรศิ นาความคิด (Jigsaw) 6.3 การเตรยี มตัวอย่างสง่ิ มชี ีวติ 7. กระบวนการ/วธิ ีการ (บันทกึ รายละเอยี ดกระบวนการ/วธิ กี าร ตามบทบาทหนา้ ท)่ี  Model  Buddy  Expert  Mentor  Administrator Teacher 7.๑ ร่วมกันศกึ ษาแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบ 5 ขั้น เรื่อง อาณาจักรฟังไจ ซึ่ง ครูผ้สอน (Model Teacher) ไดอ้ อกแบบมาจากกิจกรรมชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพในคร้งั กอ่ น 7.2 วิเคราะห์ความสอดคล้องของแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ทั้งวัตถุประสงค์ กระบวนการเรียนการ สอน การวัดและประเมินผล และสื่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ รวมถึงความสอดคล้องระหว่างกิจกรรมและ ขั้นตอนทั้ง 5 ขั้นตอนในกระบวนการเรียนการสอน ได้แก่ ขั้นระบุปัญหา, ขั้นแสวงหาสารสนเทศ, ขั้นสร้าง ความรู้, ขั้นสอ่ื สาร และขั้นตอบแทนสงั คม 7.3 วิพากษป์ ระเด็นสำคญั ในแผนการจัดกจิ กรรมการเรยี นรโู้ ดยสง่ เสริมจดุ เด่น กำจัดจุดด้อย เพอ่ื ปรับปรุง ให้แผนการจดั กิจกรรมการเรียนรู้มีความเหมาะสมกบั เนอ้ื หา และสภาพปญั หา เพ่อื พฒั นาการจัดกิจกรรมการ เรยี นรู้สูก่ ารสรา้ งนวตั กรรมการเรียนการสอนตามแนวคิดการจดั การเรยี นร้เู ชิงรกุ (Active learning) 7.4 ครูผู้สอน (Model Teacher) นำข้อเสนอแนะที่ได้จากการแนะนำในกิจกรรมชุมชนการเรียนรู้ทาง วชิ าชพี ไปดำเนนิ การปรบั ปรุง แก้ไข และพัฒนาแผนการจัดกจิ กรรมการเรียนรแู้ บบ 5 ขัน้ เรื่อง อาณาจักรฟัง ไจ 8. ผลทีไ่ ดจ้ ากกจิ กรรม 8.1 ข้อเสนอแนะที่ได้จากการวิเคราะห์ และวิพากษ์แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบ 5 ขั้น เรื่อง อาณาจกั รฟงั ไจ 8.2 แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบ 5 ขั้น เรื่อง อาณาจักรฟังไจ ที่ได้รับการปรับปรุงและพัฒนา คร้งั ท่ี 1 9. การนำผลทไี่ ดร้ ับไปใช้ แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบ 5 ขั้น เรื่อง อาณาจักรฟังไจ สามารถนำไปดำเนินการตามขั้นตอน กิจกรรมชมุ ชนการเรยี นรทู้ างวิชาชพี ข้ันปฏิบตั ิการสอนและสังเกตการเรยี นรู้ต่อไป 10. นดั หมายและเตรียมขอ้ มลู ในการเขา้ รว่ มชุมชนการเรยี นรทู้ างวชิ าชีพ (PLC) คร้งั ตอ่ ไป วันองั คาร ท่ี 16 ธันวาคม 2563

ขอรับรองว่าข้อมลู ดงั กลา่ วขา้ งต้นเปน็ ความจรงิ ทุกประการ ลงชือ่ .................................................... ลงช่อื .................................................... (นายเรวัตร อยเู่ กิด) (นางศริ ลิ กั ษณ์ ไทยพงษธ์ นาพร) ครู กลมุ่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ หวั หนา้ กลุ่มสาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์ ลงชอ่ื .................................................... (นางแก้วใจ สชุ ยั รตั น์) หัวหน้าฝ่ายบริหารวิชาการ ลงชื่อ.................................................... (นายสมชาย บุษบงค์) ผอู้ ำนวยการโรงเรยี นสรรพยาวิทยา

แบบบนั ทึกกจิ กรรม (Logbook) ชุมชนการเรยี นรทู้ างวิชาชีพ (Professional Learning Community : PLC) ครง้ั ท่ี 15 โรงเรยี นสรรพยาวิทยา สังกัด สำนกั งานเขตพน้ื ที่การศกึ ษามัธยมศกึ ษา เขต 5 กล่มุ สาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์ ภาคเรียนท่ี 2 ปกี ารศกึ ษา 2563 วนั ท่ี 4 เดอื น สิงหาคม พ.ศ. 2563 เวลา 10.00 – 12.00 น. 15.30 – 17.30 น. จำนวน 5 ชั่วโมง (300 นาท)ี 1. ชอื่ กิจกรรม : การออกแบบกจิ กรรมการจัดการเรยี นรรู้ ่วมกันในกลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์ด้วย แนวคิดการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) เพื่อพัฒนาสู่การสร้าง นวัตกรรมการเรยี นการสอน ชือ่ หวั ขอ้ การปฏิบตั ิการสอนและสงั เกตการเรียนรู้ (Do) ตามแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เพ่ือ พัฒนาการสรา้ งนวัตกรรมการเรียนการสอนตามแนวคดิ การจัดกจิ กรรมการเรยี นรเู้ ชงิ รกุ (Active Learning) เรอ่ื ง อาณาจักรฟงั ไจ 2. จำนวนสมาชกิ : 4 คน 3. บทบาท ท่ี รายช่ือสมาชกิ บทบาท ลายมอื ชื่อ 1 นางศิริลักษณ์ ไทยพงษธ์ นาพร Model/Buddy/Expert/Mentor teacher 2 นางสาววิชชุตา เพ็งถาวร Model/Buddy/Expert teacher 3 นายเรวัตร อยู่เกิด Model/Buddy teacher 4 นางสาววรรณิภา เวทการ Model/Buddy teacher 4. ประเดน็ ปัญหา/สิง่ ท่ีต้องการพัฒนา รูปแบบ หรือแนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่เหมาะสมกับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง อาณาจักรฟังไจ จำเป็นจะต้องมีสื่อที่เหมาะสมต่อการเรยี นรู้กระตุ้นให้ผู้เรียนเกิดความสนใจ และสามารถมี ส่วนร่วมในกิจกรรมการเรยี นการสอนสอดคลอ้ งกบั แนวคดิ การจัดกิจกรรมการเรียนรเู้ ชิงรุก (Active learning) 5. สาเหตุ ขั้นตอนในการดำเนินกิจกรรมชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพจำเป็นที่จะต้องดำเนินการจนครบทุก กระบวนการยอ่ ย เพ่อื ให้เกดิ การทำงานรว่ มกัน แนะนำกันอย่างเปน็ กลั ยาณมิตรระหว่างสมาชิก และที่สำคัญ ที่สุดคือการดำเนินการเพื่อให้ได้ผลผลิต คือ รูปแบบ หรือแนวทางการในการแก้ปัญหาหรือพัฒนาการจัด กิจกรรมการเรียนการสอนให้บรรลุวัตถุประสงค์ของการจัดตั้งกลุ่มชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ พัฒนาสู่การ สรา้ งนวตั กรรมการเรยี นการสอน

6. ความรู้และหลักการที่นำมาใช้ 6.๑ การออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้แบบ 5 ขั้น (5 Steps) ตามแนวคิดของ รองศาสตราจารย์ ดร.พมิ พนั ธ์ เดชะคุปต์ และรองศาสตราจารย์ พเยาว์ ยินดีสขุ 6.๒ เทคนคิ การจัดกิจกรรมการเรยี นรแู้ บบปรศิ นาความคดิ (Jigsaw) 6.3 การเตรียมตัวอยา่ งสง่ิ มีชวี ิต 7. กระบวนการ/วิธกี าร (บันทึกรายละเอยี ดกระบวนการ/วธิ ีการ ตามบทบาทหน้าที)่  Model  Buddy  Expert  Mentor  Administrator Teacher 7.๑ ครผู สู้ อน (Model Teacher) จัดกจิ กรรมการเรยี นการสอนตามแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ท่ีได้รับ การปรบั ปรุงและพฒั นาครงั้ ท่ี 1 ซึง่ เกดิ จากการดำเนนิ กิจกรรมชมุ ชนการเรียนรทู้ างวชิ าชพี ครัง้ ที่ 7 7.2 สมาชิกชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ สังเกตการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยเฉพาะอย่างยิ่งการ ดำเนนิ การตามแผนการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ ความสอดคล้องระหวา่ งข้อมูลท่รี ะบุภายในแผนการจัดกิจกรรม การเรียนรู้ และการปฏิบตั กิ ารสอนของครูผสู้ อน 7.3 สมาชกิ ชุมชนการเรียนรูท้ างวิชาชีพร่วมกนั สะท้อนผลการสังเกตการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนของ ครูผู้สอน รวมทัง้ แนะนำข้อเสนอแนะ และแนวทางในการปรับปรงุ พัฒนาแผนการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ และ รปู แบบการจัดกจิ กรรมการเรยี นการสอน เร่อื ง อาณาจกั รฟังไจ ให้มคี วามสมบรู ณม์ าย่ิงขนึ้ 8. ผลท่ีไดจ้ ากกิจกรรม 8.1 ข้อเสนอแนะที่ได้จากการปฏิบัติการสอนและสังเกตการเรียนรู้ เพื่อพัฒนาแผนการจัดกิจกรรมการ เรียนรูแ้ บบ 5 ขน้ั และแนวทางในการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ เร่อื ง อาณาจักรฟงั ไจ 8.2 แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบ 5 ขั้น เรื่อง อาณาจักรฟังไจ ที่ได้รับการปรับปรุงและพัฒนา ครัง้ ที่ 2 9. การนำผลทไ่ี ด้รับไปใช้ แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบ 5 ขั้น เรื่อง อาณาจักรฟังไจ สามารถนำไปดำเนินการตามขั้นตอน กจิ กรรมชมุ ชนการเรยี นรูท้ างวิชาชีพขั้นสะทอ้ นคดิ การปฏบิ ตั งิ าน (See) ตอ่ ไป 10. นดั หมายและเตรียมข้อมลู ในการเข้าร่วมชมุ ชนการเรยี นร้ทู างวชิ าชพี (PLC) ครง้ั ต่อไป วันพฤหสั บดี ที่ 22 ธันวาคม 2563

ขอรับรองว่าข้อมลู ดงั กลา่ วขา้ งต้นเปน็ ความจรงิ ทุกประการ ลงชือ่ .................................................... ลงช่อื .................................................... (นายเรวัตร อยเู่ กิด) (นางศิรลิ กั ษณ์ ไทยพงษธ์ นาพร) ครู กลมุ่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ หวั หนา้ กลุ่มสาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์ ลงชอ่ื .................................................... (นางแก้วใจ สชุ ยั รตั น์) หัวหน้าฝ่ายบริหารวิชาการ ลงชื่อ.................................................... (นายสมชาย บุษบงค์) ผอู้ ำนวยการโรงเรยี นสรรพยาวิทยา

แบบบันทกึ กิจกรรม (Logbook) ชุมชนการเรียนร้ทู างวิชาชพี (Professional Learning Community : PLC) คร้ังท่ี 16 โรงเรียนสรรพยาวิทยา สงั กัด สำนกั งานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษามัธยมศึกษา เขต 5 กล่มุ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ ภาคเรยี นที่ 2 ปีการศกึ ษา 2563 วันที่ 22 เดอื น ธนั วาคม พ.ศ. 2563 เวลา 15.30 – 18.30 น. จำนวน 3 ชัว่ โมง (180 นาที) 1. ชือ่ กจิ กรรม : การออกแบบกิจกรรมการจดั การเรียนรูร้ ่วมกันในกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ด้วย แนวคิดการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) เพื่อพัฒนาสู่การสร้าง นวตั กรรมการเรียนการสอน ช่อื หัวข้อ การสะท้อนคิดผลการปฏิบัติงาน (See) ตามแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เพื่อ พฒั นาการสร้างนวตั กรรมการเรียนการสอนตามแนวคิดการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้เชิงรกุ (Active Learning) เรือ่ ง อาณาจกั รฟงั ไจ 2. จำนวนสมาชกิ : 4 คน 3. บทบาท ท่ี รายชือ่ สมาชิก บทบาท ลายมือชอ่ื 1 นางศิริลกั ษณ์ ไทยพงษ์ธนาพร Model/Buddy/Expert/Mentor teacher 2 นางสาววิชชุตา เพ็งถาวร Model/Buddy/Expert teacher 3 นายเรวัตร อยูเ่ กดิ Model/Buddy teacher 4 นางสาววรรณิภา เวทการ Model/Buddy teacher 4. ประเด็นปญั หา/สง่ิ ท่ีตอ้ งการพัฒนา การจดั กจิ กรรมการเรียนการสอนตามขนั้ ตอนการปฏิบตั ิการสอนและสงั เกตการเรยี นรู้ (Do) ซง่ึ เป็นการใช้ แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง อาณาจักรฟังไจ ที่ได้รับการปรับปรุงและพัฒนาครั้งที่ 1 ครูผู้สอน จำเป็นต้องนำแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ไปพัฒนาอีกครั้งหลังดำเนินการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เพื่อใหไ้ ด้ แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่สมบูรณ์ เป็นไปตาม แนวคิดการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) เพื่อพัฒนาสกู่ ารสรา้ งนวัตกรรมการเรยี นการสอน 5. สาเหตุ การพัฒนาแผนการจดั กิจกรรมการเรียนร้เู ปรียบเสมือนเครือ่ งมอื ในการพฒั นาผู้เรียนใหเ้ กดิ การเรียนร้อู ย่าง มีประสิทธิภาพจำเป็นตอ้ งมกี ารปรบั ปรุง พัฒนาให้มีความสมบรู ณ์สอดคล้อง และเหมาะสมกับทั้งบริบทของ ผู้เรียน และธรรมชาติของรายวิชา หรือเนื้อหาทีป่ ระสบปัญหา อีกทั้งยังจำเป็นที่จะตอ้ งมีการดำเนินการตาม ขอ้ เสนอแนะของสมาชกิ ชมุ ชนการเรียนร้ทู างวิชาชีพ ซง่ึ เป็นกลมุ่ สะทอ้ นทง้ั การปฏบิ ตั หิ น้าท่กี ารสอน และการ ออกแบบกจิ กรรมการเรียนรูต้ ามกระบวนการชุมชนการเรียนรทู้ างวิชาชพี


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook